SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
Kraft och rörelse แรงและการเคลื่อนที่

ในฟสิกส แรง หมายถึงสิ่งซึง  
                           ่
      •   ทําใหวัตถุอยูดวยกัน
                        
      •   ทําใหวัตถุเปลียนรูป
                         ่
      •   ทําใหวัตถุเปลียนความเร็ว
                         ่
      •   ทําใหวัตถุเคลือนที่ หรือ เปลียนทิศทางการเคลื่อนที่
                         ่              ่
    วัตถุในที่นี้อาจเปนอะไรก็ได ตั้งแต อะตอม ไปจนถึงดวงดาว ตัวอยางของแรงในฟสิกสก็คือ แรงดึง 
(dragningskraft) และแรงเสียดทาน(friktionkraft) ตัวอยางเชน เมื่อเราปลอยมือจากของที่เราถืออยูมันจะตก

ลงพืน(โลก) เพราะวามีแรงดีง แรงที่โลกมีตอวัตถุเรียกกันวาแรงโนมถวง (tygnkraft eller gravitationskraft)
    ้
เดิมเชื่อกันวาของหนักตกถึงพืนกอนของเบา กาลิเลโอ (Galilei) เปนคนแรกที่แสดงวาของหนักและเบาตกถึง
                             ้
พื้นพรอมกัน โดยการทิ้งลูกกลมที่มนาหนักตางกันลงมาจากหอคอยเอียงที่เมืองพิซาในประเทศอิตาลี การตก
                                 ี ้ํ                                     
ลงมาตรงๆ ของวัตถุ เรียกวา Fritt Fall  
       เราสามารถวัดขนาดของแรงได หนวยของแรงเรียกวา นิวตัน ยอเปน N ชื่อของหนวยตั้งเพื่อเปนเกียรติแก
(Isaac Newton)  ซึ่งคนพบแรงดึงดูดของโลกขณะที่นงอยูใตตนแอปเปลและเห็นลูกแอปเปลตกลงมา เลย ”ปง”
                                               ั่
นึกออกวาจะอธิบายเรื่องราวอยางไร 
 
มวลและน้ําหนัก Massa och tyngd 
       คําสองคํานี้มกทําใหนักเรียนสับสน เนื่องจากนักฟสิกสและนักคณิตศาสตรเรียกตางกัน ในทางฟสิกส
                    ั
มวล หมายถึงวาวัตถุนั้นมีเนื้อสารเทาใด มีหนวยเปน กรัม หรือ กิโลกรัม ขณะที่ น้าหนัก เปนแรงที่มากระทํา
                                                                                ํ
เกิดขึ้นเมื่อมีแรงดึงดูดเขามาเกี่ยวของ มีหนวยเปน นิวตัน เพื่อใหงงมากขึ้น ครูจะยกตัวอยางใหดู เมื่อเราไปซื้อ
ขนมมาหนึ่งถุง เอามาชังวาเปน 100 กรัม ทางฟสกสจะเรียกวา ขนมมีมวล 100 กรัม แตมีน้ําหนักเปน 1 N
                     ่                       ิ
สวน 1 N ครูไดมาอยางไรไวคุยกันบทตอไป ตอนนี้อยากใหจําไววา มวลเปนกิโลกรัม น้าหนักเปน นิวตัน N 
                                                                                ํ
 
แรงกระทํา และ แรงตาน Kraft och motkraft 
ถาเราใชเชือกแขวนเครื่องบินจําลองไวใหหอยจากเพดาน ถาเราตัดเชือก เครื่องบินจะตกลงมาทันที
เชือกทําหนาทีดึงเครื่องบินไวไมใหตกลงมา แรงที่เชือกดึงเครื่องบินไวกคือแรงตานแรงดึงดูดของโลก 
              ่                                                        ็
เราเขียนภาพของแรงโดยใชเสนตรงและมีลูกศรแสดงทิศทางของแรง


