SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  100
Télécharger pour lire hors ligne
การใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติเพื่อการวิจัย
                                  

                        รวบรวมโดย

                     งานวิจัยและพัฒนา
                   ฝายวางแผนและพัฒนา
                 วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค
2


                  การใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติเพือการวิจัย
                                                                    ่
SPSS ยอมาจาก Statistical Package for Social Science
โปรแกรม SPSS ที่ใชในการอบรมครั้งนี้จะใช SPSS for Windows Version 12.0
การติดตั้งโปรแกรม
   1. นําแผนซีดีโปรแกรม SPSS for Windows Version 12.0 ใสซีดีรอมไดรฟ
   2. ดับเบิลคลิก My Computer
   3. ดับเบิลคลิกซีดีรอมไดรฟ
   4. ดับเบิลคลิกโฟลเดอร SPSS v12.0
   5. ดับเบิลคลิกไอคอน SPSS12.exe
   6. คลิกปุม Next แลวรอ
   7. คลิกปุม Next
   8. คลิกตรงวงกลมหนา I accept the terms in the license agreement
   9. คลิกปุม Next 6 ครั้ง
   10. คลิกปุม Install แลวรอ
   11. คลิกปุม Finish
   12. คลิก Start -> Run
   13. ตรงบรรทัด Open ใหพิมพ C:Program FilesSPSSlicrenew.exe กดปุม OK
   14. ปรากฏหนาจอ
       ใหพิมพ 30066743322 กด Enter
       ใหพิมพ 30066743322 กด Enter
       กด Enter

การเรียกใชโปรแกรม
        คลิก Start -> All Programs -> SPSS for Windows -> SPSS 12.0 for Windows
        ถาปรากฏหนาจอ What would you like to do? ใหคลิกสี่เหลี่ยมดานลางซายใหมีเครื่องหมายถูก
        แลวคลิกปุม OK คลิกปุม Cancel
3


หมายเหตุ กรณีปรากฏหนาจอ




ถาตองการไมใหปรากฏหนาจอนี้
     1. ดับเบิลคลิก My Computer
     2. ตรงบรรทัด Address ใหพิมพ C:Program FilesSPSS แลวกด Enter
     3. เลื่อน Vertical Scroll Bar จนปรากฏชื่อไฟล expoff.bat
     4. ดับเบิลคลิกตรงไฟล expoff.bat
     5. ปดหนาจอ

Windows ของ SPSS มี 5 ประเภท
   1. Data            ไฟลนามสกุล sav    ใชเพิ่ม/แกไข/ลบ ขอมูล หรือ เรียกขอมูล
                                         ที่ปอนจากโปรแกรมอื่นๆ
   2. Output        ไฟลนามสกุล spo      เพื่อใหแสดงผลลัพธในรูปแบบ Graphics
   3. Syntax        ไฟลนามสกุล sps      ใชพิมพคําสั่งหาคาทางสถิติ แทนการใชเมนู
   4. Draft Output ไฟลนามสกุล rtf       เพื่อใหแสดงผลลัพธในรูปแบบ Text
   5. Script        ไฟลนามสกุล sbs      ใชเขียนโปรแกรมคําสั่งหาคาทางสถิติ
หมายเหตุ ในการอบรมใช Windows เฉพาะขอ 1 และขอ 2 สวนคําสั่งหาคาทางสถิติจะใชเมนู

การปอนขอมูลจากหนาจอ Data มีขั้นตอน
    1. เปดหนาจอ SPSS Data Editor เลือกเมนู File -> New -> Data
    2. การกําหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปร จากหนาจอ Variable View
    3. ปอนขอมูล จากหนาจอ Data View
    4. บันทึกขอมูล เลือกเมนู File -> Save
ตองการใหหนาจอ Data แสดงภาษาไทย ใหการแกไขฟอนต ดังนี้
    เลือกเมนู View -> Fonts
4




เลือก Font และ Size ตามที่ตองการ แลวคลิกปุม OK
หมายเหตุ ชื่อฟอนตท่เี ปนภาษาไทยสวนใหญจะลงทายดวย UPC
5


ตัวอยางขอมูล ชื่อตัวแปร sex ประเภทตัวเลข ความกวาง 1 ไมมีจุดทศนิยม เลเบล เพศ
การกําหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปร จากหนาจอ Variable View
    ที่หนาจอ SPSS Data Editor เรียกหนาจอ Variable View ทําได 2 วิธี
    1. ดับเบิลคลิกตรงคอลัมนของบรรทัดแรก
    2. คลิกแถบ Variable View ที่อยูดานลาง




   1. Name     ชื่อตัวแปร ใหพิมพตรงคอลัมน Name เชน Sex
   2. Type     ประเภทของตัวแปร




        เลือก Numeric Width=1 Decimal Places=0 คลิกปุม OK
   3.   Label กําหนดขอความขยายชื่อตัวแปร เพื่ออธิบายชื่อตัวแปรและแสดงออกทางผลลัพธ
        ใหพิมพตรงคอลัมน Label เชน เพศ
   4.   Values กําหนดคําอธิบายใหกับคาตัวแปร
6




Missing กําหนดคาที่ไมนําไปวิเคราะห มี 2 แบบ
        5.1 User Missing       ผูวิจัยเปนผูกําหนด เชน 9, 99, 999, …




        5.2 System Missing     โปรแกรมจะกําหนดใหเอง
   5.   Column จํานวนความกวางของคอลัมน คือจํานวนความกวางมากสุดของ คาตัวแปร หรือ ชื่อตัว
        แปร หรือ label ตัวแปร
        จากตัวอยาง ชือตัวแปร และ label ตัวแปร มีความกวางมากสุดเทากับ 3
                      ่
        ใหพิมพ 4 (ความกวางมากสุดเทากับ 3 บวกเผื่อไว 1)
   6.   Align ใหแสดงคาตัวแปร ชิดซาย กึ่งกลาง ชิดขวา
   7.   Measure ระดับการวัดของขอมูล
        7.1 Scale (Interval, Ratio)
        7.2 Ordinal
        7.3 Nominal
   ใหกําหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปรใหครบทุกตัว
7


ปอนขอมูล จากหนาจอ Data View




   Data View เปนแบบตาราง การปอนขอมูลจะคลายกับ Excel
   บรรทัดแรก จะเปนชื่อตัวแปร
   บรรทัดตอไป จะเปนขอมูล
   ดูจํานวนขอมูล ไปรายการสุดทาย กดปุม Ctrl+End
   กลับไปรายการแรก กดปุม Ctrl+Home
   การ Show Label (View -> Value Labels)
8


การนําขอมูลเขาจาก Excel
ใหก็อปปไฟลทุกไฟลที่อยูในโฟลเดอร train_spssdata จากแผนซีดี ไปเก็บไวที่โฟลเดอร
                         
C:train_spssdata
เงื่อนไข
    1.  ไฟลที่จะนําเขาตองไมเปดคางไวที่ Excel
   2. ขอมูลที่ปอนใน Excel ตองเปนแบบ Numeric ไมเปนแบบ String เชน ‘1
   3. บรรทัดแรก ตองเปนชื่อตัวแปร บรรทัดตอที่ 2 เปนตนไปจะเปนขอมูล
การนําเขา
   1. เลือกเมนู File -> Open -> Data




           File of type   เลือก Excel (*.xls)
           Look in        เลือก C:train_spssdatatinybus.xls
           คลิกปุม Open
           คลิกปุม OK
    2.     เลือกเมนู File -> Save As
9


Save as type   เลือก SPSS (*.sav)
Save in        เลือกชื่อ Drive ตามดวยชื่อพื้นที่ใน Harddisk เชน C:train_spssdata
File name      พิมพชื่อไฟล เชน tinybus
คลิกปุม Save
หลังจากที่ไดไฟล tinybus.sav สิ่งแรกที่ตองทําคือ กําหนดรายละเอียดแตละตัวแปร
                                         
10


การเปลี่ยนแปลงขอมูลกอนนําไปวิเคราะหขอมูลทางสถิติ
    1. การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
    2. การสรางตัวแปรใหมจากการคํานวณและเงื่อนไข
    3. การเลือกขอมูลมาทําการวิเคราะห
    4. การดําเนินการอื่นๆ กับขอมูล
1. การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
    1.1 ตองการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวแปรใดให ดับเบิลคลิกที่ชื่อตัวแปร จากหนาจอ Data View
    1.2 ตองการเปลี่ยนคาตัวแปร ทําได 2 ลักษณะ
         1.2.1 การเปลี่ยนคาในตัวแปรเดิม วิธีนี้ไมเปนทีนยม
                                                         ่ ิ
         1.2.2 การเปลี่ยนคาและสรางเปนตัวแปรใหม
             ที่หนาจอ Data View เลือกเมนู Transform -> Recode -> Into Different Variables
             ตัวอยาง เปลี่ยนคาตัวแปร sex จาก 1 เปน 3, 2 เปน 4 สรางตัวแปรใหมชื่อ newsex




           คอลัมนซายของหนาจอเลือกตัวแปร SEX คลิกปุม
           คอลัมน Output Variable
               Name พิมพ newsex
               Label พิมพ ตัวแปรเพศใหม
               คลิกปุม Change
           คลิกปุม Old and New Values
11




คอลัมน Old Value Value พิมพ 1 คอลัมน New Value Value พิมพ 3 คลิกปุม Add
คอลัมน Old Value Value พิมพ 2 คอลัมน New Value Value พิมพ 4 คลิกปุม Add
คลิกปุม Continue
คลิกปุม OK
ตัวแปรใหม newsex จะตอจากคอลัมนสุดทาย
ตัวอยาง เปลี่ยนคาตัวแปร age โดยกําหนดเปนชวง และสรางตัวแปรใหมชื่อ newage
    1 เทากับ นอยกวา 25 ป
    2 เทากับ 25 ป ถึง 34 ป
    3 เทากับ 35 ป ถึง 44 ป
    4 เทากับ ตั้งแต 45 ปขึ้นไป




