SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
เรื่องการสร้างความสนใจใน
การเรียนรู้
เทคนิคการสร้างความสนใจในการเรียนรู้
1. ครูต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ (Understand learning
process)
สิ่งที่ครูต้องรู้และเข้าใจเป็นอันดับแรก ได้แก่ การเรียนรู้ของ
สมอง การทางานของสมอง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของสมอง
ตัวการที่ทาให้สมองสามารถเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ในธนาคารความจา
(Memory bank) และตัวการที่ทาให้สมองสามารถเรียกข้อมูลเหล่านั้น
ออกมาใช้ได้
2. ครูต้องรู้ความเป็นมาของผู้เรียน (Know your students)
การทาความรู้จักกับนักศึกษาในห้องที่ง่ายและสะดวกที่สุดก็คือ
เมื่อเริ่มต้นภาคเรียน ให้ใช้แบบสอบถามข้อมูลโดยให้นักศึกษาเขียนสิ่งที่
ผู้สอนต้องการจะรู้ในเอกสารนั้น ตัวอย่างเช่น
- ชื่อ นามสกุล เบอร์โทรศัพท์ ที่อยู่ตามอีเมล์ (e-mail
address)
- รายวิชาในกลุ่มนาฏศิลป์ที่เคยเรียนแล้ว รายวิชาที่กาลังเรียน
ในภาคเรียนนี้ และรายวิชาที่นักศึกษาคิดว่าจะเลือกเรียนในภาคเรียน
ต่อไป
- ความรู้ด้านนาฏศิลป์ (หมายถึงมีความรู้มากน้อยเพียงใด)
- การบริหารเวลาและการใช้ความพยายามในการเรียน (เช่น รู้จักจัด
ตารางการเรียนของตนเองและตั้งใจเรียนอย่างเต็มที่ หรือไม่รู้จักวิธีจัด
ตารางเรียนและเรียนเพียงเพื่อให้เกรดผ่านก็พอแล้ว)
3. ครูต้องรู้ว่าผู้เรียนสนใจในสิ่งใด (Know what your students’ care
about)
การที่ผู้สอนสามารถรู้ได้ว่า นักเรียนมีความชอบหรือให้ความ
สนใจต่อรายวิชาต่าง ๆ ในแง่มุมใด? และด้วยเหตุผลใด? เป็นสิ่งที่ท้า
ทายการสอนอย่างหนึ่ง เนื่องจากผู้เรียนมีความคิด ความคาดหวัง
อารมณ์ และความรู้สึกที่แตกต่างกันไปตามประสบการณ์ในอดีตของแต่
ละคน ดังนั้น ในสัปดาห์แรกที่เข้าสอน ผู้สอนอาจบอกให้นักเรียน
เขียนสิ่งที่ตนให้ความสนใจเกี่ยวกับรายวิชาที่กาลังเรียนพร้อมกับบอก
เหตุผลประกอบ
4. ครูควรรู้จักชื่อและประสบการณ์ของนักเรียนทุกคน (Know your
students by name and their experiences)
ผู้สอนที่จาชื่อของนักเรียนได้จะช่วยให้นักเรียนรู้สึกว่าตนมี
ความสาคัญและได้รับการยอมรับ ดังนั้น ในชั่วโมงแรกที่เข้าสอน ผู้สอน
สามารถทาความรู้จักกับชื่อของนักเรียน โดยให้นักเรียนแนะนาตนเอง
และศึกษาประสบการณ์ของนักเรียนจากแบบสอบถามตามที่กล่าวไปแล้ว
ในข้อ ๒ อย่างไรก็ตาม การจดจาชื่อของนักเรียนให้ได้ครบทุกคนอาจ
เป็นเรื่องยากสาหรับผู้สอนที่ต้องสอนนักเรียนจานวนมากและมีหลายกลุ่ม
ดังนั้น จึงควรหมั่นเรียกชื่อของนักเรียนบ่อย ๆ และทุกครั้งที่มีโอกาส เช่น
เวลาให้ตอบคาถามหรือให้ทากิจกรรมในชั้นเรียน หรือเวลาตรวจงานก็ควร
เหลือบตาดูชื่อของนักเรียนด้วย
๕. ครูควรแสดงให้นักเรียนเห็นว่าครูมีความใส่ใจกับความสาเร็จของ
พวกเขา (Show students you care about their success)
การแสดงความใส่ใจต่อความสาเร็จของนักเรียนสามารถทาได้
หลายวิธี ตัวอย่างเช่น
- บอกให้นักเรียนรู้ว่า ครูต้องการให้พวกเขาบรรลุผลสาเร็จใน
การเรียนที่น่าพอใจและต้องการให้นาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ
และการดาเนินชีวิต
- บอกให้นักเรียนรู้ว่า ครูจะอยู่กับพวกเขาตลอดเวลาในฐานะผู้
อานวยความสะดวก (Facilitator) และจะสนับสนุนให้นักเรียนได้
ติดต่อกับโรงเรียนบ้างเป็นครั้งคราว
- บอกให้นักเรียนรู้ว่า การขโมยหรือการคัดลอกงานของคนอื่นเป็นสิ่ง
ที่ผิด และจะมีผลกระทบต่อความสาเร็จในการเรียนด้วย
- หมั่นเตือนนักเรียนให้ตระหนักถึงเป้าหมายของการศึกษา
(Educational goal) ให้รู้จักยุทธวิธีต่าง ๆ ในการประเมินผล (Evaluation
strategies) ให้เข้าใจผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Learning outcomes) รวมทั้ง
วิธีการประเมินผลเป็นรายวิชา (Assessment of a course)
- กระตุ้นให้นักเรียนรู้จักตั้งคาถามเพื่อจะได้เข้าใจรายวิชาต่าง ๆ ได้
ลึกซึ้งมากขึ้น
๖. ครูควรเตือนนักเรียนให้ตระหนักถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Remind
students of life- long learning)
การเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่งต่อการทางาน
ในศตวรรษที่ ๒๑ การเรียนรู้ตลอดชีวิต หมายถึง การประยุกต์ความรู้
ความเข้าใจ และทักษะต่าง ๆ ที่นักเรียนได้รับจากประสบการณ์การ
เรียนรู้ในชั้นเรียน ไปใช้กับการทางานและการดารงชีวิตให้มากที่สุด
เท่าที่จะมากได้ ตัวอย่างเช่น ความสามารถเกี่ยวกับ การคิดริเริ่ม การ
ปรับตัว การใช้เทคโนโลยี การบริหารเวลา ฯลฯ
7. ครูต้องเป็นนักเล่านิทาน (Be a storyteller)
นิทาน หมายถึง เรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาหรือมีผู้แต่ง ขึ้น
เพื่อต้องการสอนคนในการดารงชีวิต และเพื่อความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน
ผู้สอนที่เป็นนักเล่านิทานจะสามารถนาเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริงใน
การทางานและการดารงชีวิตมาเล่าให้นักศึกษาฟังเพื่อเป็นประสบการณ์
ได้อย่างดี เรื่องราวบางอย่างอาจนามาจากหนังสือวรรณคดีก็ได้
อย่างเช่น พระอภัยมณี สามก๊ก เป็นต้น
8. ครูต้องนานักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์
(Engage students in class activities to promote creativity) ตัวอย่าง
กิจกรรมในชั้นเรียน เช่น
๑. ให้นักเรียนทาเอกสารรายงานตามหัวข้อที่ผู้สอนกาหนดให้
๒. ให้นักเรียนฝึกทารายกรณี (Case) โดยผู้สอนนาภาพ
เหตุการณ์ที่จาลองจากชีวิตจริงมาให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์ เพื่อหาแนว
ทางแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด โดยให้สมมติว่า นักเรียนเป็นบุคคลในภาพ
เหตุการณ์นั้น
๓. ให้ทาโครงงาน (Project) การสอนแบบโครงงานเป็นการ
เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของตน
อย่างลุ่มลึก โดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ปัญหา
ผู้เรียนจะต้องลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคาตอบด้วยตนเอง ทาให้ผู้เรียนมี
ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้ ส่วนใหญ่ผู้สอนจะกาหนดให้ทา
โครงงานในช่วงปลายภาคเรียน โดยให้นักเรียนรวมกลุ่มกันทางาน
