SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  91
อารยธรรมเมโสโป
เตเมีย
แหล่งอารยธรรมเมโส
โปเตเมีย
 อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 สมัยอาณาจักรซูเมอร์
 สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
 สมัยอาณาจักรอัสซีเรีย
 สมัยอาณาจักรบาบิโลนใหม่
ยุคสมัยของอารยธรรมเมโสโป
เตเมีย
อาณาจักร ช่วงเวลาของ
อาณาจักร
1. อาณาจักรซูเม
อร์
3200-2300 ปีก่อน
คริสต์ศักราช
2. อาณาจักรบาบิ
โลนเก่า
2000-1600 ปีก่อน
คริสต์ศักราช
3. จักรวรรดิอัส
ซีเรีย
1300-612 ปีก่อน
คริสต์สักราช
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 เมโสโปเตเมีย เป็นคำาในภาษา
กรีก หมายถึง ดินแดน
ระหว่างแม่นำ้า 2 สาย
 ตั้งอยู่บริเวณดินแดนระหว่าง
แม่นำ้าไทกริสและยูเฟรทีส
 เป็นดินแดนที่มีความอุดม
สมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก
และเลี้ยงสัตว์ ได้ชื่อว่า “ดินแดน
ที่ตั้งอารยธรรมเมโสโปเต
เมีย
ที่ตั้งอารยธรรมเมโสโปเต
เมีย
The Fertile
Crescent
The Fertile
Crescent
ที่ตั้งอารยธรรมเมโสโปเต
เมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 สภาพภูมิประเทศของเมโสโปเต
เมีย ไม่เอื้ออำานวยต่อการตั้ง
ถิ่นฐานมากนัก เพราะมีปริมาณ
นำ้าฝนน้อย อากาศร้อนจัด ขาด
หินที่เป็นวัสดุก่อสร้าง
 มักเกิดอุทกภัยจากภาวะฝน
ตกหนักในตอนเหนือ และการ
ละลายของหิมะในเทือกเขาซา
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 บริเวณดังกล่าวเป็นแหล่งของต้น
อินทผาลัมซึ่งให้ผลที่อุดมด้วยธาตุ
อาหารๆ ที่สำาคัญคือ คาร์โบไฮเดรต
ที่เป็นสารอาหารให้พลังงานแก่
ร่างกาย
 หนองบึงที่มีต้นกกซึ่งมีปลาดึงดูด
สัตว์ปีกนานาพันธุ์มาอาศัยและ
หากิน
 รวมทั้งดินตามฝั่งแม่นำ้าไทกริส-ยู
ต้นอินทผาลัม
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 นักวิชาการกล่าวว่า อาณาจักรซู
เมอร์ (Sumer) เป็นอู่
อารยธรรมที่มีความเก่าแก่กว่า
อียิปต์
 กำาเนิดเมื่อประมาณ 3500 ปีก่อน
คริสต์ศักราช เป็นจุดเริ่ม
ต้นของประวัติศาสตร์ดังคำาพูดที่
ว่า “History Begins
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ชาวซูเมเรียน (Sumerian) เป็น
ชนชาติแรกที่คิดประดิษฐ์ตัว
อักษรขึ้น ทำาให้เกิดการบันทึก
เรื่องราวต่างๆ เป็นลายลักษณ์
อักษร
 เป็นหลักฐานสำาคัญในการศึกษา
วิชาประวัติศาสตร์และการแบ่ง
เส้นเวลาระหว่าง “สมัยก่อน
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 แต่ก่อนนั้นชาวซูเมเรียนอาศัย
อยู่ตามบริเวณเนินเขาและจัดตั้ง
เป็นหมู่บ้าน รู้จักการเลี้ยงสัตว์
และเพาะปลูก ตลอดจนเครื่องมือ
เครื่องใช้ในการทำานา เช่น จอบ
และเสียม จนเกิดเป็น “การปฏิวัติ
”เกษตรกรรม
 ต่อมาชาวซูเมเรียนได้อพยพลง
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 เกิดการสร้างสังคมที่ซับซ้อนและ
มีสถาบันทางสังคมแบบใหม่
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยี
ใหม่กับสถาบันใหม่ๆ ยังก่อให้
เกิดความสัมพันธ์เชิงลูกโซ่และ
นำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ จน
เกิดการสร้าง “ ”อารยธรรม ขึ้น
