SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน
ยาแก้ไอ ...สมุนไพร
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ฐิตินันท์สุวี เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
นางสาว ฐิตินันท์สุวี เลขที่ 29
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ยาแก้ไอ..สมุนไพร
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Cough syrup - herb
ประเภทโครงงาน สมุนไพรรักษาโรค
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ฐิตินันท์ สุวี
ชื่อที่ปรึกษา นายอรรถพงษ์ ภิรักษา
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เดือน 14 วัน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
พืช ผัก และผลไม้ที่ถูกนามาใช้เป็นยาและสิ่งบารุงร่างกายมานานนับพันปี โดยที่สมุนไพรเหล่านี้มีทั้งแบบ
นาผล ใบ ราก เปลือก ยาง เนื้อไม้เถา หัวและดอก หรือทั้งต้นมาใช้งาน ประโยชน์และสรรพคุณของสมุนไพรไทย
เหล่านี้มีทั้งการนามารับประทานสด การนามาต้มรับประทานแบบยาแผนโบราณ บางชนิดก็ใช้ทาหรือพอกเพื่อ
รักษาโรค พืชสมุนไพร เป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้าน
เรา สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรอันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่า ‘ภูมิปัญญาโบราณ’ ก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อย ๆ และถูก
ทอดทิ้งไป
ความจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้ๆ กันว่า สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่าง
กว้างขวาง และหลากหลายในการใช้ แต่เป็นเพราะว่าเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมาก และทาให้วิชาแพทย์
แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลักถูกลืมจนต่อไม่ติด และบางอย่างอาจจะทาให้ระบบขับถ่ายหรือไตทางานหนัก
อีกด้วย
ดิฉันเห็นว่า การใช้สมุทรไพรธรรมชาติมีการรักษาที่ค่อยเป็นค่อยไป ใช้ปริมาณที่เหมาะสมและไม่ทาลาย
ระบบต่างๆของร่างกายทาให้ร่างกายไม่ทรุดโทรมและเราควรหันมารักษาโดยการใช้ยาสมุนไพรที่เป็นธรรมชาติ
3
วัตถุประสงค์
1. ไม่ต้องซื้อหา สามารถปลูกได้เองในบ้าน
2. ทาให้คนเห็นคุณค่า และกลับมาดาเนินชีวิตใกล้ชิดธรรมชาติมากขึ้น
3. ทาให้เกิดความภูมิใจ ในวัฒนธรรม และคุณค่าของความเป็นไทย
4. เหมาะกับคนส่วนใหญ่ เพราะสามารถนามาใช้ได้เอง เมื่อรู้จักวิธีใช้
ขอบเขตโครงงาน
ทาโครงงานนี้เกี่ยวกับสมุนไพรที่ใช้แก้อาการไอเพียงอย่างเดียว
หลักการและทฤษฎี
เภสัชกรหญิงสุนทรี สิงหบุตรา เภสัชกรด้านเภสัชสาธารณสุข หัวหน้าฝ่ายวิชาการ กองเภสัชกรรม สานัก
อนามัย กรุงเทพมหานคร ในฐานะผู้รวบรวมและเรียบเรียง ได้บันทึกไว้ซึ่งต่อมาทางสานักอนามัยฯ ได้นาหนังสือ
ดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใช้ประโยชน์ในงานของ
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ การนี้ ทางโครงการฯ เห็นว่าเนื้อหาในหนังสือมี
คุณค่าและให้ประโยชน์กับผู้ที่ร่วมงานกับโครงการฯ
ภาครัฐเริ่มกลับมาเห็นคุณค่าของสมุนไพรไทยอีกครั้งด้วยการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาไว้เมื่อวันที่ 21
ตุลาคม 2535 ว่า " ให้มีการผสมผสานการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเข้ากับระบบบริการสาธารณสุขของชุมชน
อย่างเหมาะสม" ยาที่รักษาแก้อาการไอ มีดังนี้
1. จิก
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Barringtonia acutangula (L.) Garetn.
ชื่อสามัญ : Indian oak
วงศ์ : Barringtoniaceae
ชื่ออื่น : กระโดนทุ่ง กระโดนน้า(หนองคาย), จิกนา(ภาคใต้), ตอง(ภาคเหนือ), มุ่ยลาย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก ลาต้น เป็นปุ่มปมและเป็นพู ผลัดใบ ชอบขึ้นริมน้า ใบ เดี่ยว ใบอ่อนสี
น้าตาลแดง ผิวใบมัน ใบออกสลับถี่ตามปลายยอด รูปใบยาวเหมือนรูปใบหอก หรือรูปไข่กลับ ใบยาว 30
เซนติเมตร ขอบใบจักถี่ ก้นใบสีแดง สั้นมาก ดอก ช่อ สีแดงห้อยลง บานจากโคนลงไปทางปลาย ช่อดอกยาว 30-40
4
เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 4 กลีบ และจะคงติดอยู่จนเป็นผล เกสรตัวผู้มีจานวนมาก มีสีชมพูถึงสีแดง ผล ยาวรีเป็น
เหลี่ยม มีสันตามยาวของผล 4 สัน ผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
ส่วนที่ใช้ : ราก น้าจากใบ เปลือก ผล
สรรพคุณ :
ราก - ยาระบายอ่อน ๆ และใช้แทนควินินได้
น้าจากใบ - แก้ท้องเสีย
เปลือก - ทาแก้แมลงกัดต่อย พอกแผล
ผล - แก้ไอ ขับเสมหะ
- แก้หวัด หืด
2. ชะเอมไทย
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Albizia myriophylla Benth.
วงศ์ : Leguminosae - Mimosoideae
ชื่ออื่น : ชะเอมป่า (กลาง) ตาลอ้อย (ตราด) เพาะซูโพ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) ย่านงาย (ตรัง) ส้มป่อยหวาน
(ภาคเหนือ) อ้อยช้าง (สงขลา,นราธิวาส)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถารอเลื้อย ลาต้น กิ่งก้านมีหนามแหลมสั้น เปลือกต้นมีรอยแตกตามขวาง
ลาต้น ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปขอบขนาน ปลายใบรูปใบหอก โคนใบเบี้ยว ขอบ
ใบเรียบ แผ่นใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด มีดอก 2 แบบ ดอกสีเหลืองอ่อน กลีบ
ดอกเล็ก เกสรเพศผู้ยาว ผล เป็นฝักแบน ผิวเรียบ ฝักอ่อนสีเขียว พอแก่เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและแตกออก
ส่วนที่ใช้ : ราก เนื้อไม้
สรรพคุณ :
 ราก - แก้ไอ ขับเสมหะ ทาให้ชุ่มคอ ใช้แทนชะเอมเทศ
 เนื้อไม้ - บารุงธาตุ แก้กระหายน้า แก้โรคในคอ
วิธีและปริมาณที่ใช้
แก้ไอขับเสมหะ ; ใช้รากยาว 2-4 นิ้ว ต้มน้ารับประทาน เช้า-เย็น ถ้าไม่ทุเทา รับประทานติดต่อกัน 2-4 วัน
5
3. ปีบ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Millingtonia hortensis L.f.
ชื่อสามัญ : Cork Tree , Indian Cork
วงศ์ : BIGNONIACEAE
ชื่ออื่น : กาซะลอง กาดสะลอง (ภาคเหนือ) เต็กตองโพ่ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 5-10 เมตร ลาต้นตรง เปลือกมีสี
เทาเข้มแตกเป็นร่องลึก มีช่องอากาศ รากเกิดเป็นหน่อ เจริญเป็นต้นใหม่ได้ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก
3 ชั้น มีใบย่อย 4-6 คู่ ใบย่อย 4-6 คู่ มีรูปร่างเป็นรูปหอกแกมรูปไข่ ฐานใบรูปลิ่ม ขอบหยักเป็นซี่หยาบ
ปลายเรียวแหลม เนื้อใบบางคล้ายกระดาษ เกลี้ยง ดอกเป็นดอกช่อกระขุกแยกแขนง ยาว 10-25 ซม. ดอก
ย่อยประกอบด้วย กลีบเลี้ยง มีสีเขียว เชื่อมกันเป็นรูประฆังปลายตัด กลีบดอกมีสีขาว กลิ่นหอม เชื่อมกัน
เป็นหลอดปากแตร แยกเป็น 5 แฉก 3 แฉกรูปขอบขนาน 2 แฉกล่างค่อนข้างแหลม เกสรเพศผู้มีจานวน 4
อัน สองคู่ยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศเมียมีจานวน 1 อัน อยู่เหนือวงเกลีบ ออกดอกประมาณเดือนพฤศจิกายน -
พฤษภาคม ผล เป็นผลแห้งแตก ลักษณะแบนยาวขอบขนาน มีเนื้อ เมล็ดมีจานวนมา เป็นแผ่นบางมีปีก
ส่วนที่ใช้ : ราก ดอก ใบ
สรรพคุณ :
เป็นพืชที่นามาใช้ในการรักษาโรคได้หลายชนิด ในตารายาไทย เช่น
ราก - บารุงปอด รักษาวัณโรค อาการหอบหืด
ดอก - ใช้รักษาอาการหอบหืด ไซนัสอักเสบ เพิ่มการหลั่งน้าดี (cholagogue) เพิ่มรสชาติ
นาดอกปีบแห้ง ผสมยาสูบมามวนเป็นบุหรี่ สาหรับสูบสูด เพื่อรักษาอาการหอบหืด
ใบ - ใช้มวนบุหรี่สูบแทนฝิ่น ขยายหลอดลม ใช้รักษาอาการหอบหืดได้เช่นกัน
6
4. ไพล
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber montanum (Koenig.) Link ex Dietr.
ชื่อพ้อง : Zingiber cassumunar Roxb.
วงศ์ : Zingiberaceae
ชื่ออื่น : ปูลอย ปูเลย (ภาคเหนือ) ว่านไฟ (ภาคกลาง) มิ้นสะล่าง(ฉาน-แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกสูง 0.7-1.5 เมตร มีเหง้าใต้ดิน เปลือกสีน้าตาลแกมเหลือง เนื้อในสี
เหลืองถึงเหลืองแกมเขียว แทงหน่อหรือลาต้นเทียมขึ้นเป็นกอ ซึ่งประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหุ้มซ้อน
กัน ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมใบหอก กว้าง 3.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 18-35 เซนติเมตร ดอกช่อ
แทงจากเหง้าใต้ดิน กลีบดอกสีนวล ใบประดับสีม่วง ผลเป็นผลแห้งรูปกลม
ส่วนที่ใช้ : เหง้าแก่สด ต้น ใบ ดอก
สรรพคุณ :
เหง้า
- เป็นยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม
- แก้บิด ท้องเดิน ขับประจาเดือนสตรี ทาแก้ฟกบวม แก้ผื่นคัน
- เป็นยารักษาหืด
- เป็นยากันเล็บถอด
- ใช้ต้มน้าอาบหลังคลอด
น้าคั้นจากเหง้า - รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม แพลงช้าเมื่อย
หัว - ช่วยขับระดู ประจาเดือนสตรี เลือดร้าย แก้มุตกิตระดูขาว แก้อาเจียน แก้ปวดฟัน
ดอก - ขับโลหิตกระจายเลือดเสีย
ต้น - แก้ธาตุพิการ แก้อุจาระพิการ