9. ครูควรส่งเสริมให้นักเรียนตั้งคาถามและมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
(Encourage students to ask questions and participate) ตัวอย่างเช่น
๑. สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่สนุกสนาน เป็นกันเอง และ
น่าสนใจ
๒. กระตุ้นนักเรียนให้ตั้งคาถาม และให้มีส่วนร่วมในการ
ติดต่อสื่อสารอย่างเปิดเผยกับผู้สอนและเพื่อนร่วมห้อง
๓. บอกนักเรียนให้ทราบถึงผลการวิจัยว่า การมีส่วนร่วมใน
การทากิจกรรมในชั้นเรียนมีความสัมพันธ์อย่างสูงกับความสาเร็จในการ
เรียนรู้
๔. เตือนนักเรียนให้ระลึกไว้ว่า การวิจารณ์และการให้ผล
ย้อนกลับทางลบ (Negative feedback) อย่างสร้างสรรค์ จะช่วยสร้าง
ความมั่นใจและสร้างอุปนิสัยที่ดี
๕. บอกนักเรียนให้รู้ว่า การทาสิ่งต่าง ๆ ในชั้นเรียนผิดพลาด
ยังดีเสียกว่าการทาสิ่งผิดพลาดในโลกของความเป็นจริง
๖. เตือนนักเรียนให้รู้ว่า การวิจารณ์และการให้ผลย้อนกลับทาง
ลบสามารถนามาใช้เพื่อปรับปรุงผลลัพธ์ของการเรียนรู้ให้ดีขึ้นได้
๑๐. ครูควรยอมรับข้อคิดเห็นและคาวิจารณ์ของนักเรียน (Respect
students' opinions and comments)
เด็ก ๆ ต้องการผู้ใหญ่ที่เป็นบุคคลตัวอย่าง และต้องการให้
ผู้ใหญ่แสดงความสนใจและเห็นคุณค่าในความคิดของพวกเขา หาก
ผู้สอนต้องการสนับสนุนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีประสบการณ์ในการ
เรียนรู้ ก็ควรยอมรับข้อคิดเห็นและคาวิจารณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เรียนการสอน ถ้าผู้เรียนคนใดเสนอข้อคิดเห็นที่ผู้สอนคิดว่ายังไม่
ถูกต้อง ก็ควรจะตั้งคาถามใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสคิดทบทวน
คาตอบอีกครั้ง
11. ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดี (Be a role model)
ผู้สอนทุกคนย่อมคาดหวังที่จะเห็นผู้เรียนเป็นทั้งคนดีและคน
เก่ง ในทานองเดียวกัน ผู้เรียนทุกคนก็คาดหวังที่จะเห็นความเชี่ยวชาญ
และการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมของผู้สอน ผู้สอนจึงต้องเป็นตัว
แบบที่ดีของผู้เรียนในด้านมาตรฐานของความรู้ และความประพฤติที่
ควรแก่การนามาเป็นแบบอย่างได้ ตัวอย่างเช่น
- ด้านความรู้ ผู้สอนต้องรู้จักค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ หรือนา
ผลจากการวิจัยมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
- ด้านคุณลักษณะ ต้องเป็นคนตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ
มีการวางแผนการสอน และเตรียมกิจกรรมต่าง ๆ ล่วงหน้า
- ถ้าผู้สอนแสดงให้ผู้เรียนเห็นถึงลักษณะต่าง ๆ ดังที่กล่าวมานี้
ผู้เรียนก็จะมีลักษณะเช่นเดียวกันเมื่อสาเร็จการศึกษาไปแล้ว
12. ครูต้องประเมินผลการเรียนรู้แบบลึก (Assess on deep learning)
การประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียน
การสอน เป็นส่วนที่ช่วยให้ผู้สอนรู้ว่า ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนอยู่
ในระดับตื้น ๆ คือ เพียงแค่จาได้ ที่เรียกว่า รู้แบบผิวเผิน (Surface
learning) หรือมีผลลัพธ์การเรียนรู้ในระดับสูงสุด คือ รู้แบบลึกซึ้ง
(Deep learning) ถึงขั้นที่สามารถนาไปใช้ในการดารงชีวิตและการ