Fysik åk 7 : Orn vår 2010                                                                     Sida 1 av 5 

 
ในชีวิตประจําวันเราเจอแรงตานเสมอๆ ถาไม
มีแรงตานเมื่อเราผลักของออกจากตัว มันก็นาจะ
เคลื่อนที่ไปไมหยุด แตที่ของหยุด เปนเพราะมีแรง
ตาน  แรงตานที่เกิดจากการเคลื่อนทีที่ผิวสองผิว (ผิว
                                   ่
ของวัตถุสองชนิด) สัมผัสกัน เรียกวา แรงเสียดทาน (Friktion) 

      ถาเราเลื่อนหนังสือที่วางบนโตะผิวเรียบ เราจะออกแรงไมมาก แตถามีผาปูโตะ เราจะตองออกแรงมาก
ขึ้น ทั้งนี้เพราะมีแรงตานมีขนาดที่ตางกัน ขนาดของแรงเสียดทานขึ้นกับลักษณะของพื้นผิวเชนผิวเรียบหรือไม
เรียบ ขนาดของผิวสัมผัสวามากหรือนอย ถาผิวสัมผัสนอยแรงเสียดทานก็นอย แนวคิดนี้ทาใหเกิดการคนพบ
                                                                                 ํ
อันมีชื่อของชาวสวีเดน kulllager ที่ใชในการลดแรงเสียดทานในเครื่องมือตางๆ  

      เราอาจลดแรงเสียดทานไดหลายวิธี (เราลดความเสียดทานเพื่อจะไดออกแรงนอยลง) 

          •    ใช kulllager 
          •    ใชน้ํามันหลอลื่น 
          •    ขัดผิวใหเรียบ 
          •    ใชแรงแมเหล็ก หรือ แรงลม ยกวัตถุขึ้นไมใหมีผิวสัมผัส 
       


      แรงเสียดทานนั้นไมใชวาไมดีเสมอไป แรงเสียดทานที่ดก็มี เชน เบรครถ ทําใหเราหยุดรถไดตามทีเ่ รา
                                                         ี
ตองการ ในบางกรณีเราก็อยากใหวัตถุเคลื่อนที่ไมเร็วมาก เราก็ตงเพิมแรงเสียดทานใหกบผิวสัมผัส โดย 
                                                              ่                 ั
          •    ใชทราย 
          •    ดามจับทีมีหยัก หรือ หยาบ 
                        ่
          •    โรยแปงหรือผงบางอยาง 
          •    Vinterdäck 

จุดศุนยถวง Tyngpunkt
         

      ถาใหเราเดินบนกระเบื้องแผนเดียวบนพื้นหอง เราก็จะเดินตามปกติสบายๆ แตถาใหเราเดินบนขอบ
ทางเดินที่มีขนาดกวางเทากับกระเบื้องแผน เราจะเริ่มรูสึกวา เราเดินเอียงซายเอียงขวา ทังนีเ้ พราะเรา
                                                                                       ้
พยายามหาสมดุลย (balans)ใหนาหนักตัวตกลงบนขอบจะไดไมตกลงไป  
                            ้ํ



Fysik åk 7 : Orn vår 2010                                                                  Sida 2 av 5 

 
จุดที่เปนศูนยกลางของน้าหนักของวัตถุ เรียกวา จุดศุนยถวง Tyngpunkt ทดลองเอาดินสอวางบนนิวหนึ่งนิว
                        ํ                                                                 ้       ้
ถาวางตรงกลางที่เปนจุดศุนยถวงพอดี ดินสอจะไมตก