ใบ - แก้ไข้ปวดเมื่อย แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้เมื่อย
วิธีและปริมาณที่ใช้
 แก้ท้องขึ้น ท้องอืดท้องเฟ้ อ ขับลม
ใช้เหง้าแห้งบดเป็นผง รับประทานครั้งละ ½ ถึง 1 ช้อนชา ชงน้าร้อน ผสมเกลือเล็กน้อย ดื่ม
7
 รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกช้าบวม ข้อเท้าแพลง
ใช้เหง้าไพล ประมาณ 1 เหง้า ตาแล้วคั้นเอาน้าทาถูนวดบริเวณที่มีอาการ หรือตาให้ละเอียด ผสมเกลือ
เล็กน้อยคลุกเคล้า แล้วนามาห่อเป็นลูกประคบ อังไอน้าให้ความร้อน ประคบบริเวณปวดเมื่อยและบวมฟก
ช้า เช้า-เย็น จนกว่าจะหาย หรือทาเป็นน้ามันไพลไว้ใช้ก็ได้โดยเอาไพล หนัก 2 กิโลกรัม ทอดในน้ามันพืช
ร้อนๆ 1 กิโลกรัม ทอดจนเหลืองแล้วเอาไพลออก ใส่กานพลูผงประมาณ 4 ช้อนชา ทอดต่อไปด้วยไฟ
อ่อนๆ ประมาณ 10 นาที กรองแล้วรอจนน้ามันอุ่นๆ ใส่การบูรลงไป 4 ช้อนชา ใส่ภาชนะปิดฝามิดชิด รอ
จนเย็น จึงเขย่าการบูรให้ละลาย น้ามันไพลนี้ใช้ทาถูนวดวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น หรือเวลาปวด (สูตรนี้เป็น
ของ นายวิบูลย์เข็มเฉลิม อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา)
 แก้บิด ท้องเสีย
ใช้เหง้าไพลสด 4-5 แว่น ตาให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้าเติมเกลือครึ่งช้อนชา ใช้รับประทาน หรือฝนกับน้าปูน
ใส รับประทาน
 เป็นยารักษาหืด
ใช้เหง้าไพลแห้ง 5 ส่วน พริกไทย ดีปลี อย่างละ 2 ส่วน กานพลู พิมเสน อย่างละ ½ ส่วน บดผสมรวมกัน
ใช้ผงยา 1 ช้อนชา ชงน้าร้อนรับประทาน หรือปั้นเป็นลูกกลอนด้วยน้าผึ้ง ขนาดเท่าเม็ดพุทรา รับประทาน
ครั้งละ 2 ลูก ต้องรับประทานติดต่อกันเวลานาน จนกว่าอาการจะดีขึ้น
 เป็นยาแก้เล็บถอด
ใช้เหง้าไพลสด 1 แง่ง ขนาดเท่าหัวแม่มือ ตาให้ละเอียดผสมเกลือและการบูร อย่างละประมาณครึ่งช้อนชา
แล้วนามาพอกบริเวณที่เป็นหนอง ควรเปลี่ยนยาวันละครั้ง
 ช่วยทาให้ผิวหนังชุ่มชื่น และเป็นยาช่วยสมานแผลด้วย
ใช้เหง้าสด 1 แง่ง ฝานเป็นชิ้นบางๆ ใช้ต้มรวมกับสมุนไพรอื่นๆ เนื่องจากไพลมี่น้ามันหอมระเหย
5. มะแว้งเครือ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum trilobatum L.
วงศ์ : Solanaceae
ชื่ออื่น : มะแว้งเถา (กรุงเทพฯ ) แขว้งเควีย (ตาก)
8
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเลื้อยพาดพันกับต้นไม้อื่น ลาต้นกลม สีเขียวเป็นมัน มีหนามแหลมตาม
กิ่งก้าน ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ สีเขียวเป็นมัน แผ่นใบล่างมีหนามตามเส้นใบ ดอก ออกเป็นช่อตาม
ซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีม่วง กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก ย่น ปลายแหลม โคนเชื่อมติดกัน เกสร
เพศผู้สีเหลืองมี 5 อัน ผล รูปทรงกลม ขนาด 0.5 ซม. ผิวเรียบ ผลดิบสีเขียวมีลายขาว ผลสุกสีแดงใส เมล็ด
แบน มีจานวนมาก
ส่วนที่ใช้ : ราก ทั้งต้น ต้น ใบ ผลสดแก่โตเต็มที่ แต่ยังไม่สุก
สรรพคุณ :
ราก - แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา แก้ไอ แก้ขับเสมหะให้ตก แก้หืด ขับปัสสาวะ แก้
ไข้สันนิบาต บารุงธาตุ แก้น้าลายเหนียว กระหายน้า แก้วัณโรค
ทั้งต้น - ขับเหงื่อ แก้ไอ แก้หืด ขับปัสสาวะ
ต้น - แก้หญิงท้องขึ้นในขณะมีครรภ์ แก้ไอ ขับเสมหะ แก้น้าลายเหนียว กระทุ้งพิษไข้ขับปัสสาวะ
ใบ - บารุงธาตุ แก้ไอ แก้น้าลายเหนียว
ผลสด - แก้ไอ ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ รักษาโรคเบาหวาน บารุงดี แก้น้าลายเหนียว บารุงเลือด แก้โลหิต
ออกทางทวารหนักทวารเบา
วิธีและปริมาณที่ใช้
 แก้ไอ แก้โรคหืดหอบ ใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร
เอาผลมะแว้งเครือสดๆ 5-6 ผล นามาเคี้ยวกลืน เฉพาะน้าจนหมดรสขม แล้วคายกากทิ้งเสีย บาบัดอาการไอ
ได้ผลชงัด
ใช้ผลสดๆ 5-10 ผล โขลกพอแหลก คั้นเอาน้า ใส่เกลือ จิบบ่อยๆ หรือใช้ผลสดเคี้ยวแล้วกลืนทั้งน้าและเนื้อ
 รักษาเบาหวาน ลดน้าตาลในเลือด
ใช้ผลมะแว้ง โตเต็มที่ 10-20 ผล รับประทานเป็นอาหาร เป็นผักจิ้มน้าพริก
6. มะแว้งต้น
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum indicum L.
วงศ์ : Solanaceae
9
ชื่ออื่น : มะแคว้ง มะแคว้งขม มะแคว้งคม มะแคว้งดา (ภาคเหนือ) แว้งคม (สงขลา, สุราษฎร์ธานี) สะกั้ง
แค (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) หมากแฮ้งคง (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร เปลือกต้นเรียบสีน้าตาล ยอดอ่อนและต้นอ่อนมีขนสี
ขาว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่หรือขอบขนาน กว้าง 4-10 ซม. ยาว 6-12 ซม. ปลายใบและโคน
ใบมน ขอบใบหยักเว้า แผ่นใบสีเขียว มีขนนุ่ม ก้านใบยาว ดอก ออกเป็นช่อตามกิ่งหรือซอกใบ ดอกย่อยมี
5-10 ดอก ดอกสีม่วง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉกแหลม ด้านนอกมีขน กลีบดอกมี 5 กลีบ
รูปไข่ ปลายแหลม เกสรเพศผู้สีเหลือง ติดกันเป็นรูปกรวย ผล รูปทรงกลม ขนาด 1 ซม. ผิวเรียบ ผลดิบสี
เขียวไม่มีลาย ผลสุกสีส้ม เมล็ดแบนจานวนมาก
ส่วนที่ใช้ : ราก ทั้งต้น ใบ ผล
สรรพคุณ :
ราก - แก้เสมหะ น้าลายเหนียว แก้ไอ แก้ไข้สันนิบาต แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา
ทั้งต้น - แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา
ใบ - บารุงธาตุ แก้วัณโรค แก้ไอ
ผล - บารุงน้าดี รักษาโรคเบาหวาน แก้ไอ แก้เสมหะ แก้น้าลายเหนียว แก้คอแห้ง ขับปัสสาวะ รักษาโรค
ทางไต และกระเพาะปัสสาวะ แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 ใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร แก้ไอ และแก้โรคหอบหืด ใช้มะแว้งต้น ผลแก่
ในเด็ก ใช้ 2-3 ผล ใช้เป็นน้ากระสายยา กวาดแก้ไอ ขับเสมหะ
ผู้ใหญ่ ใช้ 10-20 ผล รับประทาน เคี้ยว แล้วกลืนทั้งน้าและเนื้อ รับประทานบ่อยๆ จนกว่าอาการจะดีขึ้น
 ใช้ลดน้าตาลในเลือด รักษาเบาหวาน
ใช้มะแว้งต้นโตเต็มที่ 10-20 ผล รับประทานเป็นอาหารกับน้าพริก
คุณค่าทางด้านอาหาร :
ลูกมะแว้งต้น ใช้เป็นผักได้แต่นิยมน้อยกว่ามะแว้งเครือ ลูกมะแว้งต้นมีวิตามินเอ ค่อนข้างสูง
7. มะกรูด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC.
ชื่อสามัญ : Leech lime, Mauritus papeda
10
วงศ์ : Rutaceae
ชื่ออื่น : มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะขู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล มีหนามแหลมตามกิ่ง
ก้าน ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบ
เรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม มีต่อมน้ามันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็น
ช่อตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็น
รูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ามัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรส
เปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด
ส่วนที่ใช้ : ราก ใบ ผล ผิวจากผล
สรรพคุณ :
ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ
ใบ - มีน้ามันหอมระเหย
ผล, น้าคั้นจากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ทาให้ผมสะอาดผิวจากผล
- ปรุงเป็นยาขับลมในลาไส้ แก้แน่น
- เป็นยาบารุงหัวใจ
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 ใช้เป็นยาบารุงหัวใจ ขับลมในลาไส้ แก้แน่น แก้เสมหะ
ฝานผิวมะกรูดสดเป็นชิ้นเล็กๆ 1 ช้อนแกง เติมการบูร หรือ พิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้าเดือด แช่ทิ้งไว้ดื่ม
แต่น้ารับประทาน 1 ถึง 2 ครั้ง แต่ถ้ายังไม่ค่อยทุเลา จะรับประทานติดต่อกัน 2-3 ครั้งก็ได้
 ใช้สระผมทาให้ผมสะอาดชุ่มชื้น เป็นเงางาม ดกดา ผมลื่นด้วย
โดยผ่ามะกรูดเป็น 2 ชิ้น เมื่อสระผมเสร็จแล้ว เอามะกรูดสระซ้า ใช้มะกรูดยีไปบนผม น้ามะกรูดเป็นกรด
จะทาให้ผมสะอาด แล้วล้างผมให้สมุนไพรออกไปให้หมด หรือใช้มะกรูดเผาไฟ นามาผ่าซีกใช้สระผม จะ
รักษาชันนะตุ ทาให้ผมสะอาดเป็นมัน
8. มะดัน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Garcinia schomburgkiana Pierre.
วงศ์ : Clusiaceae (Guttiferae)
11
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 7-10 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาลอมดา ใบ
เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 2.5 ซม. ยาว 9 ซม. ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบ
เรียบ แผ่นใบเรียบลื่น สีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 0.5-1 ศทซ ดอก ออกดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 3-6 ดอก ตาม
ซอกใบ มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกเพศผู้ดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ ค่อนข้างกลม กลีบ
ดอกมี 4 กลีบ รูปรีแกมรูปไข่ ปลายกลีบดอกมน ดอกเพศผู้มีเกสรเพศผู้10-12 อัน ผล รูปรีปลายแหลม ผิว