เลือก Range Lowest through พิมพ 25     Value   พิมพ   1   คลิกปุม Add
เลือก Range พิมพ 25 through พิมพ 34   Value   พิมพ   2   คลิกปุม Add
12


เลือก Range พิมพ   35 through   พิมพ   44   Value   พิมพ   3   คลิกปุม Add
เลือก Range พิมพ   45 through highest        Value   พิมพ   4   คลิกปุม Add
คลิกปุม Continue
คลิกปุม OK
13


2.   การสรางตัวแปรใหมจากการคํานวณและเงื่อนไข
     ตัวอยาง เปดไฟล DATA.sav สรางตัวแปรใหมชื่อ newincome โดยเพิ่มรายไดขน 10% จากตัวแปร
                                                                             ึ้
     income เฉพาะเพศหญิง
     เลือกเมนู Transform -> Compute




     Target Variable พิมพ newincome
     เลือกตัวแปร income คลิกปุม
     Numeric Expression พิมพ income * 1.1
     คลิกปุม Type & Label




     Label พิมพ เพิ่มรายไดเพศหญิง
     คลิกปุม Continue
14


     คลิกปุม If




     เลือกตัวแปร sex คลิกปุม
     เลือก Include if case satisfies condition
     พิมพ sex = 2
     คลิกปุม Continue
     คลิกปุม OK
3.   การเลือกขอมูลมาทําการวิเคราะห
     ปกติโปรแกรมนําขอมูลทั้งหมดใน Data View มาทําการวิเคราะห ถาผูวิจัยตองการเลือกขอมูลบางชุด
     มาทําการวิเคราะห ใหเลือกเมนู Data -> Select Cases
15
16


All cases   ขอมูลทั้งหมด ทุกชุด ทุกตัวแปร
If condition is satisfied เลือกชุดขอมูลตามเงื่อนไขทีกําหนด
                                                     ่
Random sample of cases เลือกขอมูลดวยวิธีสุมโดยกําหนดจํานวนชุดขอมูลที่ตองการจากการสุม
                                                                                        
โดยประมาณ (Approximately) หรือ จํานวนชุดขอมูลที่แนนอน (Exactly)
Base on time or cases range เลือกชุดขอมูลโดยใชลําดับของชุดขอมูลเปนตัวกําหนด
Use Filter variable เลือกชุดขอมูลโดยใชคาของตัวแปรที่มีอยูเปนตัวกําหนด
Unselected Cases Are
   Filtered เปนการเลือกชุดขอมูลแบบชั่วคราว ถาตองการกลับมาเลือกขอมูลทั้งหมด
              ใหเลือกเมนู Data -> Select Cases -> All case
    Deleted เปนการเลือกชุดขอมูลแบบถาวร โดยที่ขอมูลที่ไมถูกเลือกจะถูกลบออกจาก Data View
              แตไมมีผลตอขอมูลของไฟลขอมูลเดิมถาไมบันทึก
ตัวอยาง ตองการเลือกชุดขอมูลเฉพาะเพศชาย
    เลือกตัวแปร sex
    เลือก If condition is satisfied
    คลิกปุม If




   เลือกตัวแปร sex คลิกปุม
   พิมพ sex = 1
   คลิกปุม Continue
   เลือก Deleted
   คลิกปุม OK
17


หมายเหตุ
   1. หามสั่งบันทึก จากเมนู File -> Save เพราะจะทําใหขอมูลเดิมสูญหาย
   2. ถาตองการนําชุดขอมูลนี้ไปวิเคราะหครั้งตอไป ใหบันทึกชื่อไฟลใหม
      จากเมนู File -> Save As
18



4.   การดําเนินการอื่นๆ กับขอมูล
     การเรียงลําดับขอมูล               เลือกเมนู Data -> Sort Cases
     การกําหนดน้ําหนักแกชดขอมูล
                            ุ           เลือกเมนู Data -> Weight Cases
     การสลับที่ตัวแปรและชุดขอมูล       เลือกเมนู Data -> Transpose
     การแบงขอมูลเปนกลุมยอย         เลือกเมนู Data -> Split File
                       การเปลี่ยนแปลงขอมูลของโปรแกรม เลือกเมนู Edit -> Options
19


                                   การวิเคราะหหาสถิติพื้นฐาน
การสรางตารางแจกแจงความถี่แบบทางเดียว
    เปนการแจกแจงขอมูลตามลักษณะใดลักษณะหนึ่งของขอมูลเพียงลักษณะเดียว หรือจําแนกคาของ
ขอมูลโดยใชตวแปรตัวเดียว
              ั
    ตัวอยาง ตองการทราบความถี่ของระดับการศึกษา
    1. เปดไฟลขอมูล data.sav
    2. เลือกเมนู Analyze -> Descriptive Statistics -> Frequencies




       เลือกตัวแปร Level of education คลิกปุม
       หมายเหตุ โปรแกรมจะแสดง Label แทนชื่อตัวแปร
       คลิกปุม OK จะไดผลลัพธดังนี้
20
21


       ความหมายของผลลัพธ
       คอลัมนท่ี 1 บอกจํานวนขอมูล
          Valid        จํานวนขอมูลที่นํามาแจกแจงความถี่
          Missing จํานวนขอมูลที่ไมสมบูรณ
          Total        จํานวนขอมูลทั้งหมด
       คอลัมนที่ 2 แสดงชื่อตัวแปร หรือ Label ของตัวแปร ตามคาที่เปนไปไดของตัวแปร
       คอลัมนที่ 3 Frequency คือ คาที่แสดงความถี่ท่นับได    ี
       คอลัมนท่ี 4 Percent             คือ คาที่แสดงความถี่ท่นับไดในรูปรอยละ คิดจากขอมูลทั้งหมด
                                                                 ี
       คอลัมนที่ 5 Valid Percent คือ คาที่แสดงความถี่ท่นับไดในรูปรอยละ ไมรวมคา Missing
                                                                   ี
       คอลัมนที่ 6 Cumulative Percent คือ คาที่แสดงความถี่สะสมของ Valid Percent

การสรางตารางแจกแจงความถี่แบบหลายทาง
   เปนการจําแนกขอมูลตามลักษณะของขอมูลตั้งแต 2 ลักษณะมาแจกแจงความถี่พรอมกัน เรียกวา
ตารางแจกแจงความถี่รวม (Cross tab Table)
   ตัวอยาง ตารางแจกแจงความถี่ จําแนกตามเพศและระดับการศึกษา
   เลือกเมนู Analyze -> Descriptive Statistics -> Crosstabs
22


เลือกตัวแปร sex คลิกปุม    เก็บไวในบอกซ Row(s)
เลือกตัวแปร Level of education คลิกปุม      เก็บไวในบอกซ Column(s)
คลิกปุม Cells




ตรง Percentages เลือก Row, Column, Total
คลิกปุม Continue
คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
23
24


   ความหมายของผลลัพธ
   sex หมายถึง ตัวแปรทีแจกแจงทางดานแถว
                       ่
   Level of education หมายถึง ตัวแปรที่แจกแจงทางดานคอลัมน
    Count          19      จํานวนที่นับได    มีเพศชายที่จบการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรี 19 คน
    % within       30.6% จํานวนรอยละเมื่อ มีเพศชายที่จบการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรีคิดเปน
    sex
                           เทียบกับเพศชาย 30.6 % ของเพศชายทั้งหมด (62 คน)
    % within       63.3% จํานวนรอยละเมื่อ มีเพศชายที่จบการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรีคิดเปน
    Level
    of education           เทียบกับระดับ      63.3 % ของเพศที่จบต่ํากวาปริญญาตรีทั้งหมด (30
                           การศึกษา           คน)
    % of Total     19.4% จํานวนรอยละเมื่อ มีเพศชายที่จบการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรีคิดเปน

                           เทียบกับขอมูล     19.4 % ของขอมูลทั้งหมด (100 คน)
                           ทั้งหมด

การแจกแจงความถี่แบบ Multiple Response
        เปนการจําแนกหรือการแจกแจงความถี่สําหรับตัวแปรทีมีคาไดหลายลักษณะ คือขอถามมีการตอบ
                                                         ่
มากกวา 1 ขอ
   ตัวอยาง ขอถาม ทานชมรายการทีวีใดบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)
        ตัวแปร v6a ขาว/สารคดี
        ตัวแปร v6b ละคร
        ตัวแปร v6c เพลง
        ตัวแปร v6d เกมโชว
        คาของตัวแปร 1 ผูตอบเลือกตัวเลือก 9 ผูตอบไมเลือกตัวเลือก
   เลือกเมนู Analyze -> Multiple Response -> Define Sets
25
26


เลือกตัวแปร v6a คลิกปุม      เก็บไวในบอกซ Variables in Set
เลือกตัวแปร v6b คลิกปุม      เก็บไวในบอกซ Variables in Set
เลือกตัวแปร v6c คลิกปุม      เก็บไวในบอกซ Variables in Set
เลือกตัวแปร v6d คลิกปุม      เก็บไวในบอกซ Variables in Set
ตรง Variables Are Coded As เลือก Dichotomies Counted value ปอน 1 ในชองสี่เหลี่ยม
Name ใหพิมพชื่อตัวแปรใหมชื่อ tv
Label ใหพิมพคําอธิบายตัวแปร รายการทีชอบ
                                        ่
คลิกปุม Add
คลิกปุม Close
เลือกเมนู Analyze -> Multiple Response -> Frequencies




เลือกตัวแปร รายการที่ชอง [$tv] คลิกปุม   เก็บไวในบอกซ Table(s) for
คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
27