 
พื้นที่รองรับ Stödyta 

      พื้นที่ดานลางของวัตถุคือพืนที่รองรับน้ําหนัก เมื่อเรายืนพืนที่รองรับน้ําหนักของเราจะอยูระหวางขอบ
                                  ้                               ้
เทาทั้งสอง ดังนั้นเมื่อยืนอยางสบายๆ คนสวนใหญจึงมักจะยืนวางเทาหางกันนิดๆ เมื่อเรายืนน้าหนักของเรา
                                                                                           ํ
จะตกลงตรงกลาง (ดูรูปซาย) ถาเรายืนเทาชิดกันพืนที่รองรับน้ําหนักจะแคบกวาเมือเรายืนวางเทาหางกัน  
                                               ้                             ่

      ในภาพขวามือ พืนที่รองรับน้ําหนักของโตะไมใชใตขาโตะหากแตเปนพื้นที่ระหวางขาทังสี่(พืนที่สน้ําเงิน) 
                    ้                                                                   ้ ้ ี




                                                                                                  
 
ถาหากจุดศุนยถวงตกภายในพืนที่รองรับน้ําหนัก วัตถุจะยังคง
                           ้
ตั้งอยูไดไมลม แตถาออกไปนอกพืนที่รองรับน้ําหนัก วัตถุก็จะลม 
                                  ้

 
การเคลื่อนที่ Rörelse 

      เมื่อมีแรงมากระทํา วัตถุจะมีการเคลื่อนที่ ถามีแรงกระทํามากกวาหนึ่งแรง วัตถุจะเคลื่อนที่ไปใน
ทิศทางของแรงลัพธ    (Resultant) เราหาแรงลัพธไดโดยการนําแรงมารวมกัน 

Tröghetslagen: ของทุกชนิดจะรักษาทิศทางของตนเองหรืออยูกับที่ ถาไมมีแรงภายนอก(แรงอื่น)มากระทํา 

Fysik åk 7 : Orn vår 2010                                                                  Sida 3 av 5 

 
ภาพนีมีคนออกแรงสองคนชวยกันดึงกลอง ออกแรงไปทางเดียวกัน กลองเคลื่อนที่ไปในทางที่ดึงดวยขนาด
     ้
ของแรงที่เปนผลรวมของทังสอง (300 + 400 = 700 นิวตัน) 
                       ้

 
    ภาพดานขวา คนสองคนออกแรงดึงเรือไปคนละ
ทาง ผลลัพธออกมาในทิศทางระหวางแรงทั้ง
สอง เฉียงไปทางแรงที่มากกวา  

ใหสังเกตวาในกรณีนี้ขนาดของแรงลัพธไมใชการ
นําตัวเลขมาลบกันตรงๆ 
 

คาน Hävstång 

เมื่อเราตองการยายของหนัก เชน กอนหินกอนใหญ เรามักใชวิธการนําไมมางัด เพราะถาเราจับไมหางจากจุด
                                                            ี
พอสมควร เราจะออกแรงนอยกวา หลักการนี้เรียกวา คาน Hävstång  




                                                                                                      
         
        ในเรื่องของคาน มีคาศัพทอกคําหนึ่งคือโมเมนต โมเมนตคือผลคูณระหวางแรง(kraft) กับระยะหางจาก
                          ํ      ี
จุดหมุน (hävarm)     



Fysik åk 7 : Orn vår 2010                                                             Sida 4 av 5 

 
เด็กสองคนเลนไมกระดก ถาเด็กโตนังเขาใกลจุดหมุน ขณะที่เด็กเล็กนั่งปลายไม จนทําใหโมเมนต
                                       ่
ทางซายเทากันโมเมนตทางขวา ไมจะอยูในสมดุลย ไมกระดก 
                                    

             Hävstångslagen:  โมเมนตทางซาย = โมเมนตทางขวา

             (vänster hävarm) ٠ (vänster kraft)  =  (höger hävarm) ٠ (höger kraft) 




                                                                                                          

      ในภาพ  
      โมเมนตทางซาย   =   (vänster hävarm) ٠ (vänster kraft)  =   1m ٠ 60 kg  =   60 N 
      โมเมนตทางขวา   =   (höger hävarm) ٠ (höger kraft)         =     3m ٠ 20 kg  = 60 N