เรียบสีเขียว เป็นมันลื่น มีรสเปรี้ยว เมล็ดมี 3-4 เมล็ด ติดกัน
ส่วนที่ใช้ : ใบ ราก ผล
สรรพคุณ :
 ใบและราก
- เป็นยาดอกเปรี้ยวเค็ม และปรุงเป็นยาต้ม รับประทานแก้กระษัย แก้ระดูเสีย ขับฟอกโลหิต
- เป็นยาระบายอ่อนๆ
- เป็นยาสกัดเสมหะในลาคอดี
 ผล
- เป็นยาสกัดเสมหะในลาคอดี
- เป็นอาหาร
9. มะขามป้ อม
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus emblica L.
ชื่อสามัญ : Emblic myrablan, Malacca tree
วงศ์ : Euphorbiaceae
ชื่ออื่น : กาทวด (ราชบุรี) กันโตด (เขมร-จันทบุรี) สันยาส่า มั่งลู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 10-12 เมตร เปลือกต้นสีเทาอมน้าตาล แตกเป็นร่องตามยาว กิ่งก้าน
แข็ง เหนียว ใบ เป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปขอบขนาน กว้าง 1- 5 มม. ยาว 4-15 มม.
ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบมนหรือเว้าเข้า ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว ดอก ออกเป็นช่อ เป็น
กระจุกเล็กๆ ดอกสีเหลืองอ่อนออกเขียว กลีบดอกมี 5-6 กลีบ มีเกสรเพศผู้สั้นๆ 3-5 อัน ก้านดอกสั้น ผล
รูปทรงกลม ขนาด 1.3-2 ซม. เป็นพูตื่นๆ 6 พู ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียวอมเหลือง พอแก่เป็นสีเหลืองออก
น้าตาล เมล็ดรูปรี เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง
12
ส่วนที่ใช้ : น้าจากผล ผลโตเต็มที่
สรรพคุณ :
น้าจากผล - แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ
ผล - แก้ไอ ขับเสมหะ ทาให้ชุ่มคอ
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
ผลโตเต็มที่ จานวนไม่จากัด รับประทานเป็นผลไม้
10. มะนาว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle
ชื่อสามัญ : Common lime
วงศ์ : Rutaceae
ชื่ออื่น : ส้มมะนาว มะลิว (ภาคเหนือ)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามแหลม เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาลปนเทา ใบ
เป็นใบประกอบ ออกเรียงสลับ มีใบย่อยใบเดียว รูปไข่หรือรูปรียาว กว้าง 3-5 ซม. ยาว4-8 ซม. ปลายใบ
แหลม โคนใบมนมีปีกแคบๆ ขอบใบหยัก แผ่นใบมีต่อมน้ามันกระจายอยู่ตามผิวใบ ดอก ออกเป็นช่อสั้น
5-7 ดอก หรือออกดอกเดี่ยวตามซอกใบ ที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบดอกมี 4-5 กลีบ หลุดร่วงง่าย ผล
รูปทรงกลม ผิวเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียวเข้ม พอแก่เป็นสีเหลือง ข้างในแบ่งเป็นห้องแบบรัศมี มีรสเปรี้ยว
เมล็ดกลมรี สีขาว มี 10-15 เมล็ด
ส่วนที่ใช้ : น้ามะนาว (น้าคั้นจากผล) ราก ใบ ดอก ผล เมล็ด
สรรพคุณ :
น้ามะนาว - แก้โรคลักปิดลักเปิด (เลือดออกตามไรฟัน) ทาอาหาร ขับเสมหะ ฟอกโลหิต ทาให้ผิวนุ่มนวล
แก้ซาง บารุงเสียง บารุงโลหิต ขับระดู แก้เล็บขบ แก้ขาลาย จิบแก้ไอ ดับกลิ่นเหล้า ฆ่าพยาธิในท้อง รักษา
ผม ขับลม รักษาลมพิษ แก้ริดสีดวง แก้ระดูขาว แก้พิษยางน่อง แก้ไข้แก้ไข้กาฬ แก้ฝี แก้ปวด แก้อักเสบ
ราก - กระทุ้งพิษไข้ถอนพิษสาแดง แก้สติหลงลืม แก้ไข้แก้ไข้กาฬ แก้ฝี แก้ปวด แก้อักเสบ ถอนพิษไข้
กลับไข้ซ้า
ใบ - ฟอกโลหิต แก้ตับทรุด
13
ดอก - แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อและปวดท้อง แก้อาการคลื่นไส้ อาเจียน (เกิดจากธาตุไม่ปกติ ) แก้ไอ ขับ
เสมหะ
ผล - แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อและปวดท้อง ทาแก้ผิวแห้งตกสะเก็ด แก้สิวฝ้า แก้ส้นเท้าแตก แก้ไอ รักษา
แผลจากแมลงมีพิษ
เมล็ด - แก้พิษตานซาง แก้หายใจขัด แก้ไข้ขับเสมหะ แก้พิษฝีภายใน
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 ยาแก้ไอขับเสมหะ
น้าในผลที่โตเต็มที่ น้ามะนาว 2-3 ช้อนแกง, เมล็ดมะนาว 10-20 เมล็ด นาน้ามะนาวเติมเกลือเล็กน้อย จิบ
จะช่วยทาให้เสมหะถูกขับออก และเสียงดี ถ้าเป็นเมล็ดมะนาวนาไปคั่วให้เหลือง บดให้ละเอียด เติม
พิมเสน 2-5 เกล็ด ชงน้าร้อนรับประทาน เป็นยาขับเสมหะ
 ยาป้ องกันหรือแก้โรคเลือดออกตามไรฟัน (ลักปิดลักเปิด)
ใช้น้าจากผลที่แก่จัดไม่จากัด เติมเกลือ น้าตาล น้าแข็ง ใช้เป็นเครื่องดื่ม หรือจะใส่ในอาหาร ก็ได้ผลเช่นกัน
 ยาห้ามเลือด ใส่แผลสด
ใช้น้าจากผล ครึ่งช้อนชา หรือ 1/4 ช้อนแกง แผลถูกมีดบาด เลือดไม่หยุด บีบน้ามะนาวลงไป 3-4 หยด
เลือดจะหยุด
11. มะอึก
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum stramonifolium Jacq.
วงศ์ : Solanaceae
ชื่ออื่น : มะเขือปู่ มะปู่ (ภาคเหนือ)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร ทุกส่วนมีขนละเอียดสีน้าตาลอ่อนปกคลุม ใบ เป็นใบ
เดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่กว้าง กว้าง 15-25 ซม. ยาว 20-30 ซม. โคนใบเว้าหรือตัด ขอบใบหยักเว้าเป็นพู
แผ่นใบสีเขียว มีขนทั้งสองด้าน ดอก ออกเป็นช่อกระจุกที่ซอกใบ ดอกสีขาว กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนเชื่อม
ติดกัน ปลายแหลม เกสรเพศผู้สีเหลือง เป็นเส้นรวมเป็นยอดแหลม ผล รูปทรงกลม ขนาด 1.8-2 ซม. ผิวมี
ขนยาวหนาแน่น ผลสุกสีเหลืองแกมน้าตาล เมล็ดแบน มีจานวนมาก
ส่วนที่ใช้ : ผล ใบ ราก เมล็ด
สรรพคุณ :
14
ผล - เป็นอาหาร กัดฟอกเสมหะ แก้ไอ
ใบ - เป็นยาพอก แก้คัน
ราก - แก้ปวด แก้ไข้พอกแก้คัน
เมล็ด - แก้ปวดฟัน (โดยเผาสูดดมควันเข้าไป)
12. ลาโพงดอกขาว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Datura metel L.
ชื่อสามัญ : Apple of Peru, Green Thorn Apple, Hindu Datura, Metel, Thorn Apple
วงศ์ : Solanaceae
ชื่ออื่น : มะเขือบ้า, มั่งโต๊ะโล๊ะ, ละอังกะ, เลี๊ยก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 1-2 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม ใบ เป็นใบเดี่ยว ออก
เรียงสลับ รูปไข่ โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบจักเป็นซี่ห่างกัน แผ่นใบสีเขียว ดอก ออกดอกเดี่ยว
ตามซอกใบ ดอกสีขาวนวล กลีบเลี้ยงติดกันเป็นหลอดยาวครึ่งหนึ่งของความยาวดอก กลีบดอกโคนเชื่อม
ติดกัน ปลายบานเป็นรูปแตร ผล รูปทรงค่อนข้างกลม สีเขียว ผิวเป็นตุ่มหนาม ผลแห้งแตกได้เมล็ดสี
น้าตาลจานวนมาก
ส่วนที่ใช้ : ใบแห้ง ดอกแห้ง ยอดอ่อน ช่อดอก
สรรพคุณ : ยารักษาโรคหืด คลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบ (antispasmodic) anticholinergic activity
13. หนุมานประสานกาย
15
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Schefflera leucantha R. Vig.
วงศ์ : Araliaceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-4 เมตร แตกกิ่งก้านต่าใกล้พื้นดิน เปลือกต้นเรียบเป็นสีน้าตาล ใบ
เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงสลับ มีใบย่อย 6-8 ใบ รูปรี กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. โคนใบ
แหลม ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเป็นมัน ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกเล็กสี
ขาวนวล ผล เป็นผลมีเนื้อ รูปทรงกลม ขนาดเล็ก
ส่วนที่ใช้ : ใบสด
สรรพคุณ : รักษาโรคหืด โรคแพ้อากาศ ขับเสมหะ
 รักษาโรคหลอดลมอักเสบ
 รักษาวัณโรคปอด แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด
 ตาพอกแผลห้ามเลือด ห้ามเลือด
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 รักษาโรคหืด แพ้อากาศ ขับเสมหะ และโรคหลอดลมอักเสบ
ใช้ใบสดเล็กๆ 9 ใบ ต้มกับน้า 3 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว รับประทานวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร
เช้า-เย็น เป็นเวลา 49 วัน หืดควรจะหาย
 ยาแก้อาเจียนเป็นเลือด
ใช้ใบสด 12 ใบย่อย ตาคั้นน้า 2 ถ้วยตะไล รับประทานครั้งละ 1 ถ้วยตะไล ติดต่อกัน 5-7 วัน
 ใช้รักษาวัณโรค
ใช้เหมือนวิธีที่ 1 ติดต่อกัน 60 วัน แล้ว x-ray ดู ปอดจะหาย แล้วให้รับประทานต่อมาอีกระยะหนึ่ง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อ
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูล
3. จัดทาโครงร่างของผลงาน
4. ตรวจสอบผลงาน
5. ปรับปรุงและแก้ไข
6. นาเสนอผลงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. มีด
2. กระทะ
3. เครื่องปั่น
งบประมาณ 150 บาท
16
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทาให้ผู้ที่สนใจเรื่องสมุนไพรได้ศึกษาต่อยอดความรู้ที่ได้ทาไป
2. ทาให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาและความรู้ของคนสมัยก่อน
3. มีพิษและผลข้างเคียงน้อยกว่ายาแผนใหม่
สถานที่ดาเนินการ
บ้านของตนเอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรม)
แหล่งอ้างอิง
http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_08_12.htm
https://sites.google.com/site/smunphirbanheamiprayochn/srrphkhun-smunphir-phun-ban