ประกอบอาชีพให้ประสบความสาเร็จได้
การเรียนรู้แบบลึกจะเกิดขึ้นเมื่อ
- นักเรียนสามารถทาความเข้าใจกับเนื้อหาสาระใน
รายวิชาต่าง ๆ ด้วยความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
- นักเรียนเกิดแรงจูงใจภายในที่จะเรียนรู้เนื้อหาสาระใน
รายวิชานั้น ๆ ในระดับที่สูงขึ้น
- นักเรียนสามารถมองเห็นเนื้อหาสาระของรายวิชาใน
ภาพรวมได้
- นักเรียนสามารถมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างรายวิชา
ที่เรียนกับรายวิชาอื่น ๆ รวมทั้งความสัมพันธ์กับเรื่องราวต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิต ตลอดจนอธิบายถึงเหตุผลของ
ความสัมพันธ์หรือความเกี่ยวข้องนั้นได้
ผู้จัดทา
นางสาวกานต์พิชชา นอระเทศ
รหัส 5801602108 รุ่น 2 กลุ่ม 4

Contenu connexe

Tendances

4 MAT Leaning System
4 MAT Leaning System4 MAT Leaning System
4 MAT Leaning SystemPete Pitch
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)นพพร ตนสารี
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 

Tendances (19)

4 MAT Leaning System
4 MAT Leaning System4 MAT Leaning System
4 MAT Leaning System
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
learnning
learnninglearnning
learnning
 

Similaire à การสร้างความสนใจในการเรียนรู้

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานmansupotyrc
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่ายaom08
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่ายaom08
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์kornvipa
 
ใบงานที่ 3 duo
ใบงานที่ 3 duoใบงานที่ 3 duo
ใบงานที่ 3 duoChayanit Nontathum
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Anny Hotelier
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 

Similaire à การสร้างความสนใจในการเรียนรู้ (20)

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ใบงาน 3
ใบงาน 3ใบงาน 3
ใบงาน 3
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ใบงานที่ 3 duo
ใบงานที่ 3 duoใบงานที่ 3 duo
ใบงานที่ 3 duo
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 

การสร้างความสนใจในการเรียนรู้

  • 2. เทคนิคการสร้างความสนใจในการเรียนรู้ 1. ครูต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ (Understand learning process) สิ่งที่ครูต้องรู้และเข้าใจเป็นอันดับแรก ได้แก่ การเรียนรู้ของ สมอง การทางานของสมอง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของสมอง ตัวการที่ทาให้สมองสามารถเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ในธนาคารความจา (Memory bank) และตัวการที่ทาให้สมองสามารถเรียกข้อมูลเหล่านั้น ออกมาใช้ได้