การบรรยายลักษณะขอมูลดวยคาสถิตเิ บื้องตน
     การอธิบายหรือบรรยายลักษณะขอมูลดวยคาสถิติเบื้องตน เปนการนําขอมูลที่เก็บรวบรวม นํามา
ดําเนินการหาคาที่จะเปนตัวแทนของกลุมขอมูล
     คาสถิติเบื้องตนที่หาไดจะใชอธิบายหรือบรรยายกลุมขอมูลในรูปของผลสรุปแทนที่จะนําขอมูลทั้งหมด
มานําเสนอ ขอมูลที่จะนํามาหาคาสถิติเบื้องตนสามารถใชไดทั้งขอมูลประชากร (Population) และขอมูล
ตัวอยาง (Sample)
     ขอมูลที่จะนํามาหาคาสถิติเบื้องตนตองเปนขอมูลที่มีการวัดอยูในระดับอัตราสวนหรือระดับชวง บาง
                                                                    
กรณีอาจจะใชขอมูลระดับเรียงอันดับ
     การหาคาสถิตเิ บื้องตนจําแนกได 4 วิธี
     1. การหาคาแนวโนมเขาสูสวนกลาง (Central Tendency)
         1.1 คาเฉลี่ย (Mean) เชน
               คาเฉลี่ยแบบเลขคณิต (Arithmetic Mean or Average, A.M),
               คาเฉลี่ยแบบเรขาคณิต (Geometric Mean, F.M),
               คาเฉลี่ยแบบฮารโมนิก (Harmonic Mean, H.M)
         1.2 ฐานนิยม (Mode)
         1.3 คาแสดงตําแหนงของขอมูล (N-Tiles) เชน มัธยฐาน (Median), ควอไทล (Quartiles),
               เดไซล (Deciles) และเปอรเซ็นตไทล (Percentiles)
     2. การหาคาการกระจายขอมูล (Dispersion)
         2.1 พิสัย (Range)
         2.2 สวนเบี่ยงเบนควอไทล (Quartile Deviation)
         2.3 สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation)
         2.4 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviaion)
         2.5 สัมประสิทธิ์ของการแปรผันหรือการกระจาย (Coefficient of Variation)
     3. การหาคาคะแนนมาตรฐาน (Standard Score)
     4. การหาคาแสดงรูปรางของโคงความถี่ (Frequencies Curve, Distribution)
         4.1 โคงปกติ (Normal Curve)
         4.2 โคงเบ (Skewness Curve) เชน โคงเบซาย, โคงเบขวา
28


การหาคาสถิตเิ บื้องตนแบบไมจําแนกกลุม
   จากไฟล DATA.sav ตัวแปรที่สามารถคํานวณไดคือ age, income
   ตัวอยาง คํานวณหาคาสถิตเิ บืองตน ตัวแปรอายุ
                                 ้
   เลือก Analyze -> Descriptive Statistics -> Descriptives




   เลือกตัวแปร age คลิกปุม       เก็บไวในบอกซ Variable(s)
   คลิกปุม Options ใหเลือกคาสถิติตามรูป




   คลิกปุม Continue
   คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
29
30


    ความหมายของผลลัพธ
     age                         ชื่อตัวแปรอายุที่ตองการหาคาสถิติเบื้องตน
     N             Statistic     จํานวนขอมูลทั้งหมดไมรวม Missing
     Range         Statistic     คาพิสัย
     Minimum       Statistic     คาต่ําสุดของอายุ
     Maximum       Statistic     คาสูงสุดของอายุ
     Sum           Statistic     คาผลรวมของอายุ
     Mean          Statistic     คาอายุเฉลี่ย
                   Std. Error    คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของคาเฉลี่ย
     Std.          Statistic     คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แสดงถึงการกระจายของขอมูล
     Variance      Statistic     คาความแปรปรวนของขอมูล
     Skewness      Statistic     คาที่ใชวัดความเบของโคงความถี่ วาโคงปกติหรือโคงเบซายหรือโคงเบ
                                 ขวา
                                 Skewness = 0 หรือใกลศูนย โคงปกติ
                                 Skewness < 0 โคงเบซาย
                                 Skewness > 0 โคงเบขวา
                   Std. Error    คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของ Skewness
     Kurtosis      Statistic     คาที่ใชวัดความสูงของโคงปกติ
                                 Kurtosis = 0 หรือใกลศูนย สูงปกติ
                                 Kurtosis < 0 สูงมาก
                                 Kurtosis > 0 สูงนอย
                   Std. Error    คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของ Kurtosis

การหาคาสถิตเิ บื้องตนแบบจําแนกกลุม
   เปนการหาคาสถิติเบื้องตนของขอมูลแตละกลุมยอยเพื่อนํามาเปรียบเทียบกัน เชน หาอายุเฉลี่ยระหวาง
เพศชายและหญิง เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผูบริโภคอาชีพตางๆ
                                                     
   ตัวแปรที่ใชหาคาสถิติเบื้องตนตองคํานวณได คือ ระดับชวงหรืออัตราสวนหรือระดับเรียงอันดับ
   ตัวแปรที่นํามาใชเปนตัวแปรกลุมควรเปนตัวแปรระดับนามบัญญัตหรือเรียงอันดับ
                                                                    ิ
   ตัวอยาง ตองการคํานวณหาคาสถิติเบื้องตนของอายุเฉลี่ย จําแนกตามเพศ
31


เลือกเมนู Analyze -> Compare Means -> Means




เลือกตัวแปร age คลิกปุม   เก็บไวในบอกซ Dependent List
เลือกตัวแปร sex คลิกปุม   เก็บไวในบอกซ Independent List
32


คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ




ความหมายของผลลัพธ
 age            ชื่อตัวแปรที่ถกนํามาคํานวณหาคาสถิติเบืองตน
                              ู                         ้
 sex            ชื่อตัวแปรที่ถกกําหนดใหเปนตัวแบงกลุม
                                ู
          Male คาของตัวแปร sex
        Female คาของตัวแปร sex
 Mean           คาเฉลี่ยของตัวแปร age ในแตกลุมของตัวแปร sex
 N              จํานวนขอมูล ในแตละกลุมของตัวแปร sex
 Std. Deviation คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร age ในแตละกลุมของตัวแปร sex
33


                                 การตรวจสอบเครื่องมือและขอมูลที่ใชในการวิจัย
งานวิจัยสิงที่ถอวาสําคัญที่สุด คือ ขอมูล กอนที่จะนําขอมูลไปวิเคราะหจะตองตรวจขอมูลกอน
          ่ ื
ตัวอยางเครื่องมือในงานวิจย เชน แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม แบบสํารวจ เครื่องทอลอง ฯ
                            ั
การหาความเชือมั่นของแบบสอบถามที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล
                 ่
    ตัวอยาง ผูวิจัยตองการหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามที่สํารวจจากผูใชบริการรถเมล ขสมก. จํานวน
                                                                         
20 คําถาม มีผลตอบ 15 คน
    การใชโปรแกรมชวยในการหาคาความเชือมั่น ดังนี้
                                               ่
    1. เปดไฟล DATA10A.sav
    2. เลือกเมนู Analyze -> Scale -> Reliability Analysis




        เลือกตัวแปรทีตองการความเชื่อมั่น เลือกทุกตัวคลิกปุม
                      ่
        Model เลือก Alpha ซึ่งเปนวิธีทดสอบของ Cronbach
   3.   คลิกปุม Statistics
34




     เลือก Scale if item deleted
     คลิกปุม Continue
4.   คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
35
36


      ความหมายของผลลัพธ
      Cronbach’s Alpha คาความเชื่อมั่นของเครื่องมือเทากับ .606
      คอลัมนที่ 1 คือ ตัวแปรขอถาม
       Scale Mean if Item Deleted                   คาคะแนนเฉลี่ยรวมทุกขอถามที่เหลือหลังจากลบขอถาม
                                                    บรรทัดนี้ออก
       Scale Variance if Item Deleted               คาความแปรปรวนรวมทุกขอถามที่เหลือหลังจากลบ
                                                    ขอถามบรรทัดนี้ออก
       Corrected Item-Total Correlation             คาสัมประสิทธิ์ความสัมพันธระหวางคะแนนรวมทุก
                                                    ขอถามกับขอถาม
       Cronbach's Alpha if Item Deleted             คาระดับความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่เหลือหลังจากขอถาม
                                                    บรรทัดนี้ออก
      สรุป เครื่องมือที่ใชมีความเชือมั่นเทากับ 0.606 อยูในระดับที่พอใช ถาจะใหดีตองตั้งแต 0.8 ขึ้นไป
                                    ่
      ถาตองการความเชื่อมั่นสูงตองลบขอถามที่แสดงคา Cronbach's Alpha if Item Deleted สูงสุด
ออก
37


                       การประมาณคาและการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
การประมาณคา เปนวิธการอนุมานทางสถิติวิธีหนึ่ง เพื่อจะหาคาที่คาดวานาจะเปนคาของขอมูลทั้งหมดหรือ
                         ี
เรียกวาคาพารามิเตอรของประชากร โดยใชคาของขอมูลตัวอยางที่เรียกวาคาสถิติ
การประมาณคา คือ การประมาณคาพารามิเตอรซึ่งเปนลักษณะของประชากรโดยใชคาสถิติของขอมูล
ตัวอยาง หรืออาจกลาวไดวาเปนการประมาณคาพารามิเตอรดวยคาสถิติ เชน
                           
