SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
การเขียนคาสั่งควบคุมขั้นพื้นนาน
ลักษณะการทางานของ
ภาษาซี
ลักษณะการทางานของภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาที่มีการพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ภาษาซีรุ่นแรกทางานภายใต้
ระบบปฏิบัติการคอส (cos) ปัจจุบันทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) ภาษาซี
ใช้วิธีแปลรหัสคาสั่งให้เป็นเลขนานสองเรียกว่า คอมไพเลอร์ การศึกษาภูมิหลังการเป็นมาของ
ภาษาซีและกระบวนการแปลภาษาจะช่วยให้ผู้ใช้ภาษาซีในรุ่นและบริษัทผู้ผลิตแตกต่างกัน
สามารถใช้ภาษาได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
ความเป็นมาของภาษาซี
ภาษาซีได้รับการพัฒนาเมื่อปี ค.ศ.1972 โดยนายเดนนิส ริตซี่ ตั้งชื่อว่าซีเพราะ
พัฒนามาจากภาษา BCLP และภาษา B ในช่วงแรกใช้ทดลองเขียนคาสั่งควบคุมใน
ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratoorics) เท่านั้น เมื่อปี ค.ศ.1978 นายไบรอัน เคอร์นิกฮัน และ
นายเดนนิส ริตซี่ ร่วมกันกาหนดนิยามรายละเอียดของภาษาซี เผยแพร่ความรู้โดยจัดทาหนังสือ
The C Programming Language มีหลายบริษัท ให้ความสนใจนาไปพัฒนาต่อ จนมีภาษาซี
หลายรูปแบบและแพร่หลายไปทั่วโลก แต่ยังไม่มีมาตรนานคาสั่งเพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกันได้
ดังนั้นเมื่อปี ค.ศ.1988 นายริตซี่ ได้ร่วมกับสถาบันกาหนดมาตรนาน ANSI สร้างมาตรนาน
ภาษาซีขึ้นมามีผลให้โปรแกรมคาสั่งที่สร้างด้วยภาษาซีสังกัดบริษัทใดๆก็ตามที่ใช้คาสั่งมาตรนาน
ของภาษาสามารถนามาทางานร่วมกันได้
การทางานของตอมไพเลอร์ภาษาซี
คอมไพเลอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อแปลลภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
มักใช้กับโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ลักษณะการแปลจะอ่านรหัสคาสั่งทั้งโปรแกรมตั้งแต่บรรทัดคาสั่ง
แรกถึงบรรทัดสุดท้าย หากมีข้อผิดพลาดจะรายงานทุกตาแหน่งคาสั่งที่ใช้ผิดกฎไวยากรณ์ของภาษา
กระบวนการคอมไพเลอร์โปรแกรมคาสั่งของภาษาซี มีดังนี้
1.จัดทาโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) หลังจากพิมคาสั่งงาน ตามโครงสร้างภาษา
ที่สมบูรณ์แล้วทุกส่วนประกอบ ให้บันทึกโดยกาหนดชนิดงานเป็น .c เช่น work.c
2.การแปลรหัสคาสั่งเป็นภาษาเครื่อง (Compile) หรือการบิวด์ (Build) เครื่องจะ
ตรวจสอบคาสั่งทีละคาสั่ง เพื่อวิเคราะห์ว่าใช้งานได้ถูกต้องตามรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษาซี
กาหนดไว้หรือหากมีข้อผิดพลาดจะแจ้งให้ทราบ หากไม่มีข้อผิดพลาดจะไปกระบวนการ3
3.การเชื่อมโยงโปรแกรม (Link) ภาษาซีมีฟังก์ชันมาตรนานให้ใช้งาน เช่น printf()
ซึ่งจัดเก็บไว้ในเฮดเดอร์ไพล์ หรือเรียกว่า ไลบรารี ในตาแหน่งที่กาหนดชื่อแตกต่างกันไป
ผู้ใช้ต้องศึกษาและเรียกใช้เฮดเดอร์ไฟล์กับฟังก์ชันให้สัมพันธ์เรียกว่าเชื่อมโยงกับไลบรารี
กระบวนการนี้ได้ผลลัพธ์เป็นไฟล์ชนิด .exe
ส่วนประกอบโครงสร้างในภาษาซี
ส่วนประกอบโครงสร้างภาษาซี
สาหรับโครงสร้างของภาษาซีในเบื้องต้นนี้จะกล่าวถึงเฉพาะรายละเอียดที่นาไปใช้ใน
การเขียนคาสั่งควบคุมระดับพื้นนาน ผู้สร้างงานโปรแกรมจะใช้งานส่วนประกอบในภาษาซี
เพียง2ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนฟังก์ชันหลัก ดังนี้
ส่วนหัวของโปรแกรม(Header File)
หรือเรียกว่าฟรีโปรเซสเซอร์ไดเรกที ใช้ระบุชื่อเฮดเดอร์ ควบคุมการทางานของ
ฟังก์ชันมาตรนานที่ถูกเรียกใช้งานในส่วน main( ) เฮดเดอร์ไฟล์มีชนิดเป็น h. จัดเก็บในไลบรารี
ฟังก์ชัน ผู้เขียนคาสั่งต้องศึกษาว่าฟังก์ชันที่ใช้งานอยู่นั้นอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์ชื่ออะไร จึงจะ
เรียกใช้งานได้ถูกต้อง
ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function)
เป็นส่วนเขียนคาสั่งควบคุมการทางานภายในขอบเขตเครื่องหมาย{ }ของฟังก์ชัน
หลักคือ main( ) ต้องเขียนคาสั่งตามลาดับขั้นตอนจากกระบวนการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น
และขั้นวางแผนลาดับการทางานที่ได้จัดทาไว้ล่วงหน้า เช่น ลาดับการทางานด้วยแผนผัง
โปรแกรมเพื่อลดข้อผิดพลาดในขั้นตอนลาดับคาสั่งควบคุมงาน ในส่วนนี้พึงระมัดระวังเรื่อง