  • 3. 2. ครูต้องรู้ความเป็นมาของผู้เรียน (Know your students) การทาความรู้จักกับนักศึกษาในห้องที่ง่ายและสะดวกที่สุดก็คือ เมื่อเริ่มต้นภาคเรียน ให้ใช้แบบสอบถามข้อมูลโดยให้นักศึกษาเขียนสิ่งที่ ผู้สอนต้องการจะรู้ในเอกสารนั้น ตัวอย่างเช่น - ชื่อ นามสกุล เบอร์โทรศัพท์ ที่อยู่ตามอีเมล์ (e-mail address) - รายวิชาในกลุ่มนาฏศิลป์ที่เคยเรียนแล้ว รายวิชาที่กาลังเรียน ในภาคเรียนนี้ และรายวิชาที่นักศึกษาคิดว่าจะเลือกเรียนในภาคเรียน ต่อไป
  • 4. - ความรู้ด้านนาฏศิลป์ (หมายถึงมีความรู้มากน้อยเพียงใด) - การบริหารเวลาและการใช้ความพยายามในการเรียน (เช่น รู้จักจัด ตารางการเรียนของตนเองและตั้งใจเรียนอย่างเต็มที่ หรือไม่รู้จักวิธีจัด ตารางเรียนและเรียนเพียงเพื่อให้เกรดผ่านก็พอแล้ว)
  • 5. 3. ครูต้องรู้ว่าผู้เรียนสนใจในสิ่งใด (Know what your students’ care about) การที่ผู้สอนสามารถรู้ได้ว่า นักเรียนมีความชอบหรือให้ความ สนใจต่อรายวิชาต่าง ๆ ในแง่มุมใด? และด้วยเหตุผลใด? เป็นสิ่งที่ท้า ทายการสอนอย่างหนึ่ง เนื่องจากผู้เรียนมีความคิด ความคาดหวัง อารมณ์ และความรู้สึกที่แตกต่างกันไปตามประสบการณ์ในอดีตของแต่ ละคน ดังนั้น ในสัปดาห์แรกที่เข้าสอน ผู้สอนอาจบอกให้นักเรียน เขียนสิ่งที่ตนให้ความสนใจเกี่ยวกับรายวิชาที่กาลังเรียนพร้อมกับบอก เหตุผลประกอบ
  • 6. 4. ครูควรรู้จักชื่อและประสบการณ์ของนักเรียนทุกคน (Know your students by name and their experiences) ผู้สอนที่จาชื่อของนักเรียนได้จะช่วยให้นักเรียนรู้สึกว่าตนมี ความสาคัญและได้รับการยอมรับ ดังนั้น ในชั่วโมงแรกที่เข้าสอน ผู้สอน สามารถทาความรู้จักกับชื่อของนักเรียน โดยให้นักเรียนแนะนาตนเอง และศึกษาประสบการณ์ของนักเรียนจากแบบสอบถามตามที่กล่าวไปแล้ว ในข้อ ๒ อย่างไรก็ตาม การจดจาชื่อของนักเรียนให้ได้ครบทุกคนอาจ เป็นเรื่องยากสาหรับผู้สอนที่ต้องสอนนักเรียนจานวนมากและมีหลายกลุ่ม ดังนั้น จึงควรหมั่นเรียกชื่อของนักเรียนบ่อย ๆ และทุกครั้งที่มีโอกาส เช่น เวลาให้ตอบคาถามหรือให้ทากิจกรรมในชั้นเรียน หรือเวลาตรวจงานก็ควร เหลือบตาดูชื่อของนักเรียนด้วย
  • 7. ๕. ครูควรแสดงให้นักเรียนเห็นว่าครูมีความใส่ใจกับความสาเร็จของ พวกเขา (Show students you care about their success) การแสดงความใส่ใจต่อความสาเร็จของนักเรียนสามารถทาได้ หลายวิธี ตัวอย่างเช่น - บอกให้นักเรียนรู้ว่า ครูต้องการให้พวกเขาบรรลุผลสาเร็จใน การเรียนที่น่าพอใจและต้องการให้นาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ และการดาเนินชีวิต - บอกให้นักเรียนรู้ว่า ครูจะอยู่กับพวกเขาตลอดเวลาในฐานะผู้ อานวยความสะดวก (Facilitator) และจะสนับสนุนให้นักเรียนได้ ติดต่อกับโรงเรียนบ้างเป็นครั้งคราว
  • 8. - บอกให้นักเรียนรู้ว่า การขโมยหรือการคัดลอกงานของคนอื่นเป็นสิ่ง ที่ผิด และจะมีผลกระทบต่อความสาเร็จในการเรียนด้วย - หมั่นเตือนนักเรียนให้ตระหนักถึงเป้าหมายของการศึกษา (Educational goal) ให้รู้จักยุทธวิธีต่าง ๆ ในการประเมินผล (Evaluation strategies) ให้เข้าใจผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (Learning outcomes) รวมทั้ง วิธีการประเมินผลเป็นรายวิชา (Assessment of a course) - กระตุ้นให้นักเรียนรู้จักตั้งคาถามเพื่อจะได้เข้าใจรายวิชาต่าง ๆ ได้ ลึกซึ้งมากขึ้น