     ประมาณคาเฉลี่ยประชากร (µ) ดวยคาเฉลี่ยตัวอยาง ( x )
     ประมาณคาสัดสวนหรือรอยละ (π) คาสัดสวนตัวอยาง (p)
     ประมาณคาความแปรปรวนประชาการ (σ2)ดวยคาความแปรปรวนตัวอยาง (s2)
การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เปนวิธีการอนุมานทางสถิติวิธีหนึ่งทีใชตรวจสอบสมมติฐานวิจยที่ผูวจย
                                                                  ่                      ั     ิั
คาดเดา แตการตรวจสอบนันจะไมทํากับสมมติฐานวิจยโดยตรงแตจะเปนการตรวจสอบจากสมมติฐานทาง
                             ้                     ั
สถิติที่ผูทดสอบตั้งขึ้นมาใหสอดคลองกับสมมติฐานวิจยและนําไปสรุปสมมติฐานวิจัย
                                                     ั
หลักเกณฑ การตั้งสมมติฐานทางสถิติ สมมติฐานหลัก (H0) ตองมีเครื่องหมายเทากับรวมอยูดวย
หลักเกณฑ การปฏิเสธหรือยอมรับสมมติฐาน H0
     การทดสอบคาเฉลี่ย การทดสอบคาสัดสวน และการทดสอบคาความแปรปรวน ใชหลักเกณฑเดียวกัน
                             การทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ยสําหรับ 1 กลุมตัวอยาง
                        สมมติฐาน                          เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
             แบบสองทาง           H0 : µ = µ0 Sig. (2-tailed) < α
         (Two-tails Test)    H1 : µ ≠ µ0
         แบบทางเดียว         H0 : µ ≤ µ0     Sig. (2 - tailed)
         (One-tails Test)    H1 : µ > µ0 1.          2         <α
                                         2. t > 0
                             H0 : µ ≥ µ0     Sig. (2 - tailed)
                             H1 : µ < µ0 1.          2         <α
                                         2. t < 0
         หมายเหตุ            1. µ0 เปนคาคงที่
                             2. α ผูวจยเปนผูกําหนด
                                      ิั
                             3. สมมติฐานแบบทางเดียว จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 ก็ตอเมื่อ
                             เงื่อนไขทั้ง 2 ขอเปนจริงเทานั้น
38


               การทดสอบสมมติฐานผลตางระหวางคาเฉลี่ยสําหรับ 2 กลุมตัวอยาง
                     สมมติฐาน                        เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
         แบบสองทาง     H0 : µ1 - µ2 = µ0       Sig. (2-tailed) < α
         (Two-tails Test)   H1 : µ1 - µ2 ≠ µ0
         แบบทางเดียว        H0 : µ1 - µ2 ≤ µ0               Sig. (2 - tailed)
         (One-tails Test)   H1 : µ1 - µ2 > µ0           1.          2         <α
                                                        2. t > 0
                            H0 : µ1 - µ2 ≥ µ0               Sig. (2 - tailed)
                            H1 : µ1 - µ2 < µ0           1.          2         <α
                                                        2. t < 0
         หมายเหตุ           1. µ0 เปนคาคงที่
                            2. α ผูวจยเปนผูกําหนด
                                     ิั
                            3. สมมติฐานแบบทางเดียว จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 ก็ตอเมื่อ
                            เงื่อนไขทั้ง 2 ขอเปนจริง หรือ ขอใดขอหนึ่งไมจริง

                                การทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ย
การทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ยสําหรับ 1 กลุมตัวอยาง
    เปนการศึกษาโดยการตรวจสอบวาคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งของขอมูลเปนไปตามที่คาดหวังหรือ
กําหนดไวหรือไม โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ย คุณลักษณะ เชน อายุ รายได ระดับความพึงพอใจ ฯ ซึ่งถือวา
เปนตัวแปรหนึ่งตัวแปร หรือเรียกไดวา การวิเคราะหขอมูลแบบ 1 ตัวแปร
    ตัวแปรที่นามาทดสอบตองเปนตัวแปรที่คํานวณได คือ ระดับชวง อัตราสวน ระดับเรียงอันดับ
                ํ
    ตัวสถิติที่ใชในการทดสอบ 2 ตัว
    กรณีทราบการกระจาย (σ) ของขอมูลประชากร ใช Z-Test
    กรณีไมทราบการกระจาย (σ) ของขอมูลประชากร แตทราบทราบการกระจายของขอมูลตัวอยาง
    ใช T-Test สําหรับการวิจยจะใชตวนี้ เพราะเปนการวิจยจากขอมูลตัวอยาง
                             ั       ั                    ั
ตัวอยาง
สมมติฐานวิจย ั           คนขับรถแท็กซี่ใน กทม. มีรายไดไมต่ํากวา 1,000 บาท
สมมติฐานทางสถิติ         H0 : รายไดคนขับแท็กซี่ไมต่ํากวา 1,000 บาท
                         H1 : รายไดคนขับแท็กซี่ต่ํากวา 1,000 บาท
กําหนดเปนสัญญาลักษณ H0 : µ ≥ 1,000
                       H1 : µ < 1,000
39


วิธีการหาคา T-Test
     1. เปดไฟล DATA11.sav
     2. เลือกเมนู Analyze -> Compare Means -> One – Sample T Test




        เลือกตัวแปร One-sample [income] คลิกปุม   เก็บไวในบอกซ Test Variable(s)
        Test Value: พิพม 1000
   3.   คลิกปุม Options




        Confidence Interval พิมพ 95
        คลิกปุม Continue
   4.   คลิกปุม OK ไดผลลัพธ
40
41


        ความหมายของผลลัพธ
        One-Sample Statistics
         N                จํานวนขอมูล
         Mean                คาเฉลี่ยของรายได
         Std. Deviation      คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของรายได ที่แสดงการกระจายของขอมูล
         Std. Error          คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของรายได
         Mean
        One-Sample Test
         Test Value = 1000       คาที่ผูทดสอบกําหนดไวในสมมติฐาน
         t, df, Sig.(2-tailed)   คาที่ใชในการตัดสินใจวาจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0
         Mean Difference         ผลตางของคาเฉลี่ยประชากรและคาเฉลี่ยของตัวอยาง คาติดลบ
                                 หมายความวาคาเฉลี่ยตัวอยางนอยกวาคาเฉลี่ยของประชากร
         95% Confidence          คาที่แสดงขอบเขตบนและขอบเขตลางของการประมาณคาผลตาง
                                 ระหวางรายไดเฉลี่ยตัวอยางกับรายไดเฉลี่ยของประชากรที่ชวงความ
                                 เชื่อมั่น 95%

    การตัดสินใจวาจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0 จะตองพิจารณาจาก คา t และ Sig.(2-tailed)
    สําหรับคา t จะอาศัยตารางสถิติมาตรฐาน
    สําหรับคา Sig.(2-tailed) จะพิจารณาตามประเภทของสมมติฐานทางสถิติ
    กรณีกําหนดสมมติฐานแบบสองทาง (Two-tails Test)
        จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อคา Sig.(2-tailed) มีคานอยกวาคา α ที่ผูวิจัยกําหนด
    กรณีกําหนดสมมติฐานแบบทางเดียว (One-tails Test)
        จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อคา Sig.(2-tailed) หารดวย 2 มีคานอยกวาคา α ที่ผูวิจัยกําหนด

    จากตัวอยางไดกําหนดสมมติฐานแบบทางเดียว
    การตัดสินใจปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อคา Sig.(2-tailed) หารดวย 2 มีคานอยกวาคา α ที่ผูวิจัย
กําหนดและ
    คา t < 0
    H0 : µ ≥ 1,000
    H1 : µ < 1,000
42


   ผูทดสอบกําหนดชวงความเชื่อมั่น 95% จะไดคา α = 0.05 คา Sig.(2-tailed) ทีคํานวณไดเทากับ
                                                                            ่
0.387
   เนื่องจากตัวอยางเปนการทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียวกอนที่จะคา α เปรียบเทียบคา Sig.(2-tailed)
   ตองนํา คา Sig.(2-tailed) หารดวย 2 กอน คาจากตัวอยางคือ 0.387/2 = 0.1935 ซึ่งมีคามากคา α ที่
   กําหนดคือ 0.05 (0.1935 > 0.05)
   ดังนันจึงตัดสินใจ ยอมรับสมมติฐาน H0 : µ ≥ 1,000
         ้
   สรุปผลไดวา         รายไดเฉลี่ยของคนขับแท็กซี่ไมต่ํากวา 1,000 บาทที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
43


การทดสอบสมมติฐานผลตางระหวางคาเฉลี่ยสําหรับ 2 กลุมตัวอยาง มี 2 กรณี
   เปนการทดสอบผลตางระหวางคาเฉลี่ยของลักษณะที่สนใจของ 2 กลุมตัวอยางวาแตกตางกันหรือไม
   1. กรณีที่ 2 กลุมตัวอยางเปนอิสระตอกัน
   2. กรณีที่ 2 กลุมตัวอยางเปนแบบจับคู


1. กรณีที่ 2 กลุมตัวอยางเปนอิสระตอกัน
     เปนการศึกษาเปรียบเทียบและตรวจสอบวาคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งของขอมูลระหวาง 2 กลุมมี
ความแตกตางกันหรือไม และถาแตกตางกันนั้นแตกตางกันอยางไร โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ยของคุณลักษณะ
นั้นๆ
     การทดสอบแบบนี้จัดอยูในประเภทของการวิเคราะหขอมูลแบบ 2 ตัวแปร (Bivariate data analysis)
เนื่องจากการทดสอบจะตองใชตัวแปร 2 ตัว คือตัวแปรหนึ่งแทนคุณลักษณะอีกตัวแปรหนึ่งใชแบงกลุม
     ขอมูลตัวแปรคุณลักษณะ ตองคํานวณได คือ ระดับชวงและอัตราสวน
     ขอมูลตัวแปรแบงกลุม ตองคํานวณไมได คือ Nominal, Ordinal

    การทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูล 2 กลุมแบบพาราเมตริก กรณี 2 กลุมเปนอิสระตอกัน
         ขอมูลที่จะทดสอบตองมีคุณสมบัติที่สามารถใชวิธการการทดสอบแบบพาราเมตริก คือ ขอมูลหรือ
                                                       ี
         ตัวแปรที่ตองการทดสอบจะตองมีการแจกแจงแบบปกติหรือใกลเคียงแบบปกติ และสามารถ
คํานวณได
         คือตัวแปรระดับชวงและอัตราสวน
         ตัวสถิติที่ใชทดสอบ
         กรณีทราบการกระจายของขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุม (ทราบ σ1, σ2) ใช Z-Test
         กรณีไมทราบการกระจายของขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุม (ไมทราบ σ1, σ2) ใช T-Test
         ถาผูวิจัยไมทราบการกระจายของขอมูลทัง 2 ประชากร และไมทราบการกระจายแตกตางกัน
                                               ้
หรือไม ให
         ใชขอมูลตัวอยางมาทดสอบเพื่อพิจารณาวาการกระจายของขอมูลประชากรมีความแตกตางกัน
หรือไม
44


โดยกําหนดสมมติฐาน ดังนี้
    H0 : การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมไมแตกตางกัน หรือ H0 : σ1 = σ2
    H1 : การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมแตกตางกัน          หรือ H1 : σ1 ≠ σ2
    ตัวสถิติที่ใชทดสอบคือ F-Test
ตัวอยาง ผูวิจยตองการทราบวาคาใชจายแตละวันระหวางนักศึกษา 2 คณะแตกตางกันหรือไม
               ั
สมมติฐานทางสถิติ         H0 : คาใชจายนักศึกษา 2 คณะไมแตกตางกัน      หรือ H0 : µ1 = µ2
                         H1 : คาใชจายนักศึกษา 2 คณะแตกตางกัน         หรือ H1 : µ1 ≠ µ2
1. เปดไฟล DATA12a.sav
2. เลือกเมนู Analyze -> Compare Means -> Independent Samples T Test
45




     เลือกตัวแปร expenses คลิกปุม   เก็บไวในบอกซ Test Variable(s)
     เลือกตัวแปร faculty คลิกปุม    เก็บไวในบอกซ Grouping Variable
3.   คลิกปุม Define Groups




     Group 1 พิมพ 1
     Group 2 พิมพ 2
     คลิกปุม Continue
4.   คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
46
47


ความหมายของผลลัพธ
Group Statistics
 N                   จํานวนขอมูลของแตละกลุมยอย
                                                
 Mean                คาเฉลี่ยของคาใชจายแตละกลุมยอย
 Std. Deviation      คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาใชจายแตละกลุมยอย
 Std. Error          คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของคาใชจายแตละกลุมยอย
 Mean

ใหพิจารณา 2 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 ตองทําการทดสอบการกระจายของขอมูลประชากรกอนวาแตกตางกันหรือไม
     ใหพิจารณาคาสถิติจากคอลัมน Levene's Test for Equality of Variances
      F         คาสถิติที่คํานวณไดจากขอมูลตัวอยางใชเทียบคาจากตาราง F มาตราฐาน
      Sig. คาความนาจะเปนในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0

การทดสอบการกระจายของขอมูลประชากรกอนวาแตกตางกันหรือไม
     กําหนดสมมติฐานทางสถิติ
     H0 : การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมไมแตกตางกัน หรือ H0 : σ1 = σ2
     H1 : การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมแตกตางกัน             หรือ H1 : σ1 ≠ σ2
     โดยกําหนด α = 0.05
     ใหดูคา Sig. ตรงบรรทัด Equal variances assumed
     คา Sig. ที่คํานวณไดเทากับ 0.336
     จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Sig. มีคานอยกวา α ที่ผูวิจัยกําหนด
     คา Sig. มากกวา α (0.336 > 0.05)
     ดังนันจึงตัดสินใจ ยอมรับสมมติฐาน H0 : σ1 = σ2
          ้
     สรุปผลไดวา             การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมไมแตกตาง
48


ขั้นตอนที่ 2 หลังจากทราบการกระจายของขอมูลวาแตกตางกันหรือไม ใหพิจารณาผลลัพธถัดไป
      ใหพิจารณาคาสถิติจากคอลัมน t-test for Equality of Means
        t, df                       คาสถิติที่คํานวณไดจากขอมูลตัวอยาง
        Sig.(2-tailed)              คาความนาจะเปนในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0
        Mean Difference             คาผลตางระหวางคาเฉลี่ยทั้ง 2 กลุม
        Std. Error Difference       คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของคาผลตาง
        95% Confidence              คาที่แสดงขอบเขตชวงความเชื่อมั่น 95% ของผลตางคาเฉลี่ย
      ถาการกระจายของขอมูลไมแตกตางกัน (σ1= σ2) ใหดแถว Equal variances assumed
                                                            ู
      ถาการกระจายของขอมูลแตกตางกัน(σ1 ≠ σ2) ใหดูแถว Equal variances not assumed
      เพื่อใชในการตัดสินใจของสมมติฐานทางสถิติของการวิจัยตอไป
จากขั้นตอนที่ 1 ทราบวาการกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมไมแตกตางกัน (σ1 = σ2)
ใหดคา Sig.(2-tailed) ตรงบรรทัด Equal variances assumed
     ู 
คา Sig.(2-tailed) ที่คํานวณไดเทากับ 0.719
จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Sig. มีคานอยกวา α ที่ผูวิจัยกําหนด
คา Sig.(2-tailed) มากกวา α (0.719 > 0.05)
ดังนันจึงตัดสินใจ
      ้                   ยอมรับสมมติฐาน H0 : µ1 = µ2
สรุปผลไดวา              คาใชจายของนักศึกษาทั้ง 2 คณะไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
สมมติฐานแบบ 2 ทาง คา 95% สามารถสรุปผลไดวา คาใชจายของนักศึกษาทั้ง 2 คณะไมแตกตาง
กัน ตั้งแต -39.01 ถึง 27.51 บาท ที่ชวงความเชื่อมั่น 95%

จากขั้นตอนที่ 1 สมมติวาการกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมแตกตางกัน (σ1 ≠ σ2)
ใหดูคา Sig.(2-tailed) ตรงบรรทัด Equal variances not assumed
คา Sig.(2-tailed) ที่คํานวณไดเทากับ 0.727
จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Sig. มีคานอยกวา α ที่ผูวิจัยกําหนด
คา Sig.(2-tailed) มากกวา α (0.727 > 0.05)
ดังนันจึงตัดสินใจ
     ้                    ยอมรับสมมติฐาน H0 : µ1 = µ2
สรุปผลไดวา              คาใชจายของนักศึกษาทั้ง 2 คณะไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
49


      สมมติฐานแบบ 2 ทาง คา 95% สามารถสรุปผลไดวา คาใชจายของนักศึกษาทั้ง 2 คณะไมแตกตาง
กัน
      ตั้งแต -40.45 ถึง 28.95 บาท ที่ชวงความเชื่อมั่น 95%
50


          การทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูล 2 กลุมแบบน็อนพาราเมตริก กรณี 2 กลุมเปนอิสระตอกัน
             เปนขอมูลตัวอยางที่จะนํามาทดสอบที่เลือกจากประชากรที่ไมทราบการแจกแจง หรือทราบการ
             แจกแจงแตไมใชการแจกแจงแบบปกติ กลุมตัวอยางที่นามาทดสอบมีจํานวนนอย (นอยกวา
                                                              ํ
30)
               ตัวแปรที่นํามาทดสอบตองเปนขอมูลเชิงปริมาณ(คํานวณได)และตัวแปรเชิงคุณภาพ(คํานวณ
ไมได)
              ตัวสถิติที่ใชในการทดสอบคือ NPar-Test
          ตัวอยาง สมมติฐานทางสถิติ
              H0 : เวลาที่ใชในการทานอาหารของเพศชายและหญิงไมแตกตางกัน หรือ H0 : µ1 = µ2
              H1 : เวลาที่ใชในการทานอาหารของเพศชายและหญิงไมแตกตางกัน หรือ H1 : µ1 ≠ µ2
          1. เปดไฟล DATA12B.sav
          2. เลือกเมนู Analyze -> Nonparametric Test -> 2 Independent Samples




               เลือกตัวแปร minute คลิกปุม    เก็บไวในบอกซ Test Variable(s)
               เลือกตัวแปร sex คลิกปุม       เก็บไวในบอกซ Grouping Variable
          3.   คลิกปุม Define Groups
51




     Group 1 พิมพ 1
     Group 2 พิมพ 2
     คลิกปุม Continue
4.   คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
52


ความหมายของผลลัพธ
Ranks
 sex            ชื่อตัวแปรที่เปนตัวแบงกลุมพรอมแสดงคา
N               จํานวนขอมูลของแตละกลุมยอย
Mean Rank       คาเฉลี่ยของอันดับในแตละกลุม
Sum of Ranks    คาผลรวมของอันดับในแตละกลุม
Test Statistics
 Mann-Whitney U                คาสถิติ U ที่ใชเปรียบเทียบกับคาที่ไดจากตาราง U
                               มาตรฐาน
Wilcoxon W                     คาผลรวมของอันดับที่มีคานอยจะใชคานี้เทียบกับคาที่ได
                               จากตาราง W มาตรฐาน
Z                              คาสถิติ Z ใชแทน U เมื่อขอมูลมีจํานวนมาก
Asymp. Sig. (2-tailed)         คาความนาจะเปนในการยอมรับสมมติฐาน
Exact Sig. [2*(1-tailed        คาความนาจะเปนในการยอมรับสมมติฐาน เมื่อขอมูลมี
Sig.)]
                               จํานวนนอย ถาเปนการทดสอบแบบทางเดียวจะตองนําคา
                               นี้ไปหารดวย 2
53


                จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อคา Asymp. Sig. หรือ Exact Sig. มีคานอยกวาคา α ที่ผูวิจย
                                                                                                     ั
    กําหนด
                จากตัวอยางกลุมตัวอยางมีขนาดเล็กจะพิจารณาจากคา Exact Sig. คือ 0.068 ซึ่งมีคามากกวา
    α ที่
                กําหนดไว 0.05
                การตัดสินไจ ยอมรับสมมติฐาน H0 : µ1 = µ2
                สรุปผลไดวา เวลาที่ใชในการทานอาหารของเพศชายและหญิงไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ
    0.05

2. กรณีที่ 2 กลุมตัวอยางเปนแบบจับคูที่มความสัมพันธกัน
                                           ี
               เปนการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยระหวางกลุม 2 กลุมตัวอยาง เมื่อขอมูลตัวอยางที่จะ
                   ใช
            ทดสอบมีความสัมพันธกัน
               การทดสอบแบบนี้ จะเปนการทดสอบความแตกตางเปนคูๆ โดยแตละคูมีความสัมพันธกน จึง   ั
เรียก
       การทดสอบนีอีกอยางหนึ่งคือ การทดสอบความแตกตางแบบจับคู (Paired Difference Tests)
                    ้
       การพิจารณาวากลุมตัวอยางจะใชการทดสอบแบบจับคูที่มีความสัมพันธกัน ใหพิจารณาจาก
           1. การเปรียบเทียบวิธีการ 2 วิธีกับขอมูลชุดเดียวกัน เชนผลตางของคะแนนกอนอบรมและ
               หลังอบรม ขอมูลที่ไดแตละคูมาจากคนเดียวกัน
           2. การเปรียบเทียบขอมูล 2 ชุดกับคุณสมบัตที่เหมือนกัน เชน นําขาราชการที่มีระดับ
                                                       ิ
               การศึกษาและมีประสบการณในการทํางานเหมือนกันมาเปรียบเทียบเงินเดือนเปนคู
           3. การเปรียบเทียบขอมูล 2 ประเภททีไดมาจากแหลงขอมูลเดียวกัน เชน การเปรียบเทียบ
                                                ่
               ยอดขายสินคา 2 ยี่หอ มาจากรานคา 20 รานคา
           4. การเปรียบเทียบขอมูล 2 ประเภททีไดมาจากชวงเวลาเดียวกัน เชน ยอดขายอาหารของ
                                                  ่
               รานอาหาร 2 ราน ที่ไดในแตละวันในเดือนเดียวกัน
       การทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูล 2 กลุม แบบพาราเมตริก กรณี 2 กลุมตัวอยางมีความสัมพันธกัน
           เปนการทดสอบเมื่อผลตางของขอมูล 2 กลุม มีคุณสมบัติที่สามารถทําการทดสอบแบบพารา
                                                    
    เมตริก
54


       กลาวคือ คาของผลตางที่ไดจากการวัดอยูในระดับชวงหรืออัตราสวน และตองมีการแจกแจงแบบ
                                              
ปกติ
       หรือใกลเคียงแบบปกติ
           ตัวสถิติที่ใชในการทดสอบคือ T-Test
       ตัวอยาง ผูวิจยตองการทดสอบวาการอบรมจะทําใหผูเรียนมีความรูเพิ่มขึ้นหรือไม
                      ั
           กําหนดสมมติฐานทางสถิติ
           H0 : คะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการอบรมไมแตกตางกัน              หรือ H0 : µd = 0
           H1 : คะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการอบรมแตกตางกัน                 หรือ H1 : µd ≠ 0
       1. เปดไฟล DATA13A.sav
       2. เลือกเมนู Analyze -> Compare Means -> Paired-Samples T Test




           เลือกตัวแปร pre และ post คลิกปุม      เก็บไวในบอกซ Paired Variables
55


3.   คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ




     ความหมายของผลลัพธ มี 2 ขั้นตอน
     ขั้นตอนที่ 1 พิจาราณวาขอมูล 2 กลุมมีความสัมพันธกันหรือไม
     Paired Samples Correlations เปนสวนแสดงคาสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ
      Correlation        คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเปยรสัน (r) ที่แสดงถึงความสัมพันธของ 2
                         กลุมที่นํามาทดสอบ คาที่ได 0.972 แสดงวาคะแนนกอนและหลังการ
                         อบรม มีความสัมพันธกันคอนขางสูงและไปในทิศทางเดียวกัน
                        -1 ≤ r ≤ 1
                          บวก ทิศทางเดียวกัน
                          ลบ ทิศทางเดียวตรงขาม
      Sig.                คาความนาจะเปนที่จะใชในการทดสอบสมมติฐานเกียวกับความสัมพันธ
                                                                         ่
                          ภายใตสมมติฐานทางสถิติ ดังนี้
                          H0 : คะแนนทดสอบกอนและหลังการอบรมไมมีความสัมพันธกัน
                          H1 : คะแนนทดสอบกอนและหลังการอบรมมีความสัมพันธกัน
     คา Sig. เทากับ 0.000 มีคานอยกวาคา α ที่ผูทดสอบกําหนดคือ 0.05
56


        การตัดสินใจ ปฏิเสธสมมติฐาน H0 ยอมรับ H1
        สรุปผลไดวา คะแนนกอนและหลังการอบรมมีความสัมพันธกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ
0.05
        ถาขอมูล 2 กลุมไมมีความสัมพันธกัน ไมควรใชกรณีนทดสอบ และไมตองดูผลลัพธในสวน
                                                            ้ี           
ถัดไป
57


ขั้นตอนที่ 2 ขอมูล 2 กลุมมีความสัมพันธกัน
Paired Samples Test แสดงคาสถิติสําหรับใชในการทดสอบคาเฉลี่ย
 Mean                     คาเฉลี่ยของผลตางระหวางคะแนนกอนและหลังการอบรม
 Std. Deviation           คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลตาง
 Std. Error Mean          คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของผลตาง
 95% Confidence           คาที่แสดงขอบเขตชวงความเชื่อมั่น 95% ของผลตางคาเฉลี่ย
 t, df                    คาสถิติที่คํานวณไดจะใชเทียบกับคาจากตารางมาตรฐาน
 Sig.(2-tailed)           คาความนาจะเปนในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0
คา Sig.(2-tailed) เทากับ 0.060 มีคามากกวาคา α ที่ผูวิจัยกําหนดคือ 0.05
การตัดสินใจ ยอมรับสมมติฐาน H0
สรุปผลไดวา คะแนนกอนและหลังการอบรมไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
58


การทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูล 2 กลุม แบบน็อนพาราเมตริก กรณี 2 กลุมตัวอยางมีความสัมพันธกัน
   ตัวแปรที่ทดสอบหรือผลตางของตัวแปรที่จะทดสอบมีการวัดเพียงระดับเรียงอันดับเทานั้น
   ตัวสถิติที่ใชในการทดสอบคือ Wilcoxon matched-pairs signed-rank test ซึ่งเปน
   การทดสอบเชิงอันดับ
   ตัวอยาง ผูวิจัยตองการทดสอบความแตกตางของจํานวนสินคาทีไมมีคุณภาพระหวางผูที่มีและ
                                                              ่
            ไมมีประสบการณในการทํางาน
   กําหนดสมมติฐานทางสถิติแบบสองทาง
       H0 : จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงาน 2 กลุมมีจํานวนเฉลี่ยไมแตกตางกัน
       H1 : จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงาน 2 กลุมมีจํานวนเฉลี่ยแตกตางกัน
   กําหนดเปนสัญญาลักษณทางสถิติ
       H0 : µไมมี = µมี
       H1 : µไมมี ≠ µมี
   กําหนดสมมติฐานทางสถิติแบบทางเดียว
       H0 : จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงานที่ไมมีประสบการณมีจํานวนเฉลี่ย
            นอยกวาหรือเทากับที่ผลิตโดยคนงานที่มประสบการณ
                                                  ี
       H1 : จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงานที่ไมมีประสบการณมีจํานวนเฉลี่ย
            มากกวาที่ผลิตโดยคนงานที่มีประสบการณ
   กําหนดเปนสัญญาลักษณทางสถิติ
       H0 : µไมมี ≤ µมี
       H1 : µไมมี > µมี
   การใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูล
   1. เปดไฟล DATA13B.sav
   2. เลือกเมนู Analyze -> Nonparametric Test -> 2 Related Samples
59




เลือกตัวแปร exp และ non_exp คลิกปุม   เก็บไวในบอกซ   Test Pair(s) List
60


   3.    คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ




         ความหมายของผลลัพธ
         Wilcoxon Signed Ranks Test เปนสวนแสดงคาสถิตของการจัดอันดับของผลตางระหวาง
                                                       ิ
ตัวแปร
          N                  แสดงจํานวนคูของผลตางระหวางตัวแปร
          Negative Ranks     จํานวนคูของตัวแปรที่เปนตัวลบ นอยกวา ตัวตั้ง
          Positive Ranks     จํานวนคูของตัวแปรที่เปนตัวลบ มากกวา ตัวตั้ง
          Ties               จํานวนคูของตัวแปรที่เปนตัวลบ เทากับ ตัวตั้ง
          Total              จํานวนคูทั้งหมด
         Mean Rank          คาเฉลี่ยของอันดับในแตละกลุม
         Sum of Ranks       คาผลรวมของอันดับในแตแตละกลุม
61


            Test Statistics เปนสวนแสดงคาสถิติ Wilcoxon ที่ใชในการทดสอบความแตกตางของ
คาเฉลี่ย
             Z                        คาสถิติ Z ใชแทนคา Wilcoxon เมื่อขอมูลมีจํานวนมาก คา Z
                                      จากคูที่มีผลตางเปนลบ จะใชคานี้สําหรับการสรุปผลที่ตองอาศัย
                                      ตารางสถิติมาตรฐานของ Z
             Asymp. Sig. (2-tailed)   คาความนาจะเปนในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน โดยไม
                                      ตองใชอาศัยตารางสถิติมาตรฐาน
62