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านการเกษตร
กรรม
 ชาวซูเมเรียนคิดค้นการ
ชลประทานและระบายนำ้าไปยัง
ที่ดินที่เพาะปลูก โดยเริ่มขุดคลอง
ส่งนำ้าขนาดเล็กเชื่อมต่อระบายนำ้า
ไปยังไร่นา
 มีการประดิษฐ์คันไถทำาด้วย
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านการเกษตร
กรรม
 นำาวัวมาเทียมคันไถ นับว่ามี
ความสำาคัญและเป็นครั้งแรกที่มี
การนำาแรงงานสัตว์มาใช้ทุ่นแรง
มนุษย์ ทำาให้การทำานาได้ผลอ
ย่างมาก
 ใน 2500 ปีก่อนคริสต์ศักราช
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านการเกษตร
กรรม
 ส่งผลให้ประชากรมีการกินดี
อยู่ดีและเพิ่มจำานวนมากขึ้น
 การขยายพื้นที่เพาะปลูกและการ
ขุดคูคลองส่งนำ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อ
เนื่อง ก่อให้เกิดการเพิ่มของ
ผลผลิตทางเกษตรกรรม จำานวน
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านสังคม
 สังคมเมืองของชาวซูเมเรียนเริ่ม
ขึ้นตั้งแต่ 3200 ปีก่อนคริสต์
ศักราช ต่อมาได้มีการจัดตั้งเป็น
นครรัฐ (city-state) จำานวน 12
นครรัฐ
 นอกกำาแพงเมืองเป็นที่ตั้งของไร่
นาซึ่งเป็นแหล่งอาหารของชาว
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านสังคม
ที่ดินส่วนใหญ่เป็นของกษัตริย์
นักบวช และชาวเมืองที่ มั่งคั่ง
 โดยมีชนชั้นแรงงานและทาส
เป็นแรงงานเพาะปลูก
 ผลผลิตส่วนใหญ่เป็นข้าว
บาร์เลย์และข้าวสาลีต้องยกให้แก่
วัง วัด หรือคหบดีเจ้าของที่ดิน
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านสังคม
 เพื่อให้การบริหารจัดการใช้
ที่ดินหรือการเช่าที่ดินมี
ประสิทธิภาพจึงจำาเป็นต้องมีการ
ทำาบัญชีที่เป็นลายลักษณ์อักษร
 เพื่อเป็นการบันทึกรายละเอียด
ต่างๆ ของจำานวนที่ดินที่ให้เช่า
ค่าเช่า ขนาดของฝูงสัตว์ เมล็ด
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านสังคม
 ความจำาเป็นดังกล่าว จึงทำาให้
ชาวซูเมเรียนคิดประดิษฐ์ตัว
อักษรขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก
เรียกว่า “ ”อักษรลิ่ม หรือ “ตัว
”เขียนรูปลิ่ม หรือ “อักษรคูนิ
”ฟอร์ม (cuneiform)
ซึ่งมาจากคำาว่า cuneus แปลว่า
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 อักษรคูนิฟอร์ม (cuneiform)
 อักษรลิ่มในระยะแรกมีลักษณะ
เป็นอักษรภาพ (pictograph)
โดยใช้ไม้ปลายแหลม (stylus)
ทำาจากต้นอ้อกดเป็นรูปภาพง่ายๆ
ลงบนดินเหนียวและนำาไปตาก
แห้งหรืออบด้วยความร้อน
 รูปปลาแทนความหมายของปลา
อักษรคูนิฟอร์ม
อักษรคูนิฟอร์ม
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 อักษรคูนิฟอร์ม (cuneiform)
 บางรูปก็สามารถใช้แทน
อากัปกิริยา เช่น เท้าแทนการเดิน
ภาพปากติดกับนำ้าหมายถึงการดื่ม
เป็นต้น
 ต่อมามีการเพิ่มสัญลักษณ์ต่างๆ
เพื่อใช้อธิบายคำาที่เป็นนามธรรม
และกลายเป็นตัวเขียนที่ใช้
พัฒนาการของอักษรลิ่มเริ่มจากการเป็นอักษร
ภาพง่ายๆ ใช้ไม้ปลายแหลมกดเป็นรูปภาพ ต่อ
มาระบบเขียนมีความซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้
สัญลักษณ์เรขาคณิตแทน
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 อักษรคูนิฟอร์ม (cuneiform)
 ตัวเขียนของชาวซูเมเรียนนิยม