       
 
 
 
 
 
 
จากหนังสือ:           Fysik, Titano  s. 70‐80 
                      Fysik, Spektrum s. 89‐105 
Link ที่นาสนใจ
         
http://elearning.nectec.or.th/index.php?mod=Courses&op=showcontent&cid=85&qid=&lid=856&sid=&page      




Fysik åk 7 : Orn vår 2010                                                             Sida 5 av 5 

 

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01tuiye
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงPumPui Oranuch
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energyKrumeaw
 
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์actionWichai Likitponrak
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันอัครพงษ์ เทเวลา
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 

Tendances (20)

บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
mahin
mahinmahin
mahin
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energy
 
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 

Similaire à Kraft Och RöRelse Thai

การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุdnavaroj
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎาsupphawan
 
พื้นฐานชีวิต 2.pptx
พื้นฐานชีวิต 2.pptxพื้นฐานชีวิต 2.pptx
พื้นฐานชีวิต 2.pptxSunnyStrong
 
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
Content potentail energy
Content potentail energyContent potentail energy
Content potentail energyjirupi
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 

Similaire à Kraft Och RöRelse Thai (20)

การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
พื้นฐานชีวิต 2.pptx
พื้นฐานชีวิต 2.pptxพื้นฐานชีวิต 2.pptx
พื้นฐานชีวิต 2.pptx
 
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
Content potentail energy
Content potentail energyContent potentail energy
Content potentail energy
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Plus de Magnus Andersson

Plus de Magnus Andersson (20)

Sunbeam fågelexpedition 2016 uppdaterad 17 aug
Sunbeam fågelexpedition 2016 uppdaterad 17 augSunbeam fågelexpedition 2016 uppdaterad 17 aug
Sunbeam fågelexpedition 2016 uppdaterad 17 aug
 
Lpp materia 6 nm
Lpp materia 6 nm Lpp materia 6 nm
Lpp materia 6 nm
 
Röd järnoxid
Röd järnoxidRöd järnoxid
Röd järnoxid
 
Röd järnoxid
Röd järnoxidRöd järnoxid
Röd järnoxid
 
Facit diagnos 6
Facit diagnos 6Facit diagnos 6
Facit diagnos 6
 
Kemiska reaktioner
Kemiska reaktionerKemiska reaktioner
Kemiska reaktioner
 
Multiplikationstabeller word 3
Multiplikationstabeller word 3Multiplikationstabeller word 3
Multiplikationstabeller word 3
 
Labb jonbytare
Labb jonbytareLabb jonbytare
Labb jonbytare
 
Solsystemets vanligaste grundämnen med bild
Solsystemets vanligaste grundämnen  med bildSolsystemets vanligaste grundämnen  med bild
Solsystemets vanligaste grundämnen med bild
 
Kemi molekylmodeller
Kemi molekylmodellerKemi molekylmodeller
Kemi molekylmodeller
 
Hur mycket socker kan man lösa i ett glas vatten
Hur mycket socker kan man lösa i ett glas vattenHur mycket socker kan man lösa i ett glas vatten
Hur mycket socker kan man lösa i ett glas vatten
 
Hur man skriver en labbrapport
Hur man skriver en labbrapportHur man skriver en labbrapport
Hur man skriver en labbrapport
 
Svar på frågorna på s 28
Svar på frågorna på s 28Svar på frågorna på s 28
Svar på frågorna på s 28
 
Kom ihåg om procent
Kom ihåg om procentKom ihåg om procent
Kom ihåg om procent
 
Planering Kemi I 7 A Ma Vt 10
Planering Kemi I 7 A Ma Vt 10Planering Kemi I 7 A Ma Vt 10
Planering Kemi I 7 A Ma Vt 10
 
Procent
ProcentProcent
Procent
 
Ekologi2
Ekologi2Ekologi2
Ekologi2
 
InstuderinsgfråGor Krafter Och Tryck
InstuderinsgfråGor Krafter Och TryckInstuderinsgfråGor Krafter Och Tryck
InstuderinsgfråGor Krafter Och Tryck
 