       การสรุปผล
       กรณีที่กําหนดสมมติฐานแบบสองทาง              H0 : µไมมี = µมี
                                                   H1 : µไมมี ≠ µมี
                                                   เมื่อกําหนด α เปน 0.05
       จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Asymp. Sig. มีคานอยกวา α ที่ผูวจัยกําหนด
                                                                         ิ
       จากตัวอยาง คา Asymp. Sig. เทากับ 0.005 มีคานอยกวา α ที่กําหนดไวคือ 0.05
       การตัดสินใจ ปฏิเสธสมมติฐาน H0 : µไมมี = µมี ยอมรับ H1 : µไมมี ≠ µมี
       สรุปผลไดวา จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงาน 2 กลุมมีจานวนเฉลี่ยแตกตางกัน
                                                                           ํ

       กรณีที่กําหนดสมมติฐานแบบทางเดียว            H0 : µไมมี ≤ µมี
                                                   H1 : µไมมี > µมี
                                                   เมื่อกําหนด α เปน 0.05
       จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Asymp. Sig. หารดวย 2 มีคานอยกวา α ที่ผูวิจัยกําหนด
       จากตัวอยาง คา Asymp. Sig. เทากับ 0.005/2 = 0.0025 มีคานอยกวา α ที่กําหนดไวคือ
0.05
       การตัดสินใจ ปฏิเสธสมมติฐาน H0 : µไมมี = µมี ยอมรับ H1 : µไมมี ≠ µมี
       สรุปผลไดวา จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพ ซึ่งผลิตโดยคนงานที่ไมมีประสบการณจะมีจานวน
                                                                                      ํ
                    มากกวาผูที่มประสบการณที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
                                  ี
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)Pochchara Tiamwong
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีdokdai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystemChapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystemjarinyaicy
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลDuangnapa Inyayot
 
บทละครวันแม่
บทละครวันแม่บทละครวันแม่
บทละครวันแม่PT Protae
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาyah2527
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แบบระบายสี ธงประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสี ธงประจำชาติอาเซียนแบบระบายสี ธงประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสี ธงประจำชาติอาเซียนKansinee Kosirojhiran
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5T'Rak Daip
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8juckit009
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนsupphawan
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 

Tendances (20)

บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
สูจิบัตรแข่งขันกีฬาเขต สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557 (แก้ไข 17 ก.ค. 57)
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
 
วิธีการสอนแบบบรรยาย
วิธีการสอนแบบบรรยายวิธีการสอนแบบบรรยาย
วิธีการสอนแบบบรรยาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
 
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystemChapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
 
ประวัตินางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
ประวัตินางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีประวัตินางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
ประวัตินางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทละครวันแม่
บทละครวันแม่บทละครวันแม่
บทละครวันแม่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
แบบระบายสี ธงประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสี ธงประจำชาติอาเซียนแบบระบายสี ธงประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสี ธงประจำชาติอาเซียน
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 

En vedette

สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpsskuankaaw
 
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้นSaard Keao
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSเบญจวรรณ กลสามัญ
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)N/A
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลErrorrrrr
 
สมมุติฐานการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัยสมมุติฐานการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัยguesteecd7
 
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบการเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบSriprapai Inchaithep
 
T test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวT test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวBanbatu Mittraphap
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tJaturapad Pratoom
 

En vedette (20)

สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
ออราเคิล (Oracle) Statspack (ติดตั้งและใช้งานเบื้องต้น)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
spss_t-test
spss_t-testspss_t-test
spss_t-test
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
สมมุติฐานการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัยสมมุติฐานการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัย
 
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบการเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
 
Reviews week1
Reviews week1Reviews week1
Reviews week1
 
T test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียวT test แบบกลุ่มเดียว
T test แบบกลุ่มเดียว
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 

Similaire à การใช้โปรแกรม Spss

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
Chapter 2 data
Chapter 2 dataChapter 2 data
Chapter 2 dataphakhwan22
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminskiats
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryErrorrrrr
 

Similaire à การใช้โปรแกรม Spss (20)

สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
9 spss
9 spss9 spss
9 spss
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
Chapter 2 data
Chapter 2 dataChapter 2 data
Chapter 2 data
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
Ass1 1
Ass1 1Ass1 1
Ass1 1
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 