เดียวคือต้องใช้งานคาสั่งตามรูปแบบไวยากรณ์ของภาษาซีที่กาหนดไว้
การพิมพ์คาสั่งควบคุมงานในโครงสร้างภาษาซี
คาแนะนาในการพิมพ์คาสั่งงาน ซึ่งภาษาซีเรียกว่า ฟังก์ชัน (ต่อไปนี้จะเรียกว่า คาสั่ง
ตามที่นิยมทั่วไป) ในส่วนประกอบภายในโครงสร้างภาษาซีมีแนวทางปฏิบัติดังนี้
1.คาสั่งที่ใช้ควบคุมการประมวลผมตามลาดับที่วิเคราะห์ไว้ ต้องเขียนภายใน
เครื่องหมาย { } ที่อยู่ภายใต้การควบคุมงานของฟังก์ชันหลักชื่อ main {}
2.ปกติคาสั่งควบคุมงานเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็ก ยกเว้นบางคาสั่งที่ภาษากาหนดว่าต้อง
เป็นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ต้องปฏิบัติตามนั้น เพราะภาษาซีมีความแตกต่างเรื่องตัวอักษร
3.เมื่อสิ้นสุดคาสั่งงาน ต้องพิมพ์โคลอน(:)
4.ใน 1 บรรทัดพิมพ์ได้มากกว่า1 คาสั่ง แต่นิยมบรรทัดละ 1 คาสั่ง เพราะว่าอ่าน
โปรแกรมง่ายเมื่อมีข้อผิดพลาด ย่อมตรวจสอบและค้นหาเพื่อแก้ไขได้เร็ว
5.การพิมพ์คาสั่ง หากมีส่วนย่อยนิมยมเคาะเยื้องเข้าไปเพื่ออ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อ
มีข้อผิดพลาดย่อมตรวจสอบและแก้ไขได้รวดเร็ว
คาสั่งจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจา
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ ภาษากาหนดให้ดาเนินการผ่านที่ผู้สร้าง
งานโปรแกรมเป็นผู้กาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บชื่อและตาแหน่งซื่อidentifier ที่อยู่
(Address) ในหน่วยความจา เพื่ออ้างอิงนาข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมาใช้งาน การกาหนดชื่อที่ใช้เก็บข้อมูล
ต้องทาภายใต้กฎเกณฑ์ และต้องศึกษาวิธีกาหนดลักษณะ
การจัดเก็บข้อมูลตามที่ภาษากาหนดไว้ ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบค่าคงที่ และแบบ
ตัวแปร ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคาสั่งกาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิดข้อมูลก่อน
ชนิดข้อมูลแบบพื้นนาน
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาทั้งแบค่าคงที่หรือแบบตัวแปร ต้องกาหนดชนิดข้อมูลให้ระบบ
รับทราบ
คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบตัวแปร
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาสามารถ
เปลี่ยนแปลงได้
หมายเหตุ หากมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว แต่เป็นตัวแปรเก็บข้อมูลประเภทเดียว ใช้คอมม่า (,) คั่น
คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นนาน
คาสั่งควบคุมการทางานขั้นพื้นนาน
คาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานขั้นพื้นนาน มี3 กลุ่มใหญ่คือ คาสั่งรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์
แล้ว นาไปจัดเก็บหน่วยความจา (input) การเขียนสมการคานวณโดยใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์
(process) และคาสั่งแสดงผลข้อมูล หรือข้อมูลที่จัดเก็บในหน่วยความจา (output)
คาสั่งแสดงผล printf ( )
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ใช้แสดงผลสิ่งต่อไปนี้เช่น ข้อความ ข้อมูลจากค่าคงที่ หรือ
ตัวแปลที่จอภาพ
คาสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ แล้วจัดเก็บลงหน่วยความจา ของตัวแปล
คาสั่งประมวลผล : expreeion
ประสิทธิภาพคาสั่ง : เขียนคาสั่งแบบนิพจน์เพื่อประมวลผล แล้วนาข้อมูลทีได้ไป
จัดเก็บ ในหน่วยความจาของตัวแปล ที่ต้องกาหนดชื่อและชนิดข้อมูลไว้แล้ว
คาสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะ
อักขระ
คาสั่ง putchar ( ) : ในการแสดงผลตัวอักษรหรืออักขระ ( char ) ออกทางหน้าจอ นอกจากใช้คาสั่ง
printf พร้อมกับกาหนดรหัสควบคุมรูปแบบ %c แล้ว เราสามารถเรียกใช้คาสั่งสาหรับแสดง
ตัวอักษรหรืออักขระโดยเฉพาะได้อีกด้วย โดยคาสั่งนั้นคือ คาสั่ง putchar() ซึ่งมีรูปแบบการเรียกใช้
คาสั่ง ดังแสดงต่อไปนี้
putchar(ch); ch : ตัวอักษรหรืออักขระเขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย ‘c' หรือตัวแปรชนิด char
คาสั่ง getchar ( ) : เป็นคาสั่งที่รับข้อมูลชนิดอักขระจากผู้ใช้เพียงตัวเดียวโดยเมือป้อนข้อมูลแล้ว
ต้องกด Enter มีรูปแบบคาสั่งคือ
ch = getchar();ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่รับมาเก็บไว้