Contenu connexe

Tendances

เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
Pandora Fern
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
Bio Beau
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้
Tayicha Phunpowngam
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
Jitrapron Tongon
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
พัน พัน
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom's
Theyok Tanya
 

Tendances (20)

2562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-332562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-33
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
 
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)แบบร่างโครงงาน (งานคู่)
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
 
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556 ณ ค่ายลูกเสืออำเภอพบพระ
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556  ณ  ค่ายลูกเสืออำเภอพบพระ ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556  ณ  ค่ายลูกเสืออำเภอพบพระ
ทำเนียบลูกเสือ S.S.A.T.C. รุ่น 95/2556 ณ ค่ายลูกเสืออำเภอพบพระ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้
 
Work 1 kopthuay
Work 1 kopthuayWork 1 kopthuay
Work 1 kopthuay
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงาน607
โครงงาน607โครงงาน607
โครงงาน607
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom's
 
1
11
1
 

Similaire à Project thitinan

โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
009kkk
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
Theyok Tanya
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
Bio Beau
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
Wichai Likitponrak
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Permtrakul Khammoon
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
Wichai Likitponrak
 

Similaire à Project thitinan (20)

Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
งานคอมพ
งานคอมพ งานคอมพ
งานคอมพ
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
at1
at1at1
at1
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
คอม1
คอม1คอม1
คอม1
 