  • 9. ๖. ครูควรเตือนนักเรียนให้ตระหนักถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Remind students of life- long learning) การเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่งต่อการทางาน ในศตวรรษที่ ๒๑ การเรียนรู้ตลอดชีวิต หมายถึง การประยุกต์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะต่าง ๆ ที่นักเรียนได้รับจากประสบการณ์การ เรียนรู้ในชั้นเรียน ไปใช้กับการทางานและการดารงชีวิตให้มากที่สุด เท่าที่จะมากได้ ตัวอย่างเช่น ความสามารถเกี่ยวกับ การคิดริเริ่ม การ ปรับตัว การใช้เทคโนโลยี การบริหารเวลา ฯลฯ
  • 10. 7. ครูต้องเป็นนักเล่านิทาน (Be a storyteller) นิทาน หมายถึง เรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาหรือมีผู้แต่ง ขึ้น เพื่อต้องการสอนคนในการดารงชีวิต และเพื่อความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ผู้สอนที่เป็นนักเล่านิทานจะสามารถนาเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริงใน การทางานและการดารงชีวิตมาเล่าให้นักศึกษาฟังเพื่อเป็นประสบการณ์ ได้อย่างดี เรื่องราวบางอย่างอาจนามาจากหนังสือวรรณคดีก็ได้ อย่างเช่น พระอภัยมณี สามก๊ก เป็นต้น
  • 11. 8. ครูต้องนานักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ (Engage students in class activities to promote creativity) ตัวอย่าง กิจกรรมในชั้นเรียน เช่น ๑. ให้นักเรียนทาเอกสารรายงานตามหัวข้อที่ผู้สอนกาหนดให้ ๒. ให้นักเรียนฝึกทารายกรณี (Case) โดยผู้สอนนาภาพ เหตุการณ์ที่จาลองจากชีวิตจริงมาให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์ เพื่อหาแนว ทางแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด โดยให้สมมติว่า นักเรียนเป็นบุคคลในภาพ เหตุการณ์นั้น
  • 12. ๓. ให้ทาโครงงาน (Project) การสอนแบบโครงงานเป็นการ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของตน อย่างลุ่มลึก โดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะต้องลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคาตอบด้วยตนเอง ทาให้ผู้เรียนมี ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้ ส่วนใหญ่ผู้สอนจะกาหนดให้ทา โครงงานในช่วงปลายภาคเรียน โดยให้นักเรียนรวมกลุ่มกันทางาน
  • 13. 9. ครูควรส่งเสริมให้นักเรียนตั้งคาถามและมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ (Encourage students to ask questions and participate) ตัวอย่างเช่น ๑. สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่สนุกสนาน เป็นกันเอง และ น่าสนใจ ๒. กระตุ้นนักเรียนให้ตั้งคาถาม และให้มีส่วนร่วมในการ ติดต่อสื่อสารอย่างเปิดเผยกับผู้สอนและเพื่อนร่วมห้อง ๓. บอกนักเรียนให้ทราบถึงผลการวิจัยว่า การมีส่วนร่วมใน การทากิจกรรมในชั้นเรียนมีความสัมพันธ์อย่างสูงกับความสาเร็จในการ เรียนรู้
  • 14. ๔. เตือนนักเรียนให้ระลึกไว้ว่า การวิจารณ์และการให้ผล ย้อนกลับทางลบ (Negative feedback) อย่างสร้างสรรค์ จะช่วยสร้าง ความมั่นใจและสร้างอุปนิสัยที่ดี ๕. บอกนักเรียนให้รู้ว่า การทาสิ่งต่าง ๆ ในชั้นเรียนผิดพลาด ยังดีเสียกว่าการทาสิ่งผิดพลาดในโลกของความเป็นจริง ๖. เตือนนักเรียนให้รู้ว่า การวิจารณ์และการให้ผลย้อนกลับทาง ลบสามารถนามาใช้เพื่อปรับปรุงผลลัพธ์ของการเรียนรู้ให้ดีขึ้นได้