ใช้การอย่างแพร่หลายในหมู่ชน
ชาติอื่นๆ เช่น ชาวบาบิโลน
(Babylonian) อัสซีเรีย
(Assyrian) ฮิตไตน์ (Hittie) และ
เปอร์เซีย (Persian)
 อักษรลิ่มยังถูกนำาไปบันทึก
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านศาสนา
 สังคมของซูเมเรียนต้องประสบ
กับภัยธรรมชาติ เช่น ภาวะนำ้า
ท่วมที่แม้จะมีการสร้างเขื่อนแต่ก็
ไม่สามารถป้องกันชีวิตผู้คนนับ
พันได้ รวมทั้งไร้ปราการ
ธรรมชาติ ที่จะขวางกั้นศัตรู ได้
สร้างความรู้สึกสิ้นหวังและยอม
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พัฒนาการทางด้านศาสนา
 ซูเมเรียนมองว่า “มนุษย์เกิดมา
”เพื่อรับใช้พระเจ้าเท่านั้น
 ชาวซูเมเรียนทุ่มเทการสร้าง
สถาปัตยกรรมขนาดใหญ่ มี
ลักษณะคล้ายภูเขาซึ่งเป็นสิ่งที่มี
ขนาดสูงใหญ่ที่สุดตามธรรมชาติ
เรียกว่า “ ”ซิกกูแรต (Ziggurat)
ซิกกูแรต
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ซิกกูแรต (Ziggurat)
 เป็นเทวสถานและบูชาพระเจ้า
หรือเทพประจำาเมือง
 เพื่อไม่ให้พระองค์ทรงขุ่นเคือง
และลงทัณฑ์มนุษย์ด้วยภัยต่างๆ
 เป็นที่สอนหนังสือให้แก่นักบวชรุ่น
เยาว์เพื่อให้เกิดความรู้ด้านต่างๆ และ
ให้อ่านออกเขียนได้ซึ่งจำาเป็นสำาหรับ
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ซิกกูแรต (Ziggurat)
 นับว่าเป็นโรงเรียนที่มีอายุเก่า
แก่ที่สุดในโลก
 ซิกกูแรตถือเป็นสิ่งก่อสร้างที่
สำาคัญที่สุด ตั้งอยู่ ณ
ศูนย์กลางของเมือง
 สร้างด้วยอิฐที่ทำาจากดินเหนียว
ตากแห้ง ซึ่งเป็นวัสดุที่มีอยู่ทั่วไป
ซิกกูแรต
ซิกกูแรต
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ซิกกูแรต (Ziggurat)
 ปัจจุบันซิกกูแรตได้พังทลายไป
จนเหลือเพียงเนินอิฐและเนินดิน
เท่านั้น
 ภายในซิกกูแรตก็วางรูปสลัก
ขนาดเล็กจำานวนมาก เป็นรูป
คนกำาลังสวดมนต์ต่อพระเจ้า
(votive figures) แสดงความ
หลักฐานทางโบราณคดี
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
หลักฐานทางโบราณคดี
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
หลักฐานทางโบราณคดี
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
รูปสลักของซูเมเรียน แสดงอาการสวดมนต์
ของซูเมเรียนซึ่งแต่ละรูปสลัก มีดวงตา
เบิกกว้างเพื่อจ้องมองพระเจ้าให้ทรงเมตตา
มนุษย์
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ด้านวรรณกรรม
 เรื่องราวการผจญภัยของกิลกา
เมซ ประมุขและวีรบุรุษแห่งอูรุก
(Uruk) ซึ่งมีชีวิตอยู่ในราว 2700
ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาเรื่อง
ราวดังกล่าวได้ตกทอดไปยังพวก
บาบิโลนและเป็นที่นิยมแพร่หลาย
ในชื่อ “มหากาพย์
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ด้านวรรณกรรม
 กิลกาเมซพยายามแสวงหาชีวิต
อมตะ แต่ล้มเหลวและไม่สามารถ
เอาชนะชะตาชีวิตของตนได้
“เพราะความตายกับมนุษย์เป็นสิ่ง
”คู่กัน
 ในกิลกาเมซยังปรากฏเรื่องราว
เกี่ยวกับนำ้าท่วมครั้งใหญ่ดังที่
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ด้านเครื่องมือเครื่องใช้และ
เทคโนโลยี
 ชาวซูเมเรียนประดิษฐ์จานหมุน
เพื่อใช้ในการปั้นภาชนะดินเผา
(potter’s wheel) ถือว่าเป็น
เครื่องกลชนิดแรกของโลก