คอม1
คอม1คอม1
คอม1
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 

Plus de Apaiwong Nalinee

กีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอลกีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล
Apaiwong Nalinee
 

Plus de Apaiwong Nalinee (14)

ึ7 วิชาสามัญSocial2556
ึ7 วิชาสามัญSocial2556ึ7 วิชาสามัญSocial2556
ึ7 วิชาสามัญSocial2556
 
ึ7 วิชาสามัญ Bio2556
ึ7 วิชาสามัญ Bio2556ึ7 วิชาสามัญ Bio2556
ึ7 วิชาสามัญ Bio2556
 
ึึ7 วิชาสามัญ Chem2556
ึึ7 วิชาสามัญ Chem2556ึึ7 วิชาสามัญ Chem2556
ึึ7 วิชาสามัญ Chem2556
 
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญChem2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญChem2556ข้อสอบ 7 วิชาสามัญChem2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญChem2556
 
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Social2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Social2556ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Social2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Social2556
 
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Phy2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Phy2556ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Phy2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Phy2556
 
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Math2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Math2556ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Math2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Math2556
 
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Eng2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Eng2556ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Eng2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Eng2556
 
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Chem2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Chem2556ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Chem2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Chem2556
 
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Thai2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Thai2556ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Thai2556
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ Thai2556
 
กีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอลกีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล
 
ความรู้เรื่อง Blogger
ความรู้เรื่อง Bloggerความรู้เรื่อง Blogger
ความรู้เรื่อง Blogger
 
ความรู้เรื่อง Blogger
ความรู้เรื่อง Bloggerความรู้เรื่อง Blogger
ความรู้เรื่อง Blogger
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของตนเอง
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของตนเองใบงานแบบสำรวจและประวัติของตนเอง
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของตนเอง
 