Ekologi 7ei
Ekologi 7eiEkologi 7ei
Ekologi 7ei
 
Kemi 7a
Kemi 7aKemi 7a
Kemi 7a
 

Kraft Och RöRelse Thai

  • 1. Kraft och rörelse แรงและการเคลื่อนที่ ในฟสิกส แรง หมายถึงสิ่งซึง   ่ • ทําใหวัตถุอยูดวยกัน  • ทําใหวัตถุเปลียนรูป ่ • ทําใหวัตถุเปลียนความเร็ว ่ • ทําใหวัตถุเคลือนที่ หรือ เปลียนทิศทางการเคลื่อนที่ ่ ่ วัตถุในที่นี้อาจเปนอะไรก็ได ตั้งแต อะตอม ไปจนถึงดวงดาว ตัวอยางของแรงในฟสิกสก็คือ แรงดึง  (dragningskraft) และแรงเสียดทาน(friktionkraft) ตัวอยางเชน เมื่อเราปลอยมือจากของที่เราถืออยูมันจะตก ลงพืน(โลก) เพราะวามีแรงดีง แรงที่โลกมีตอวัตถุเรียกกันวาแรงโนมถวง (tygnkraft eller gravitationskraft) ้ เดิมเชื่อกันวาของหนักตกถึงพืนกอนของเบา กาลิเลโอ (Galilei) เปนคนแรกที่แสดงวาของหนักและเบาตกถึง ้ พื้นพรอมกัน โดยการทิ้งลูกกลมที่มนาหนักตางกันลงมาจากหอคอยเอียงที่เมืองพิซาในประเทศอิตาลี การตก ี ้ํ  ลงมาตรงๆ ของวัตถุ เรียกวา Fritt Fall   เราสามารถวัดขนาดของแรงได หนวยของแรงเรียกวา นิวตัน ยอเปน N ชื่อของหนวยตั้งเพื่อเปนเกียรติแก (Isaac Newton)  ซึ่งคนพบแรงดึงดูดของโลกขณะที่นงอยูใตตนแอปเปลและเห็นลูกแอปเปลตกลงมา เลย ”ปง” ั่ นึกออกวาจะอธิบายเรื่องราวอยางไร    มวลและน้ําหนัก Massa och tyngd  คําสองคํานี้มกทําใหนักเรียนสับสน เนื่องจากนักฟสิกสและนักคณิตศาสตรเรียกตางกัน ในทางฟสิกส ั มวล หมายถึงวาวัตถุนั้นมีเนื้อสารเทาใด มีหนวยเปน กรัม หรือ กิโลกรัม ขณะที่ น้าหนัก เปนแรงที่มากระทํา ํ เกิดขึ้นเมื่อมีแรงดึงดูดเขามาเกี่ยวของ มีหนวยเปน นิวตัน เพื่อใหงงมากขึ้น ครูจะยกตัวอยางใหดู เมื่อเราไปซื้อ ขนมมาหนึ่งถุง เอามาชังวาเปน 100 กรัม ทางฟสกสจะเรียกวา ขนมมีมวล 100 กรัม แตมีน้ําหนักเปน 1 N ่ ิ สวน 1 N ครูไดมาอยางไรไวคุยกันบทตอไป ตอนนี้อยากใหจําไววา มวลเปนกิโลกรัม น้าหนักเปน นิวตัน N   ํ   แรงกระทํา และ แรงตาน Kraft och motkraft  ถาเราใชเชือกแขวนเครื่องบินจําลองไวใหหอยจากเพดาน ถาเราตัดเชือก เครื่องบินจะตกลงมาทันที เชือกทําหนาทีดึงเครื่องบินไวไมใหตกลงมา แรงที่เชือกดึงเครื่องบินไวกคือแรงตานแรงดึงดูดของโลก  ่ ็ เราเขียนภาพของแรงโดยใชเสนตรงและมีลูกศรแสดงทิศทางของแรง Fysik åk 7 : Orn vår 2010          Sida 1 av 5   