 สร้างวงล้อที่ประกบติดกับเพลา
เพื่อใช้กับเกวียนและ รถศึก
ภาพประดับด้วยเปลือกหอยและหินสีชนิด
ต่างๆ ประกอบด้วยทหารและ รถศึกซึ่งเป็น
หลักฐานว่าได้มีการประดิษฐ์วงล้อขึ้นครั้งแรก
ในเมโสโปเตเมีย
(Scenes of War ขนาด 8” X 9” ประมาณ
2700 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ด้านเครื่องมือเครื่องใช้และ
เทคโนโลยี
 รถศึกทำาให้นักรบบนรถศึก
สามารถใช้อาวุธได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
 ชาวซูเมเรียนยังมีความสามารถ
เชิงคณิตศาสตร์ รู้จักระบบ
ฐานเลข 60 (sexagismal
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ด้านเครื่องมือเครื่องใช้และ
เทคโนโลยี
 การคำานวณหาพื้นที่ของวงกลม
¶r²
 การหาระยะทาง
 การคำานวณ การคิดมาตราชั่ง
ตวงวัด
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ด้านเครื่องมือเครื่องใช้และ
เทคโนโลยี
 ชาวซูเมเรียนยังสนใจและจด
บันทึกการโคจรของ ดวง
อาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวนพ
เคราะห์ โดยเชื่อว่าการโคจรดัง
กล่าวเกิดจากการกระทำาของ
พระเจ้าและมีอิทธิพลต่อมนุษย์
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ด้านเครื่องมือเครื่องใช้และ
เทคโนโลยี
 อันเป็นที่มาของวิชาโหราศาสตร์
รวมทั้งดาราศาสตร์ ในเวลาต่อ
มา
 แต่ชาวซูเมเรียนให้ความสนใจ
อยู่ในมิติของความสัมพันธ์
ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์เท่านั้น
สมัยอาณาจักรซูเมเรียน
(3200-2300 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ในต้นศตวรรษที่ 24 ก่อนคริสต์
ศักราช อาณาจักร ซูเม
เรียนได้ถูกพระเจ้าซาร์กอนที่ 1
(Sargon I 2370-2315 ปีก่อน
คริสต์ศักราช) เผ่าซีไมต์
(Semite) แห่ง
อาณาจักรอัคคาเดียน
(Akkadian) ทางตอนเหนือ
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 หลังจากพวกซูเมเรียนสิ้นอำานาจ
ดินแดนเมโสโปเตเมียเข้าสู่ยุค
แห่งการเปลี่ยนผ่าน
 ความรุ่งเรืองตอนใต้ได้ย้ายไป
ยังอัคคัด (Akkad) ซึ่งอยู่ตอน
เหนือ โดยมีกรุงบาบิโลนเป็น
ศูนย์กลาง
 ใช้ภาษาในตระกูลเซเมติก
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พวกอะมอไรต์ได้เข้ามาตั้งถิ่น
ฐานในอัคคัด เมื่อราว 2000 ปี
ก่อนคริสต์ศักราช
 อีกสองศตวรรษครึ่งต่อมาก็
สามารถพิชิตดินแดนของพวกซู
เมเรียนได้ทั้งหมด
 พวกอะมอไรต์มีศูนย์อำานาจ
ปกครองที่กรุงบาบิโลน จึงถูก
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
 การประมวลกฎหมายเป็นลาย
ลักษณ์อักษร ในสมัย พระเจ้าฮัม
มูราบี (Hammurabi 1792-1745
ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี (The
Code of Hammurabi)
เทพเจ้ามาร์ดุก (Marduk) กำาลังประทาน
กฎหมายแก่พระเจ้าฮัมมูราบี
• The Code of Hammurabi is a well-
preserved Babylonian law code of
ancient Iraq, formerly Mesopotamia,
dating back to about 1772 BC. It is
one of the oldest deciphered writings
of significant length in the world. The
sixth Babylonian king, Hammurabi,
enacted the code, and partial copies
exist on a human-sized
stone stele and various clay tablets.