Project thitinan

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน ยาแก้ไอ ...สมุนไพร ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ฐิตินันท์สุวี เลขที่ 29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… นางสาว ฐิตินันท์สุวี เลขที่ 29 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ยาแก้ไอ..สมุนไพร ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Cough syrup - herb ประเภทโครงงาน สมุนไพรรักษาโรค ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ฐิตินันท์ สุวี ชื่อที่ปรึกษา นายอรรถพงษ์ ภิรักษา ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เดือน 14 วัน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน พืช ผัก และผลไม้ที่ถูกนามาใช้เป็นยาและสิ่งบารุงร่างกายมานานนับพันปี โดยที่สมุนไพรเหล่านี้มีทั้งแบบ นาผล ใบ ราก เปลือก ยาง เนื้อไม้เถา หัวและดอก หรือทั้งต้นมาใช้งาน ประโยชน์และสรรพคุณของสมุนไพรไทย เหล่านี้มีทั้งการนามารับประทานสด การนามาต้มรับประทานแบบยาแผนโบราณ บางชนิดก็ใช้ทาหรือพอกเพื่อ รักษาโรค พืชสมุนไพร เป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้าน เรา สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรอันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่า ‘ภูมิปัญญาโบราณ’ ก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อย ๆ และถูก ทอดทิ้งไป ความจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้ๆ กันว่า สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่าง กว้างขวาง และหลากหลายในการใช้ แต่เป็นเพราะว่าเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมาก และทาให้วิชาแพทย์ แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลักถูกลืมจนต่อไม่ติด และบางอย่างอาจจะทาให้ระบบขับถ่ายหรือไตทางานหนัก อีกด้วย ดิฉันเห็นว่า การใช้สมุทรไพรธรรมชาติมีการรักษาที่ค่อยเป็นค่อยไป ใช้ปริมาณที่เหมาะสมและไม่ทาลาย ระบบต่างๆของร่างกายทาให้ร่างกายไม่ทรุดโทรมและเราควรหันมารักษาโดยการใช้ยาสมุนไพรที่เป็นธรรมชาติ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. ไม่ต้องซื้อหา สามารถปลูกได้เองในบ้าน 2. ทาให้คนเห็นคุณค่า และกลับมาดาเนินชีวิตใกล้ชิดธรรมชาติมากขึ้น 3. ทาให้เกิดความภูมิใจ ในวัฒนธรรม และคุณค่าของความเป็นไทย 4. เหมาะกับคนส่วนใหญ่ เพราะสามารถนามาใช้ได้เอง เมื่อรู้จักวิธีใช้ ขอบเขตโครงงาน ทาโครงงานนี้เกี่ยวกับสมุนไพรที่ใช้แก้อาการไอเพียงอย่างเดียว หลักการและทฤษฎี เภสัชกรหญิงสุนทรี สิงหบุตรา เภสัชกรด้านเภสัชสาธารณสุข หัวหน้าฝ่ายวิชาการ กองเภสัชกรรม สานัก อนามัย กรุงเทพมหานคร ในฐานะผู้รวบรวมและเรียบเรียง ได้บันทึกไว้ซึ่งต่อมาทางสานักอนามัยฯ ได้นาหนังสือ ดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใช้ประโยชน์ในงานของ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ การนี้ ทางโครงการฯ เห็นว่าเนื้อหาในหนังสือมี คุณค่าและให้ประโยชน์กับผู้ที่ร่วมงานกับโครงการฯ ภาครัฐเริ่มกลับมาเห็นคุณค่าของสมุนไพรไทยอีกครั้งด้วยการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาไว้เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2535 ว่า " ให้มีการผสมผสานการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเข้ากับระบบบริการสาธารณสุขของชุมชน อย่างเหมาะสม" ยาที่รักษาแก้อาการไอ มีดังนี้ 1. จิก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Barringtonia acutangula (L.) Garetn. ชื่อสามัญ : Indian oak วงศ์ : Barringtoniaceae ชื่ออื่น : กระโดนทุ่ง กระโดนน้า(หนองคาย), จิกนา(ภาคใต้), ตอง(ภาคเหนือ), มุ่ยลาย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก ลาต้น เป็นปุ่มปมและเป็นพู ผลัดใบ ชอบขึ้นริมน้า ใบ เดี่ยว ใบอ่อนสี น้าตาลแดง ผิวใบมัน ใบออกสลับถี่ตามปลายยอด รูปใบยาวเหมือนรูปใบหอก หรือรูปไข่กลับ ใบยาว 30 เซนติเมตร ขอบใบจักถี่ ก้นใบสีแดง สั้นมาก ดอก ช่อ สีแดงห้อยลง บานจากโคนลงไปทางปลาย ช่อดอกยาว 30-40
  • 4. 4 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 4 กลีบ และจะคงติดอยู่จนเป็นผล เกสรตัวผู้มีจานวนมาก มีสีชมพูถึงสีแดง ผล ยาวรีเป็น เหลี่ยม มีสันตามยาวของผล 4 สัน ผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ส่วนที่ใช้ : ราก น้าจากใบ เปลือก ผล สรรพคุณ : ราก - ยาระบายอ่อน ๆ และใช้แทนควินินได้ น้าจากใบ - แก้ท้องเสีย เปลือก - ทาแก้แมลงกัดต่อย พอกแผล ผล - แก้ไอ ขับเสมหะ - แก้หวัด หืด 2. ชะเอมไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ : Albizia myriophylla Benth. วงศ์ : Leguminosae - Mimosoideae ชื่ออื่น : ชะเอมป่า (กลาง) ตาลอ้อย (ตราด) เพาะซูโพ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) ย่านงาย (ตรัง) ส้มป่อยหวาน (ภาคเหนือ) อ้อยช้าง (สงขลา,นราธิวาส) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถารอเลื้อย ลาต้น กิ่งก้านมีหนามแหลมสั้น เปลือกต้นมีรอยแตกตามขวาง ลาต้น ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปขอบขนาน ปลายใบรูปใบหอก โคนใบเบี้ยว ขอบ ใบเรียบ แผ่นใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด มีดอก 2 แบบ ดอกสีเหลืองอ่อน กลีบ ดอกเล็ก เกสรเพศผู้ยาว ผล เป็นฝักแบน ผิวเรียบ ฝักอ่อนสีเขียว พอแก่เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและแตกออก ส่วนที่ใช้ : ราก เนื้อไม้ สรรพคุณ :  ราก - แก้ไอ ขับเสมหะ ทาให้ชุ่มคอ ใช้แทนชะเอมเทศ  เนื้อไม้ - บารุงธาตุ แก้กระหายน้า แก้โรคในคอ วิธีและปริมาณที่ใช้ แก้ไอขับเสมหะ ; ใช้รากยาว 2-4 นิ้ว ต้มน้ารับประทาน เช้า-เย็น ถ้าไม่ทุเทา รับประทานติดต่อกัน 2-4 วัน
  • 5. 5 3. ปีบ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Millingtonia hortensis L.f. ชื่อสามัญ : Cork Tree , Indian Cork วงศ์ : BIGNONIACEAE ชื่ออื่น : กาซะลอง กาดสะลอง (ภาคเหนือ) เต็กตองโพ่ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 5-10 เมตร ลาต้นตรง เปลือกมีสี เทาเข้มแตกเป็นร่องลึก มีช่องอากาศ รากเกิดเป็นหน่อ เจริญเป็นต้นใหม่ได้ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก 3 ชั้น มีใบย่อย 4-6 คู่ ใบย่อย 4-6 คู่ มีรูปร่างเป็นรูปหอกแกมรูปไข่ ฐานใบรูปลิ่ม ขอบหยักเป็นซี่หยาบ ปลายเรียวแหลม เนื้อใบบางคล้ายกระดาษ เกลี้ยง ดอกเป็นดอกช่อกระขุกแยกแขนง ยาว 10-25 ซม. ดอก ย่อยประกอบด้วย กลีบเลี้ยง มีสีเขียว เชื่อมกันเป็นรูประฆังปลายตัด กลีบดอกมีสีขาว กลิ่นหอม เชื่อมกัน เป็นหลอดปากแตร แยกเป็น 5 แฉก 3 แฉกรูปขอบขนาน 2 แฉกล่างค่อนข้างแหลม เกสรเพศผู้มีจานวน 4 อัน สองคู่ยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศเมียมีจานวน 1 อัน อยู่เหนือวงเกลีบ ออกดอกประมาณเดือนพฤศจิกายน - พฤษภาคม ผล เป็นผลแห้งแตก ลักษณะแบนยาวขอบขนาน มีเนื้อ เมล็ดมีจานวนมา เป็นแผ่นบางมีปีก ส่วนที่ใช้ : ราก ดอก ใบ สรรพคุณ : เป็นพืชที่นามาใช้ในการรักษาโรคได้หลายชนิด ในตารายาไทย เช่น ราก - บารุงปอด รักษาวัณโรค อาการหอบหืด ดอก - ใช้รักษาอาการหอบหืด ไซนัสอักเสบ เพิ่มการหลั่งน้าดี (cholagogue) เพิ่มรสชาติ นาดอกปีบแห้ง ผสมยาสูบมามวนเป็นบุหรี่ สาหรับสูบสูด เพื่อรักษาอาการหอบหืด ใบ - ใช้มวนบุหรี่สูบแทนฝิ่น ขยายหลอดลม ใช้รักษาอาการหอบหืดได้เช่นกัน
  • 6. 6 4. ไพล ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber montanum (Koenig.) Link ex Dietr. ชื่อพ้อง : Zingiber cassumunar Roxb. วงศ์ : Zingiberaceae ชื่ออื่น : ปูลอย ปูเลย (ภาคเหนือ) ว่านไฟ (ภาคกลาง) มิ้นสะล่าง(ฉาน-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกสูง 0.7-1.5 เมตร มีเหง้าใต้ดิน เปลือกสีน้าตาลแกมเหลือง เนื้อในสี เหลืองถึงเหลืองแกมเขียว แทงหน่อหรือลาต้นเทียมขึ้นเป็นกอ ซึ่งประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหุ้มซ้อน กัน ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมใบหอก กว้าง 3.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 18-35 เซนติเมตร ดอกช่อ แทงจากเหง้าใต้ดิน กลีบดอกสีนวล ใบประดับสีม่วง ผลเป็นผลแห้งรูปกลม ส่วนที่ใช้ : เหง้าแก่สด ต้น ใบ ดอก สรรพคุณ : เหง้า - เป็นยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม - แก้บิด ท้องเดิน ขับประจาเดือนสตรี ทาแก้ฟกบวม แก้ผื่นคัน - เป็นยารักษาหืด - เป็นยากันเล็บถอด - ใช้ต้มน้าอาบหลังคลอด น้าคั้นจากเหง้า - รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม แพลงช้าเมื่อย หัว - ช่วยขับระดู ประจาเดือนสตรี เลือดร้าย แก้มุตกิตระดูขาว แก้อาเจียน แก้ปวดฟัน ดอก - ขับโลหิตกระจายเลือดเสีย ต้น - แก้ธาตุพิการ แก้อุจาระพิการ ใบ - แก้ไข้ปวดเมื่อย แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้เมื่อย วิธีและปริมาณที่ใช้  แก้ท้องขึ้น ท้องอืดท้องเฟ้ อ ขับลม ใช้เหง้าแห้งบดเป็นผง รับประทานครั้งละ ½ ถึง 1 ช้อนชา ชงน้าร้อน ผสมเกลือเล็กน้อย ดื่ม