  • 15. ๑๐. ครูควรยอมรับข้อคิดเห็นและคาวิจารณ์ของนักเรียน (Respect students' opinions and comments) เด็ก ๆ ต้องการผู้ใหญ่ที่เป็นบุคคลตัวอย่าง และต้องการให้ ผู้ใหญ่แสดงความสนใจและเห็นคุณค่าในความคิดของพวกเขา หาก ผู้สอนต้องการสนับสนุนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีประสบการณ์ในการ เรียนรู้ ก็ควรยอมรับข้อคิดเห็นและคาวิจารณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เรียนการสอน ถ้าผู้เรียนคนใดเสนอข้อคิดเห็นที่ผู้สอนคิดว่ายังไม่ ถูกต้อง ก็ควรจะตั้งคาถามใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสคิดทบทวน คาตอบอีกครั้ง
  • 16. 11. ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดี (Be a role model) ผู้สอนทุกคนย่อมคาดหวังที่จะเห็นผู้เรียนเป็นทั้งคนดีและคน เก่ง ในทานองเดียวกัน ผู้เรียนทุกคนก็คาดหวังที่จะเห็นความเชี่ยวชาญ และการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมของผู้สอน ผู้สอนจึงต้องเป็นตัว แบบที่ดีของผู้เรียนในด้านมาตรฐานของความรู้ และความประพฤติที่ ควรแก่การนามาเป็นแบบอย่างได้ ตัวอย่างเช่น - ด้านความรู้ ผู้สอนต้องรู้จักค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ หรือนา ผลจากการวิจัยมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน - ด้านคุณลักษณะ ต้องเป็นคนตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ มีการวางแผนการสอน และเตรียมกิจกรรมต่าง ๆ ล่วงหน้า - ถ้าผู้สอนแสดงให้ผู้เรียนเห็นถึงลักษณะต่าง ๆ ดังที่กล่าวมานี้ ผู้เรียนก็จะมีลักษณะเช่นเดียวกันเมื่อสาเร็จการศึกษาไปแล้ว
  • 17. 12. ครูต้องประเมินผลการเรียนรู้แบบลึก (Assess on deep learning) การประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียน การสอน เป็นส่วนที่ช่วยให้ผู้สอนรู้ว่า ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนอยู่ ในระดับตื้น ๆ คือ เพียงแค่จาได้ ที่เรียกว่า รู้แบบผิวเผิน (Surface learning) หรือมีผลลัพธ์การเรียนรู้ในระดับสูงสุด คือ รู้แบบลึกซึ้ง (Deep learning) ถึงขั้นที่สามารถนาไปใช้ในการดารงชีวิตและการ ประกอบอาชีพให้ประสบความสาเร็จได้
  • 18. การเรียนรู้แบบลึกจะเกิดขึ้นเมื่อ - นักเรียนสามารถทาความเข้าใจกับเนื้อหาสาระใน รายวิชาต่าง ๆ ด้วยความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง - นักเรียนเกิดแรงจูงใจภายในที่จะเรียนรู้เนื้อหาสาระใน รายวิชานั้น ๆ ในระดับที่สูงขึ้น - นักเรียนสามารถมองเห็นเนื้อหาสาระของรายวิชาใน ภาพรวมได้ - นักเรียนสามารถมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างรายวิชา ที่เรียนกับรายวิชาอื่น ๆ รวมทั้งความสัมพันธ์กับเรื่องราวต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิต ตลอดจนอธิบายถึงเหตุผลของ ความสัมพันธ์หรือความเกี่ยวข้องนั้นได้