The Code consists of 282 laws, with
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
 กฎหมายให้อำานาจหน้าที่ในการ
ลงโทษผู้กระทำาความผิดแก่
ชนชั้นปกครองยิ่งขึ้น
 ประมวลกฎหมายฮัมมูราบียึด
หลัก “ ”ตาต่อตา ฟันต่อฟัน (an
eye for an eye, a tooth for a
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
 จารึกในศิลาสีดำาทรงกระบอกสูง
2.40 เมตร บนยอดหัวเสาสลักรูป
เทพเจ้ามาร์ดุก (Marduk) กำาลัง
ประทานกฎหมายแก่พระเจ้าฮัมมู
ราบี
 ประมวลกฎหมายมีจำานวนกว่า
“ ”ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี ถูกจารึกลงใน
ศิลาสีดำาทรงกระบอก
บนยอดหัวเสาสลักรูปเทพเจ้ามาร์ดุก (Marduk)
กำาลังประทานกฎหมายแก่พระเจ้าฮัมมูราบี
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
 ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี
เป็นการรวบรวมกฎหมายใหม่ ที่
เรียกว่า “ ”มิซารัม (misharum)
แปลว่า “ ”การทำาให้ถูกต้อง
 วัตถุประสงค์ของการออก
กฎหมาย เพื่อแก้ไขความ อ
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
 ดังปรากฏดังนี้ “ถ้าเจ้าหน้าที่
ทำาลายลูกตาของสมาชิก ชนชั้น
ขุนนาง เขาเหล่านั้นสามารถ
ทำาลายลูกตาของเจ้าหน้าที่ได้ …
ถ้าเขา (เจ้าหน้าที่) ทำาลายลูกตา
ของ สามัญชนหรือทำาให้กระดูก
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
 เป็นกฎหมายฉบับแรกที่คิดถึง
สิทธิสตรีและให้สิทธิสตรีในการ
ฟ้องร้องหย่าสามีได้ ดังข้อความ
ต่อไปนี้
หากชายผู้เป็นสามีมอบที่ดิน ไร่
สวน รวมทั้งบ้านหรือสินค้าแก่
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
… หากชายใดบังคับฝืนใจคู่
หมายของชายอื่น ซึ่งนางนั้นไม่
เคยเสียตัวแก่ชายใดและยังคง
อาศัยอยู่ที่นิวาสถานของบิดา และ
เขาได้ซบอกของนางและถูกจับได้
ชายผู้นั้นจะถูกลงโทษถึงแก่ชีวิต
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
… หากชายใดกล่าวหาภรรยา
ของเขา แต่นางผู้นั้นไม่เคยถูกจับ
ได้ว่าได้หลับนอนกับชายอื่น นาง
นั้นสามารถกล่าวคำาสัตย์ต่อ
พระเจ้า และกลับคืนสู่ครอบครัว
ของนาง
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
… หากนางใดเกลียดชังสามี
ของตน และกล่าวว่า “ท่านไม่ได้
”ครอบครองตัวข้าพเจ้าอีกต่อไป
สภาของเมืองจะต้องไต่สวนและ
ถ้านางประพฤติชอบและไม่มีข้อ
ตำาหนิ แต่สามีกลับเป็นผู้ประพฤติมิ
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
 อาณาจักรบาบิโลนมีลักษณะเป็น
“ ”รัฐสวัสดิการ ที่รัฐดูแล
พลเมืองอย่างใกล้ชิด
 ชดใช้ทรัพย์สินแก่เจ้าทรัพย์หาก
จับคนร้ายไม่ได้
 ควบคุมเศรษฐกิจมิให้พ่อค้าเอา
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ผลงานที่สำาคัญของ
อาณาจักรบาบิโลน
 ห้ามคิดดอกเบี้ยเกินร้อยละ 20
 ส่วนลูกหนี้ที่ไม่มีเงินจ่ายคืนมี
โทษเป็นทาสไม่เกิน 3 ปี