คาสั่ง getch ( ) : เป็นคาสั่งที่รับข้อมูลชนิดอักขระเพียงตัวเดียวโดยเมื่อป้อนข้อมูลจะไม่แสดง
อักขระที่ป้อนให้เห็นทางจองภาพ ที่สาคัญ getch(); จะต้องใช้พรีโปรเซสเซอร์ไดเรคทีฟชื่อว่า
conio.h มีรูปแบบการใช้คาสั่งคือ
ch = getch();ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่นับมาเก็บไว้
คาสั่ง getche( ) : จะรับตัวอักษร 1 ตัวที่ป้อนทางแป้นพิมพ์ และจะแสดงตัวอักษรบนจอภาพ เมื่อ
ป้อนข้อมูลเสร็จไม่ต้องกด Enter และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่
ch = getche(); ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่นับมาเก็บไว้
ž คาสั่งแสดงผล-รับข้อมูล เฉพาะ
ข้อความ
คาสั่ง puts( )
แสดงผลข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความทางจอภาพครั้งละ 1 ข้อความ
คาสั่ง gets ( )
รับข้อมูล ข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้องกดแป้น Enter
กรณีศึกษาการใช้คาสั่งควบคุมขั้น
พื้นนาน
คาสั่ง puts( )
แสดงผลข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความทางจอภาพครั้งละ 1 ข้อความ
รูปแบบ puts ( string_argument ) ;
อธิบาย string_argument คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.เขียนคาสั่งกาหนดค่าข้อความเก็บในตัวแปรชื่อ word
Char word [15] = “*Example * “ ;
2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลในลักษณะข้อความด้วย puts
Puts ( word ) ;
Puts (“**************”);
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1.เขียนคาสั่งกาหนดค่าข้อความเก็บในตัวแปรชื่อ word
Char word [15] = “*Example * “ ;
2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลในลักษณะข้อความด้วย puts
Puts ( word ) ;
Puts (“**************”);
คาสั่ง gets ( )
รับข้อมูล ข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้องกดแป้น Enter
รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร gets ( );
รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร
string_var =gets ( ) ;
อธิบาย string_var คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคมการทางาน
1.เขียนคาสั่งให้รับข้อมูล ชนิดข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้อง กดแป้น Enter เพื่อ
นาข้อความบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อความ ด้วยคาสั่ง gets (word) ;
2.เขียนคาสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะข้อความด้วย
printf ( “You name is = %sn”, word ) ;
THE END

Contenu connexe

Tendances

การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
dechathon
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
mansuang1978
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Pitchaya Jitbowornwong
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Ja Phenpitcha
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
boky_peaw
 

Tendances (20)

การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 
C lu
C luC lu
C lu
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
งานจารทรงศักดิ์
งานจารทรงศักดิ์งานจารทรงศักดิ์
งานจารทรงศักดิ์
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
งานน
งานนงานน
งานน
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 

Similaire à บทที่4 เมธอด (METHOD)

การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
Tay Atcharawan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Vi Vik Viv
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
Aeew Autaporn
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
mansuang1978
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
bbgunner47
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
SubLt Masu
 

Similaire à บทที่4 เมธอด (METHOD) (20)

การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
12
1212
12
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
ภาษาซึี
ภาษาซึีภาษาซึี
ภาษาซึี
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 

บทที่4 เมธอด (METHOD)