  • 2. ในชีวิตประจําวันเราเจอแรงตานเสมอๆ ถาไม มีแรงตานเมื่อเราผลักของออกจากตัว มันก็นาจะ เคลื่อนที่ไปไมหยุด แตที่ของหยุด เปนเพราะมีแรง ตาน  แรงตานที่เกิดจากการเคลื่อนทีที่ผิวสองผิว (ผิว ่ ของวัตถุสองชนิด) สัมผัสกัน เรียกวา แรงเสียดทาน (Friktion)  ถาเราเลื่อนหนังสือที่วางบนโตะผิวเรียบ เราจะออกแรงไมมาก แตถามีผาปูโตะ เราจะตองออกแรงมาก ขึ้น ทั้งนี้เพราะมีแรงตานมีขนาดที่ตางกัน ขนาดของแรงเสียดทานขึ้นกับลักษณะของพื้นผิวเชนผิวเรียบหรือไม เรียบ ขนาดของผิวสัมผัสวามากหรือนอย ถาผิวสัมผัสนอยแรงเสียดทานก็นอย แนวคิดนี้ทาใหเกิดการคนพบ ํ อันมีชื่อของชาวสวีเดน kulllager ที่ใชในการลดแรงเสียดทานในเครื่องมือตางๆ   เราอาจลดแรงเสียดทานไดหลายวิธี (เราลดความเสียดทานเพื่อจะไดออกแรงนอยลง)  • ใช kulllager  • ใชน้ํามันหลอลื่น  • ขัดผิวใหเรียบ  • ใชแรงแมเหล็ก หรือ แรงลม ยกวัตถุขึ้นไมใหมีผิวสัมผัส    แรงเสียดทานนั้นไมใชวาไมดีเสมอไป แรงเสียดทานที่ดก็มี เชน เบรครถ ทําใหเราหยุดรถไดตามทีเ่ รา ี ตองการ ในบางกรณีเราก็อยากใหวัตถุเคลื่อนที่ไมเร็วมาก เราก็ตงเพิมแรงเสียดทานใหกบผิวสัมผัส โดย   ่ ั • ใชทราย  • ดามจับทีมีหยัก หรือ หยาบ  ่ • โรยแปงหรือผงบางอยาง  • Vinterdäck  จุดศุนยถวง Tyngpunkt  ถาใหเราเดินบนกระเบื้องแผนเดียวบนพื้นหอง เราก็จะเดินตามปกติสบายๆ แตถาใหเราเดินบนขอบ ทางเดินที่มีขนาดกวางเทากับกระเบื้องแผน เราจะเริ่มรูสึกวา เราเดินเอียงซายเอียงขวา ทังนีเ้ พราะเรา  ้ พยายามหาสมดุลย (balans)ใหนาหนักตัวตกลงบนขอบจะไดไมตกลงไป   ้ํ Fysik åk 7 : Orn vår 2010          Sida 2 av 5   
  • 3. จุดที่เปนศูนยกลางของน้าหนักของวัตถุ เรียกวา จุดศุนยถวง Tyngpunkt ทดลองเอาดินสอวางบนนิวหนึ่งนิว ํ ้ ้ ถาวางตรงกลางที่เปนจุดศุนยถวงพอดี ดินสอจะไมตก   พื้นที่รองรับ Stödyta  พื้นที่ดานลางของวัตถุคือพืนที่รองรับน้ําหนัก เมื่อเรายืนพืนที่รองรับน้ําหนักของเราจะอยูระหวางขอบ ้ ้ เทาทั้งสอง ดังนั้นเมื่อยืนอยางสบายๆ คนสวนใหญจึงมักจะยืนวางเทาหางกันนิดๆ เมื่อเรายืนน้าหนักของเรา ํ จะตกลงตรงกลาง (ดูรูปซาย) ถาเรายืนเทาชิดกันพืนที่รองรับน้ําหนักจะแคบกวาเมือเรายืนวางเทาหางกัน   ้ ่ ในภาพขวามือ พืนที่รองรับน้ําหนักของโตะไมใชใตขาโตะหากแตเปนพื้นที่ระหวางขาทังสี่(พืนที่สน้ําเงิน)  ้ ้ ้ ี     ถาหากจุดศุนยถวงตกภายในพืนที่รองรับน้ําหนัก วัตถุจะยังคง ้ ตั้งอยูไดไมลม แตถาออกไปนอกพืนที่รองรับน้ําหนัก วัตถุก็จะลม  ้   การเคลื่อนที่ Rörelse  เมื่อมีแรงมากระทํา วัตถุจะมีการเคลื่อนที่ ถามีแรงกระทํามากกวาหนึ่งแรง วัตถุจะเคลื่อนที่ไปใน ทิศทางของแรงลัพธ (Resultant) เราหาแรงลัพธไดโดยการนําแรงมารวมกัน  Tröghetslagen: ของทุกชนิดจะรักษาทิศทางของตนเองหรืออยูกับที่ ถาไมมีแรงภายนอก(แรงอื่น)มากระทํา  Fysik åk 7 : Orn vår 2010          Sida 3 av 5   
  • 4. ภาพนีมีคนออกแรงสองคนชวยกันดึงกลอง ออกแรงไปทางเดียวกัน กลองเคลื่อนที่ไปในทางที่ดึงดวยขนาด ้ ของแรงที่เปนผลรวมของทังสอง (300 + 400 = 700 นิวตัน)  ้   ภาพดานขวา คนสองคนออกแรงดึงเรือไปคนละ ทาง ผลลัพธออกมาในทิศทางระหวางแรงทั้ง สอง เฉียงไปทางแรงที่มากกวา   ใหสังเกตวาในกรณีนี้ขนาดของแรงลัพธไมใชการ นําตัวเลขมาลบกันตรงๆ    คาน Hävstång  เมื่อเราตองการยายของหนัก เชน กอนหินกอนใหญ เรามักใชวิธการนําไมมางัด เพราะถาเราจับไมหางจากจุด ี พอสมควร เราจะออกแรงนอยกวา หลักการนี้เรียกวา คาน Hävstång            ในเรื่องของคาน มีคาศัพทอกคําหนึ่งคือโมเมนต โมเมนตคือผลคูณระหวางแรง(kraft) กับระยะหางจาก ํ ี จุดหมุน (hävarm)      Fysik åk 7 : Orn vår 2010          Sida 4 av 5   
  • 5. เด็กสองคนเลนไมกระดก ถาเด็กโตนังเขาใกลจุดหมุน ขณะที่เด็กเล็กนั่งปลายไม จนทําใหโมเมนต ่ ทางซายเทากันโมเมนตทางขวา ไมจะอยูในสมดุลย ไมกระดก   Hävstångslagen:  โมเมนตทางซาย = โมเมนตทางขวา   (vänster hävarm) ٠ (vänster kraft)  =  (höger hävarm) ٠ (höger kraft)    ในภาพ   โมเมนตทางซาย   =   (vänster hävarm) ٠ (vänster kraft)  =   1m ٠ 60 kg  =   60 N  โมเมนตทางขวา   =   (höger hävarm) ٠ (höger kraft)    =     3m ٠ 20 kg  = 60 N               จากหนังสือ:   Fysik, Titano  s. 70‐80    Fysik, Spektrum s. 89‐105  Link ที่นาสนใจ  http://elearning.nectec.or.th/index.php?mod=Courses&op=showcontent&cid=85&qid=&lid=856&sid=&page   Fysik åk 7 : Orn vår 2010          Sida 5 av 5