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ดังนั้น แนวคิดที่จะให้ความเป็น
ธรรมแก่ผู้คนในสังคมในประมวล
กฎหมายฮัมมูราบีได้เป็นรากฐาน
ของเจตนารมณ์ของกฎหมายใน
ประเทศต่างๆ ในปัจจุบัน
 มาตราหลายมาตราโดยเฉพาะที่
เกี่ยวกับครอบครัว ก็เป็น
ที่มาของกฎหมายอิสลามที่ใช้กัน
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ความเสื่อมของอาณาจักรบา
บิโลนเก่า
 อาณาจักรบาบิโลนเริ่มอ่อนแอ
ลงเพราะนักบวชกลับมา มี
อิทธิพลอีกครั้ง
 ถูกพวกฮิตไตต์ซึ่งเป็นชนเผ่าอิน
โดยูโรเปียนจากตอนเหนือเข้า
ปล้นสะดมเมื่อ 1595 ปีก่อนคริสต์
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ความเสื่อมของอาณาจักรบาบิ
โลนเก่า
 พวกฮิตไตต์เป็นนักรบใช้อาวุธ
ทำาด้วยเหล็ก (พวกฮิตไตต์เป็นชน
ชาติแรกๆ ที่จัดทำาโรงงานผลิต
อาวุธเหล็กก่อนที่จะใช้กันอย่าง
แพร่หลายใน 1200 ปีก่อนคริสต์
ศักราช)
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ความเสื่อมของอาณาจักรบาบิ
โลนเก่า
 ปล่อยให้พวกคัสไซต์ (Kassite)
จากเอเชียกลาง เข้ายึด
ครองดินแดน
 “ ”เมโสโปเตเมียก็เข้าสู่ ยุคมืด
เกือบ 3ศตวรรษ
สมัยอาณาจักรบาบิโลนเก่า
(2000-1600 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ความเสื่อมของอาณาจักรบาบิ
โลนเก่า
จนกระทั่งพวกอัสซีเรีย เข้า
รุกรานเมื่อประมาณ 1300 ปีก่อน
คริสต์ศักราช และค่อยๆ แผ่
อำานาจไปทั่วดินแดน เมโสโปเต
เมีย
 ต่อมามีการจัดตั้งอาณาจักรบาบิ
สมัยจักรวรรดิอัสซีเรีย (1300-
612 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ใน 671 ปีก่อนคริสต์ศักราชพวก
อัสซีเรียสามารถ ยึดครอง
ดินแดนทั้งหมดของเมโสโปเตเมีย
รวมทั้งอียิปต์ตอนเหนือไว้ได้
 ทำาให้อัสซีเรียกลายเป็นเจ้าแห่ง
ดินแดนวงพระจันทร์เสี้ยวไพบูลย์
(Fertile Crescent) ที่ครอบคลุม
พื้นที่ตั้งแต่อ่าวเปอร์เซียจนถึงริม
ดินแดนพระจันทร์เสี้ยว
อันอุดมสมบูรณ์
สมัยจักรวรรดิอัสซีเรีย (1300-
612 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 มีศูนย์กลางการปกครอง ณ
เมืองนิเนเวห์ (Nineveh)
 มีความเชื่อว่ากษัตริย์ของตนเป็น
สมมติเทวาหรือผู้แทนของ
พระเจ้า ซึ่งทรงเกียรติและมีศักดิ์
สูงกว่ากษัตริย์ของ ซูเมเรียน
 พวกอัสซีเรียนิยมสร้างวังแทน
วัดเพื่อเป็นที่ประทับและเป็น
สมัยจักรวรรดิอัสซีเรีย (1300-
612 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ภายในวังตกแต่งด้วยภาพ
ประติมากรรมนูนตำ่า (bas
relief) ซึ่งเป็นงานศิลป์ที่สรรค์
สร้างขึ้นเพื่อเชิดชูเกียรติกษัตริย์
ในฐานะนักรบและนักล่า
 ประติมากรรมมีความละเอียด
อ่อน สมจริง
 มักทำาเป็นรูปสิงโตขณะถูกล่า
ประติมากรรมนูนตำ่าสมัยอัสซีเรียแสดงถึง
ความเข้มแข็งของกษัตริย์
ประติมากรรมนูนตำ่าสมัยอัสซีเรีย
มักแสดงถึงความเข้มแข็ง
สมัยจักรวรรดิอัสซีเรีย (1300-
612 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ศิลปวัฒนธรรมของอัสซีเรียเจริญ
ถึงขีดสูงสุดในสมัย พระเจ้าอัส
ซูร์บานิปาล (Ashurbanipal 668-
629 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พระองค์ทรงเก็บสะสมผลงาน
เขียนอักษรลิ่ม ซึ่งเป็นมรดกจากซู
เมอร์และบาบิโลนเก่าเป็นจำานวน
ถึง 22,000 แผ่นไว้ในพระราชวัง
สมัยอาณาจักรคาลเดียนหรือบา
บิโลนใหม่
(612-539 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ในปี 612 ก่อนคริสต์ศักราช
ราชวงศ์ใหม่แห่งบาบิโลนหรือพวก
คาลเดียน (Chaldean) ได้ร่วมมือ
กับศัตรูทาง ภาคตะวันออก
โจมตีและทำาลายนครนิเนเวห์ และ
ยึดครองได้
 จัดตั้งอาณาจักรบาบิโลนใหม่
 มีกษัตริย์องค์สำาคัญ ได้แก่ พระเจ้า
สมัยอาณาจักรคาลเดียนหรือบา
บิโลนใหม่
(612-539 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 มีการสร้างและขยายเมืองบาบิ
โลนจนใหญ่โตและมีกำาแพงขนาด
ใหญ่ล้อมรอบ
 บนกำาแพงเป็นที่ตั้งของบ้านเรือน
หลังเล็กๆ จำานวนมาก
 พระราชวังสร้างหลายชั้น แต่ละ
ชั้นมีระเบียงซึ่งปลูก ต้นเฟิร์น
และต้นไม้นานาพันธุ์ เป็นเสมือน
สวนลอยแห่งบาบิโลน
สมัยอาณาจักรคาลเดียนหรือบา
บิโลนใหม่
(612-539 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 แสดงให้เห็นถึงความสามารถใน
การชลประทานและการส่งนำ้าไปยัง
ครัวเรือน
 ความโดดเด่นของสวนทำาให้ชาว
กรีกยกย่องสวนลอยแห่ง บาบิโลน
ว่าเป็น “หนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์
”ของโลก
 นอกจากนี้ยังมีการสร้างซิกูแรต
สวนลอยแห่งบาบิโลน “หนึ่งในเจ็ดสิ่ง
”มหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ
สวนลอยแห่งบาบิโลน “หนึ่งในเจ็ดสิ่ง
”มหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ
ภาพจำาลองสวนลอยแห่งบาบิโลน
ภาพวาดกรุงบาบิโลน
สมัยอาณาจักรคาลเดียนหรือบา
บิโลนใหม่
(612-539 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 พวกบาบิโลนใหม่ยังสนใจด้าน
ดาราศาสตร์
 มีการแบ่งสัปดาห์ออกเป็น 7 วัน
วันละ 12 คาบ คาบละ
120 นาที
 สามารถพยากรณ์สุริยุปราคาและ
การโคจรของดวงอาทิตย์ในรอบปี
ได้อย่างถูกต้อง
สมัยอาณาจักรคาลเดียนหรือบา
บิโลนใหม่
(612-539 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 ใน 539 ปีก่อนคริสต์ศักราช
อาณาจักรบาบิโลนใหม่ถูกกองทัพ
ของพระเจ้าไซรัสมหาราช (Cyrus
the Great 559-530 ปีก่อน
คริสต์ศักราช) แห่งเปอร์เซียบุกเข้า
ยึดครอง
 โดยพวกนักบวชซึ่งเชื่อในคำา
พยากรณ์เป็นผู้เปิดประตูเมืองให้

Contenu connexe

Tendances

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยsawed kodnara
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียtimtubtimmm
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1วีระยศ เพชรภักดี
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510Suphatsara Amornluk
 

Tendances (20)

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1