  • 7. 7  รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกช้าบวม ข้อเท้าแพลง ใช้เหง้าไพล ประมาณ 1 เหง้า ตาแล้วคั้นเอาน้าทาถูนวดบริเวณที่มีอาการ หรือตาให้ละเอียด ผสมเกลือ เล็กน้อยคลุกเคล้า แล้วนามาห่อเป็นลูกประคบ อังไอน้าให้ความร้อน ประคบบริเวณปวดเมื่อยและบวมฟก ช้า เช้า-เย็น จนกว่าจะหาย หรือทาเป็นน้ามันไพลไว้ใช้ก็ได้โดยเอาไพล หนัก 2 กิโลกรัม ทอดในน้ามันพืช ร้อนๆ 1 กิโลกรัม ทอดจนเหลืองแล้วเอาไพลออก ใส่กานพลูผงประมาณ 4 ช้อนชา ทอดต่อไปด้วยไฟ อ่อนๆ ประมาณ 10 นาที กรองแล้วรอจนน้ามันอุ่นๆ ใส่การบูรลงไป 4 ช้อนชา ใส่ภาชนะปิดฝามิดชิด รอ จนเย็น จึงเขย่าการบูรให้ละลาย น้ามันไพลนี้ใช้ทาถูนวดวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น หรือเวลาปวด (สูตรนี้เป็น ของ นายวิบูลย์เข็มเฉลิม อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา)  แก้บิด ท้องเสีย ใช้เหง้าไพลสด 4-5 แว่น ตาให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้าเติมเกลือครึ่งช้อนชา ใช้รับประทาน หรือฝนกับน้าปูน ใส รับประทาน  เป็นยารักษาหืด ใช้เหง้าไพลแห้ง 5 ส่วน พริกไทย ดีปลี อย่างละ 2 ส่วน กานพลู พิมเสน อย่างละ ½ ส่วน บดผสมรวมกัน ใช้ผงยา 1 ช้อนชา ชงน้าร้อนรับประทาน หรือปั้นเป็นลูกกลอนด้วยน้าผึ้ง ขนาดเท่าเม็ดพุทรา รับประทาน ครั้งละ 2 ลูก ต้องรับประทานติดต่อกันเวลานาน จนกว่าอาการจะดีขึ้น  เป็นยาแก้เล็บถอด ใช้เหง้าไพลสด 1 แง่ง ขนาดเท่าหัวแม่มือ ตาให้ละเอียดผสมเกลือและการบูร อย่างละประมาณครึ่งช้อนชา แล้วนามาพอกบริเวณที่เป็นหนอง ควรเปลี่ยนยาวันละครั้ง  ช่วยทาให้ผิวหนังชุ่มชื่น และเป็นยาช่วยสมานแผลด้วย ใช้เหง้าสด 1 แง่ง ฝานเป็นชิ้นบางๆ ใช้ต้มรวมกับสมุนไพรอื่นๆ เนื่องจากไพลมี่น้ามันหอมระเหย 5. มะแว้งเครือ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum trilobatum L. วงศ์ : Solanaceae ชื่ออื่น : มะแว้งเถา (กรุงเทพฯ ) แขว้งเควีย (ตาก)
  • 8. 8 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเลื้อยพาดพันกับต้นไม้อื่น ลาต้นกลม สีเขียวเป็นมัน มีหนามแหลมตาม กิ่งก้าน ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ สีเขียวเป็นมัน แผ่นใบล่างมีหนามตามเส้นใบ ดอก ออกเป็นช่อตาม ซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีม่วง กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก ย่น ปลายแหลม โคนเชื่อมติดกัน เกสร เพศผู้สีเหลืองมี 5 อัน ผล รูปทรงกลม ขนาด 0.5 ซม. ผิวเรียบ ผลดิบสีเขียวมีลายขาว ผลสุกสีแดงใส เมล็ด แบน มีจานวนมาก ส่วนที่ใช้ : ราก ทั้งต้น ต้น ใบ ผลสดแก่โตเต็มที่ แต่ยังไม่สุก สรรพคุณ : ราก - แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา แก้ไอ แก้ขับเสมหะให้ตก แก้หืด ขับปัสสาวะ แก้ ไข้สันนิบาต บารุงธาตุ แก้น้าลายเหนียว กระหายน้า แก้วัณโรค ทั้งต้น - ขับเหงื่อ แก้ไอ แก้หืด ขับปัสสาวะ ต้น - แก้หญิงท้องขึ้นในขณะมีครรภ์ แก้ไอ ขับเสมหะ แก้น้าลายเหนียว กระทุ้งพิษไข้ขับปัสสาวะ ใบ - บารุงธาตุ แก้ไอ แก้น้าลายเหนียว ผลสด - แก้ไอ ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ รักษาโรคเบาหวาน บารุงดี แก้น้าลายเหนียว บารุงเลือด แก้โลหิต ออกทางทวารหนักทวารเบา วิธีและปริมาณที่ใช้  แก้ไอ แก้โรคหืดหอบ ใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร เอาผลมะแว้งเครือสดๆ 5-6 ผล นามาเคี้ยวกลืน เฉพาะน้าจนหมดรสขม แล้วคายกากทิ้งเสีย บาบัดอาการไอ ได้ผลชงัด ใช้ผลสดๆ 5-10 ผล โขลกพอแหลก คั้นเอาน้า ใส่เกลือ จิบบ่อยๆ หรือใช้ผลสดเคี้ยวแล้วกลืนทั้งน้าและเนื้อ  รักษาเบาหวาน ลดน้าตาลในเลือด ใช้ผลมะแว้ง โตเต็มที่ 10-20 ผล รับประทานเป็นอาหาร เป็นผักจิ้มน้าพริก 6. มะแว้งต้น ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum indicum L. วงศ์ : Solanaceae
  • 9. 9 ชื่ออื่น : มะแคว้ง มะแคว้งขม มะแคว้งคม มะแคว้งดา (ภาคเหนือ) แว้งคม (สงขลา, สุราษฎร์ธานี) สะกั้ง แค (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) หมากแฮ้งคง (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร เปลือกต้นเรียบสีน้าตาล ยอดอ่อนและต้นอ่อนมีขนสี ขาว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่หรือขอบขนาน กว้าง 4-10 ซม. ยาว 6-12 ซม. ปลายใบและโคน ใบมน ขอบใบหยักเว้า แผ่นใบสีเขียว มีขนนุ่ม ก้านใบยาว ดอก ออกเป็นช่อตามกิ่งหรือซอกใบ ดอกย่อยมี 5-10 ดอก ดอกสีม่วง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉกแหลม ด้านนอกมีขน กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปไข่ ปลายแหลม เกสรเพศผู้สีเหลือง ติดกันเป็นรูปกรวย ผล รูปทรงกลม ขนาด 1 ซม. ผิวเรียบ ผลดิบสี เขียวไม่มีลาย ผลสุกสีส้ม เมล็ดแบนจานวนมาก ส่วนที่ใช้ : ราก ทั้งต้น ใบ ผล สรรพคุณ : ราก - แก้เสมหะ น้าลายเหนียว แก้ไอ แก้ไข้สันนิบาต แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา ทั้งต้น - แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา ใบ - บารุงธาตุ แก้วัณโรค แก้ไอ ผล - บารุงน้าดี รักษาโรคเบาหวาน แก้ไอ แก้เสมหะ แก้น้าลายเหนียว แก้คอแห้ง ขับปัสสาวะ รักษาโรค ทางไต และกระเพาะปัสสาวะ แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา วิธีและปริมาณที่ใช้ :  ใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร แก้ไอ และแก้โรคหอบหืด ใช้มะแว้งต้น ผลแก่ ในเด็ก ใช้ 2-3 ผล ใช้เป็นน้ากระสายยา กวาดแก้ไอ ขับเสมหะ ผู้ใหญ่ ใช้ 10-20 ผล รับประทาน เคี้ยว แล้วกลืนทั้งน้าและเนื้อ รับประทานบ่อยๆ จนกว่าอาการจะดีขึ้น  ใช้ลดน้าตาลในเลือด รักษาเบาหวาน ใช้มะแว้งต้นโตเต็มที่ 10-20 ผล รับประทานเป็นอาหารกับน้าพริก คุณค่าทางด้านอาหาร : ลูกมะแว้งต้น ใช้เป็นผักได้แต่นิยมน้อยกว่ามะแว้งเครือ ลูกมะแว้งต้นมีวิตามินเอ ค่อนข้างสูง 7. มะกรูด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC. ชื่อสามัญ : Leech lime, Mauritus papeda
  • 10. 10 วงศ์ : Rutaceae ชื่ออื่น : มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะขู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล มีหนามแหลมตามกิ่ง ก้าน ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบ เรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม มีต่อมน้ามันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็น ช่อตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็น รูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ามัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรส เปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด ส่วนที่ใช้ : ราก ใบ ผล ผิวจากผล สรรพคุณ : ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ ใบ - มีน้ามันหอมระเหย ผล, น้าคั้นจากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ทาให้ผมสะอาดผิวจากผล - ปรุงเป็นยาขับลมในลาไส้ แก้แน่น - เป็นยาบารุงหัวใจ วิธีและปริมาณที่ใช้ :  ใช้เป็นยาบารุงหัวใจ ขับลมในลาไส้ แก้แน่น แก้เสมหะ ฝานผิวมะกรูดสดเป็นชิ้นเล็กๆ 1 ช้อนแกง เติมการบูร หรือ พิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้าเดือด แช่ทิ้งไว้ดื่ม แต่น้ารับประทาน 1 ถึง 2 ครั้ง แต่ถ้ายังไม่ค่อยทุเลา จะรับประทานติดต่อกัน 2-3 ครั้งก็ได้  ใช้สระผมทาให้ผมสะอาดชุ่มชื้น เป็นเงางาม ดกดา ผมลื่นด้วย โดยผ่ามะกรูดเป็น 2 ชิ้น เมื่อสระผมเสร็จแล้ว เอามะกรูดสระซ้า ใช้มะกรูดยีไปบนผม น้ามะกรูดเป็นกรด จะทาให้ผมสะอาด แล้วล้างผมให้สมุนไพรออกไปให้หมด หรือใช้มะกรูดเผาไฟ นามาผ่าซีกใช้สระผม จะ รักษาชันนะตุ ทาให้ผมสะอาดเป็นมัน 8. มะดัน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Garcinia schomburgkiana Pierre. วงศ์ : Clusiaceae (Guttiferae)
  • 11. 11 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 7-10 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาลอมดา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 2.5 ซม. ยาว 9 ซม. ปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบ เรียบ แผ่นใบเรียบลื่น สีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 0.5-1 ศทซ ดอก ออกดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก 3-6 ดอก ตาม ซอกใบ มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกเพศผู้ดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ ค่อนข้างกลม กลีบ ดอกมี 4 กลีบ รูปรีแกมรูปไข่ ปลายกลีบดอกมน ดอกเพศผู้มีเกสรเพศผู้10-12 อัน ผล รูปรีปลายแหลม ผิว เรียบสีเขียว เป็นมันลื่น มีรสเปรี้ยว เมล็ดมี 3-4 เมล็ด ติดกัน ส่วนที่ใช้ : ใบ ราก ผล สรรพคุณ :  ใบและราก - เป็นยาดอกเปรี้ยวเค็ม และปรุงเป็นยาต้ม รับประทานแก้กระษัย แก้ระดูเสีย ขับฟอกโลหิต - เป็นยาระบายอ่อนๆ - เป็นยาสกัดเสมหะในลาคอดี  ผล - เป็นยาสกัดเสมหะในลาคอดี - เป็นอาหาร 9. มะขามป้ อม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus emblica L. ชื่อสามัญ : Emblic myrablan, Malacca tree วงศ์ : Euphorbiaceae ชื่ออื่น : กาทวด (ราชบุรี) กันโตด (เขมร-จันทบุรี) สันยาส่า มั่งลู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 10-12 เมตร เปลือกต้นสีเทาอมน้าตาล แตกเป็นร่องตามยาว กิ่งก้าน แข็ง เหนียว ใบ เป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปขอบขนาน กว้าง 1- 5 มม. ยาว 4-15 มม. ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบมนหรือเว้าเข้า ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว ดอก ออกเป็นช่อ เป็น กระจุกเล็กๆ ดอกสีเหลืองอ่อนออกเขียว กลีบดอกมี 5-6 กลีบ มีเกสรเพศผู้สั้นๆ 3-5 อัน ก้านดอกสั้น ผล รูปทรงกลม ขนาด 1.3-2 ซม. เป็นพูตื่นๆ 6 พู ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียวอมเหลือง พอแก่เป็นสีเหลืองออก น้าตาล เมล็ดรูปรี เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง
  • 12. 12 ส่วนที่ใช้ : น้าจากผล ผลโตเต็มที่ สรรพคุณ : น้าจากผล - แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ ผล - แก้ไอ ขับเสมหะ ทาให้ชุ่มคอ วิธีและปริมาณที่ใช้ : ผลโตเต็มที่ จานวนไม่จากัด รับประทานเป็นผลไม้ 10. มะนาว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle ชื่อสามัญ : Common lime วงศ์ : Rutaceae ชื่ออื่น : ส้มมะนาว มะลิว (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามแหลม เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาลปนเทา ใบ เป็นใบประกอบ ออกเรียงสลับ มีใบย่อยใบเดียว รูปไข่หรือรูปรียาว กว้าง 3-5 ซม. ยาว4-8 ซม. ปลายใบ แหลม โคนใบมนมีปีกแคบๆ ขอบใบหยัก แผ่นใบมีต่อมน้ามันกระจายอยู่ตามผิวใบ ดอก ออกเป็นช่อสั้น 5-7 ดอก หรือออกดอกเดี่ยวตามซอกใบ ที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบดอกมี 4-5 กลีบ หลุดร่วงง่าย ผล รูปทรงกลม ผิวเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียวเข้ม พอแก่เป็นสีเหลือง ข้างในแบ่งเป็นห้องแบบรัศมี มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มี 10-15 เมล็ด ส่วนที่ใช้ : น้ามะนาว (น้าคั้นจากผล) ราก ใบ ดอก ผล เมล็ด สรรพคุณ : น้ามะนาว - แก้โรคลักปิดลักเปิด (เลือดออกตามไรฟัน) ทาอาหาร ขับเสมหะ ฟอกโลหิต ทาให้ผิวนุ่มนวล แก้ซาง บารุงเสียง บารุงโลหิต ขับระดู แก้เล็บขบ แก้ขาลาย จิบแก้ไอ ดับกลิ่นเหล้า ฆ่าพยาธิในท้อง รักษา ผม ขับลม รักษาลมพิษ แก้ริดสีดวง แก้ระดูขาว แก้พิษยางน่อง แก้ไข้แก้ไข้กาฬ แก้ฝี แก้ปวด แก้อักเสบ ราก - กระทุ้งพิษไข้ถอนพิษสาแดง แก้สติหลงลืม แก้ไข้แก้ไข้กาฬ แก้ฝี แก้ปวด แก้อักเสบ ถอนพิษไข้ กลับไข้ซ้า ใบ - ฟอกโลหิต แก้ตับทรุด
  • 13. 13 ดอก - แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อและปวดท้อง แก้อาการคลื่นไส้ อาเจียน (เกิดจากธาตุไม่ปกติ ) แก้ไอ ขับ เสมหะ ผล - แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อและปวดท้อง ทาแก้ผิวแห้งตกสะเก็ด แก้สิวฝ้า แก้ส้นเท้าแตก แก้ไอ รักษา แผลจากแมลงมีพิษ เมล็ด - แก้พิษตานซาง แก้หายใจขัด แก้ไข้ขับเสมหะ แก้พิษฝีภายใน วิธีและปริมาณที่ใช้ :  ยาแก้ไอขับเสมหะ น้าในผลที่โตเต็มที่ น้ามะนาว 2-3 ช้อนแกง, เมล็ดมะนาว 10-20 เมล็ด นาน้ามะนาวเติมเกลือเล็กน้อย จิบ จะช่วยทาให้เสมหะถูกขับออก และเสียงดี ถ้าเป็นเมล็ดมะนาวนาไปคั่วให้เหลือง บดให้ละเอียด เติม พิมเสน 2-5 เกล็ด ชงน้าร้อนรับประทาน เป็นยาขับเสมหะ  ยาป้ องกันหรือแก้โรคเลือดออกตามไรฟัน (ลักปิดลักเปิด) ใช้น้าจากผลที่แก่จัดไม่จากัด เติมเกลือ น้าตาล น้าแข็ง ใช้เป็นเครื่องดื่ม หรือจะใส่ในอาหาร ก็ได้ผลเช่นกัน  ยาห้ามเลือด ใส่แผลสด ใช้น้าจากผล ครึ่งช้อนชา หรือ 1/4 ช้อนแกง แผลถูกมีดบาด เลือดไม่หยุด บีบน้ามะนาวลงไป 3-4 หยด เลือดจะหยุด 11. มะอึก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum stramonifolium Jacq. วงศ์ : Solanaceae ชื่ออื่น : มะเขือปู่ มะปู่ (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร ทุกส่วนมีขนละเอียดสีน้าตาลอ่อนปกคลุม ใบ เป็นใบ เดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่กว้าง กว้าง 15-25 ซม. ยาว 20-30 ซม. โคนใบเว้าหรือตัด ขอบใบหยักเว้าเป็นพู แผ่นใบสีเขียว มีขนทั้งสองด้าน ดอก ออกเป็นช่อกระจุกที่ซอกใบ ดอกสีขาว กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนเชื่อม ติดกัน ปลายแหลม เกสรเพศผู้สีเหลือง เป็นเส้นรวมเป็นยอดแหลม ผล รูปทรงกลม ขนาด 1.8-2 ซม. ผิวมี ขนยาวหนาแน่น ผลสุกสีเหลืองแกมน้าตาล เมล็ดแบน มีจานวนมาก ส่วนที่ใช้ : ผล ใบ ราก เมล็ด สรรพคุณ :
  • 14. 14 ผล - เป็นอาหาร กัดฟอกเสมหะ แก้ไอ ใบ - เป็นยาพอก แก้คัน ราก - แก้ปวด แก้ไข้พอกแก้คัน เมล็ด - แก้ปวดฟัน (โดยเผาสูดดมควันเข้าไป) 12. ลาโพงดอกขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Datura metel L. ชื่อสามัญ : Apple of Peru, Green Thorn Apple, Hindu Datura, Metel, Thorn Apple วงศ์ : Solanaceae ชื่ออื่น : มะเขือบ้า, มั่งโต๊ะโล๊ะ, ละอังกะ, เลี๊ยก ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 1-2 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม ใบ เป็นใบเดี่ยว ออก เรียงสลับ รูปไข่ โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบจักเป็นซี่ห่างกัน แผ่นใบสีเขียว ดอก ออกดอกเดี่ยว ตามซอกใบ ดอกสีขาวนวล กลีบเลี้ยงติดกันเป็นหลอดยาวครึ่งหนึ่งของความยาวดอก กลีบดอกโคนเชื่อม ติดกัน ปลายบานเป็นรูปแตร ผล รูปทรงค่อนข้างกลม สีเขียว ผิวเป็นตุ่มหนาม ผลแห้งแตกได้เมล็ดสี น้าตาลจานวนมาก ส่วนที่ใช้ : ใบแห้ง ดอกแห้ง ยอดอ่อน ช่อดอก สรรพคุณ : ยารักษาโรคหืด คลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบ (antispasmodic) anticholinergic activity 13. หนุมานประสานกาย
  • 15. 15 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Schefflera leucantha R. Vig. วงศ์ : Araliaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-4 เมตร แตกกิ่งก้านต่าใกล้พื้นดิน เปลือกต้นเรียบเป็นสีน้าตาล ใบ เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงสลับ มีใบย่อย 6-8 ใบ รูปรี กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. โคนใบ แหลม ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเป็นมัน ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกเล็กสี ขาวนวล ผล เป็นผลมีเนื้อ รูปทรงกลม ขนาดเล็ก ส่วนที่ใช้ : ใบสด สรรพคุณ : รักษาโรคหืด โรคแพ้อากาศ ขับเสมหะ  รักษาโรคหลอดลมอักเสบ  รักษาวัณโรคปอด แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด  ตาพอกแผลห้ามเลือด ห้ามเลือด วิธีและปริมาณที่ใช้ :  รักษาโรคหืด แพ้อากาศ ขับเสมหะ และโรคหลอดลมอักเสบ ใช้ใบสดเล็กๆ 9 ใบ ต้มกับน้า 3 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว รับประทานวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า-เย็น เป็นเวลา 49 วัน หืดควรจะหาย  ยาแก้อาเจียนเป็นเลือด ใช้ใบสด 12 ใบย่อย ตาคั้นน้า 2 ถ้วยตะไล รับประทานครั้งละ 1 ถ้วยตะไล ติดต่อกัน 5-7 วัน  ใช้รักษาวัณโรค ใช้เหมือนวิธีที่ 1 ติดต่อกัน 60 วัน แล้ว x-ray ดู ปอดจะหาย แล้วให้รับประทานต่อมาอีกระยะหนึ่ง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อ 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูล 3. จัดทาโครงร่างของผลงาน 4. ตรวจสอบผลงาน 5. ปรับปรุงและแก้ไข 6. นาเสนอผลงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. มีด 2. กระทะ 3. เครื่องปั่น งบประมาณ 150 บาท
  • 16. 16 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทาให้ผู้ที่สนใจเรื่องสมุนไพรได้ศึกษาต่อยอดความรู้ที่ได้ทาไป 2. ทาให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาและความรู้ของคนสมัยก่อน 3. มีพิษและผลข้างเคียงน้อยกว่ายาแผนใหม่ สถานที่ดาเนินการ บ้านของตนเอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรม) แหล่งอ้างอิง http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_08_12.htm https://sites.google.com/site/smunphirbanheamiprayochn/srrphkhun-smunphir-phun-ban