การใช้โปรแกรม Spss

  • 1. การใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติเพื่อการวิจัย  รวบรวมโดย งานวิจัยและพัฒนา ฝายวางแผนและพัฒนา วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค
  • 2. 2 การใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติเพือการวิจัย ่ SPSS ยอมาจาก Statistical Package for Social Science โปรแกรม SPSS ที่ใชในการอบรมครั้งนี้จะใช SPSS for Windows Version 12.0 การติดตั้งโปรแกรม 1. นําแผนซีดีโปรแกรม SPSS for Windows Version 12.0 ใสซีดีรอมไดรฟ 2. ดับเบิลคลิก My Computer 3. ดับเบิลคลิกซีดีรอมไดรฟ 4. ดับเบิลคลิกโฟลเดอร SPSS v12.0 5. ดับเบิลคลิกไอคอน SPSS12.exe 6. คลิกปุม Next แลวรอ 7. คลิกปุม Next 8. คลิกตรงวงกลมหนา I accept the terms in the license agreement 9. คลิกปุม Next 6 ครั้ง 10. คลิกปุม Install แลวรอ 11. คลิกปุม Finish 12. คลิก Start -> Run 13. ตรงบรรทัด Open ใหพิมพ C:Program FilesSPSSlicrenew.exe กดปุม OK 14. ปรากฏหนาจอ ใหพิมพ 30066743322 กด Enter ใหพิมพ 30066743322 กด Enter กด Enter การเรียกใชโปรแกรม คลิก Start -> All Programs -> SPSS for Windows -> SPSS 12.0 for Windows ถาปรากฏหนาจอ What would you like to do? ใหคลิกสี่เหลี่ยมดานลางซายใหมีเครื่องหมายถูก แลวคลิกปุม OK คลิกปุม Cancel
  • 3. 3 หมายเหตุ กรณีปรากฏหนาจอ ถาตองการไมใหปรากฏหนาจอนี้ 1. ดับเบิลคลิก My Computer 2. ตรงบรรทัด Address ใหพิมพ C:Program FilesSPSS แลวกด Enter 3. เลื่อน Vertical Scroll Bar จนปรากฏชื่อไฟล expoff.bat 4. ดับเบิลคลิกตรงไฟล expoff.bat 5. ปดหนาจอ Windows ของ SPSS มี 5 ประเภท 1. Data ไฟลนามสกุล sav ใชเพิ่ม/แกไข/ลบ ขอมูล หรือ เรียกขอมูล ที่ปอนจากโปรแกรมอื่นๆ 2. Output ไฟลนามสกุล spo เพื่อใหแสดงผลลัพธในรูปแบบ Graphics 3. Syntax ไฟลนามสกุล sps ใชพิมพคําสั่งหาคาทางสถิติ แทนการใชเมนู 4. Draft Output ไฟลนามสกุล rtf เพื่อใหแสดงผลลัพธในรูปแบบ Text 5. Script ไฟลนามสกุล sbs ใชเขียนโปรแกรมคําสั่งหาคาทางสถิติ หมายเหตุ ในการอบรมใช Windows เฉพาะขอ 1 และขอ 2 สวนคําสั่งหาคาทางสถิติจะใชเมนู การปอนขอมูลจากหนาจอ Data มีขั้นตอน 1. เปดหนาจอ SPSS Data Editor เลือกเมนู File -> New -> Data 2. การกําหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปร จากหนาจอ Variable View 3. ปอนขอมูล จากหนาจอ Data View 4. บันทึกขอมูล เลือกเมนู File -> Save ตองการใหหนาจอ Data แสดงภาษาไทย ใหการแกไขฟอนต ดังนี้ เลือกเมนู View -> Fonts
  • 4. 4 เลือก Font และ Size ตามที่ตองการ แลวคลิกปุม OK หมายเหตุ ชื่อฟอนตท่เี ปนภาษาไทยสวนใหญจะลงทายดวย UPC
  • 5. 5 ตัวอยางขอมูล ชื่อตัวแปร sex ประเภทตัวเลข ความกวาง 1 ไมมีจุดทศนิยม เลเบล เพศ การกําหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปร จากหนาจอ Variable View ที่หนาจอ SPSS Data Editor เรียกหนาจอ Variable View ทําได 2 วิธี 1. ดับเบิลคลิกตรงคอลัมนของบรรทัดแรก 2. คลิกแถบ Variable View ที่อยูดานลาง 1. Name ชื่อตัวแปร ใหพิมพตรงคอลัมน Name เชน Sex 2. Type ประเภทของตัวแปร เลือก Numeric Width=1 Decimal Places=0 คลิกปุม OK 3. Label กําหนดขอความขยายชื่อตัวแปร เพื่ออธิบายชื่อตัวแปรและแสดงออกทางผลลัพธ ใหพิมพตรงคอลัมน Label เชน เพศ 4. Values กําหนดคําอธิบายใหกับคาตัวแปร
  • 6. 6 Missing กําหนดคาที่ไมนําไปวิเคราะห มี 2 แบบ 5.1 User Missing ผูวิจัยเปนผูกําหนด เชน 9, 99, 999, … 5.2 System Missing โปรแกรมจะกําหนดใหเอง 5. Column จํานวนความกวางของคอลัมน คือจํานวนความกวางมากสุดของ คาตัวแปร หรือ ชื่อตัว แปร หรือ label ตัวแปร จากตัวอยาง ชือตัวแปร และ label ตัวแปร มีความกวางมากสุดเทากับ 3 ่ ใหพิมพ 4 (ความกวางมากสุดเทากับ 3 บวกเผื่อไว 1) 6. Align ใหแสดงคาตัวแปร ชิดซาย กึ่งกลาง ชิดขวา 7. Measure ระดับการวัดของขอมูล 7.1 Scale (Interval, Ratio) 7.2 Ordinal 7.3 Nominal ใหกําหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปรใหครบทุกตัว
  • 7. 7 ปอนขอมูล จากหนาจอ Data View Data View เปนแบบตาราง การปอนขอมูลจะคลายกับ Excel บรรทัดแรก จะเปนชื่อตัวแปร บรรทัดตอไป จะเปนขอมูล ดูจํานวนขอมูล ไปรายการสุดทาย กดปุม Ctrl+End กลับไปรายการแรก กดปุม Ctrl+Home การ Show Label (View -> Value Labels)
  • 8. 8 การนําขอมูลเขาจาก Excel ใหก็อปปไฟลทุกไฟลที่อยูในโฟลเดอร train_spssdata จากแผนซีดี ไปเก็บไวที่โฟลเดอร   C:train_spssdata เงื่อนไข 1. ไฟลที่จะนําเขาตองไมเปดคางไวที่ Excel 2. ขอมูลที่ปอนใน Excel ตองเปนแบบ Numeric ไมเปนแบบ String เชน ‘1 3. บรรทัดแรก ตองเปนชื่อตัวแปร บรรทัดตอที่ 2 เปนตนไปจะเปนขอมูล การนําเขา 1. เลือกเมนู File -> Open -> Data File of type เลือก Excel (*.xls) Look in เลือก C:train_spssdatatinybus.xls คลิกปุม Open คลิกปุม OK 2. เลือกเมนู File -> Save As
  • 9. 9 Save as type เลือก SPSS (*.sav) Save in เลือกชื่อ Drive ตามดวยชื่อพื้นที่ใน Harddisk เชน C:train_spssdata File name พิมพชื่อไฟล เชน tinybus คลิกปุม Save หลังจากที่ไดไฟล tinybus.sav สิ่งแรกที่ตองทําคือ กําหนดรายละเอียดแตละตัวแปร 
  • 10. 10 การเปลี่ยนแปลงขอมูลกอนนําไปวิเคราะหขอมูลทางสถิติ 1. การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร 2. การสรางตัวแปรใหมจากการคํานวณและเงื่อนไข 3. การเลือกขอมูลมาทําการวิเคราะห 4. การดําเนินการอื่นๆ กับขอมูล 1. การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร 1.1 ตองการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวแปรใดให ดับเบิลคลิกที่ชื่อตัวแปร จากหนาจอ Data View 1.2 ตองการเปลี่ยนคาตัวแปร ทําได 2 ลักษณะ 1.2.1 การเปลี่ยนคาในตัวแปรเดิม วิธีนี้ไมเปนทีนยม ่ ิ 1.2.2 การเปลี่ยนคาและสรางเปนตัวแปรใหม ที่หนาจอ Data View เลือกเมนู Transform -> Recode -> Into Different Variables ตัวอยาง เปลี่ยนคาตัวแปร sex จาก 1 เปน 3, 2 เปน 4 สรางตัวแปรใหมชื่อ newsex คอลัมนซายของหนาจอเลือกตัวแปร SEX คลิกปุม คอลัมน Output Variable Name พิมพ newsex Label พิมพ ตัวแปรเพศใหม คลิกปุม Change คลิกปุม Old and New Values
  • 11. 11 คอลัมน Old Value Value พิมพ 1 คอลัมน New Value Value พิมพ 3 คลิกปุม Add คอลัมน Old Value Value พิมพ 2 คอลัมน New Value Value พิมพ 4 คลิกปุม Add คลิกปุม Continue คลิกปุม OK ตัวแปรใหม newsex จะตอจากคอลัมนสุดทาย ตัวอยาง เปลี่ยนคาตัวแปร age โดยกําหนดเปนชวง และสรางตัวแปรใหมชื่อ newage 1 เทากับ นอยกวา 25 ป 2 เทากับ 25 ป ถึง 34 ป 3 เทากับ 35 ป ถึง 44 ป 4 เทากับ ตั้งแต 45 ปขึ้นไป เลือก Range Lowest through พิมพ 25 Value พิมพ 1 คลิกปุม Add เลือก Range พิมพ 25 through พิมพ 34 Value พิมพ 2 คลิกปุม Add
  • 12. 12 เลือก Range พิมพ 35 through พิมพ 44 Value พิมพ 3 คลิกปุม Add เลือก Range พิมพ 45 through highest Value พิมพ 4 คลิกปุม Add คลิกปุม Continue คลิกปุม OK
  • 13. 13 2. การสรางตัวแปรใหมจากการคํานวณและเงื่อนไข ตัวอยาง เปดไฟล DATA.sav สรางตัวแปรใหมชื่อ newincome โดยเพิ่มรายไดขน 10% จากตัวแปร ึ้ income เฉพาะเพศหญิง เลือกเมนู Transform -> Compute Target Variable พิมพ newincome เลือกตัวแปร income คลิกปุม Numeric Expression พิมพ income * 1.1 คลิกปุม Type & Label Label พิมพ เพิ่มรายไดเพศหญิง คลิกปุม Continue
  • 14. 14 คลิกปุม If เลือกตัวแปร sex คลิกปุม เลือก Include if case satisfies condition พิมพ sex = 2 คลิกปุม Continue คลิกปุม OK 3. การเลือกขอมูลมาทําการวิเคราะห ปกติโปรแกรมนําขอมูลทั้งหมดใน Data View มาทําการวิเคราะห ถาผูวิจัยตองการเลือกขอมูลบางชุด มาทําการวิเคราะห ใหเลือกเมนู Data -> Select Cases
  • 15. 15
  • 16. 16 All cases ขอมูลทั้งหมด ทุกชุด ทุกตัวแปร If condition is satisfied เลือกชุดขอมูลตามเงื่อนไขทีกําหนด ่ Random sample of cases เลือกขอมูลดวยวิธีสุมโดยกําหนดจํานวนชุดขอมูลที่ตองการจากการสุม  โดยประมาณ (Approximately) หรือ จํานวนชุดขอมูลที่แนนอน (Exactly) Base on time or cases range เลือกชุดขอมูลโดยใชลําดับของชุดขอมูลเปนตัวกําหนด Use Filter variable เลือกชุดขอมูลโดยใชคาของตัวแปรที่มีอยูเปนตัวกําหนด Unselected Cases Are Filtered เปนการเลือกชุดขอมูลแบบชั่วคราว ถาตองการกลับมาเลือกขอมูลทั้งหมด ใหเลือกเมนู Data -> Select Cases -> All case Deleted เปนการเลือกชุดขอมูลแบบถาวร โดยที่ขอมูลที่ไมถูกเลือกจะถูกลบออกจาก Data View แตไมมีผลตอขอมูลของไฟลขอมูลเดิมถาไมบันทึก ตัวอยาง ตองการเลือกชุดขอมูลเฉพาะเพศชาย เลือกตัวแปร sex เลือก If condition is satisfied คลิกปุม If เลือกตัวแปร sex คลิกปุม พิมพ sex = 1 คลิกปุม Continue เลือก Deleted คลิกปุม OK
  • 17. 17 หมายเหตุ 1. หามสั่งบันทึก จากเมนู File -> Save เพราะจะทําใหขอมูลเดิมสูญหาย 2. ถาตองการนําชุดขอมูลนี้ไปวิเคราะหครั้งตอไป ใหบันทึกชื่อไฟลใหม จากเมนู File -> Save As
  • 18. 18 4. การดําเนินการอื่นๆ กับขอมูล การเรียงลําดับขอมูล เลือกเมนู Data -> Sort Cases การกําหนดน้ําหนักแกชดขอมูล ุ เลือกเมนู Data -> Weight Cases การสลับที่ตัวแปรและชุดขอมูล เลือกเมนู Data -> Transpose การแบงขอมูลเปนกลุมยอย เลือกเมนู Data -> Split File การเปลี่ยนแปลงขอมูลของโปรแกรม เลือกเมนู Edit -> Options
  • 19. 19 การวิเคราะหหาสถิติพื้นฐาน การสรางตารางแจกแจงความถี่แบบทางเดียว เปนการแจกแจงขอมูลตามลักษณะใดลักษณะหนึ่งของขอมูลเพียงลักษณะเดียว หรือจําแนกคาของ ขอมูลโดยใชตวแปรตัวเดียว ั ตัวอยาง ตองการทราบความถี่ของระดับการศึกษา 1. เปดไฟลขอมูล data.sav 2. เลือกเมนู Analyze -> Descriptive Statistics -> Frequencies เลือกตัวแปร Level of education คลิกปุม หมายเหตุ โปรแกรมจะแสดง Label แทนชื่อตัวแปร คลิกปุม OK จะไดผลลัพธดังนี้
  • 20. 20
  • 21. 21 ความหมายของผลลัพธ คอลัมนท่ี 1 บอกจํานวนขอมูล Valid จํานวนขอมูลที่นํามาแจกแจงความถี่ Missing จํานวนขอมูลที่ไมสมบูรณ Total จํานวนขอมูลทั้งหมด คอลัมนที่ 2 แสดงชื่อตัวแปร หรือ Label ของตัวแปร ตามคาที่เปนไปไดของตัวแปร คอลัมนที่ 3 Frequency คือ คาที่แสดงความถี่ท่นับได ี คอลัมนท่ี 4 Percent คือ คาที่แสดงความถี่ท่นับไดในรูปรอยละ คิดจากขอมูลทั้งหมด ี คอลัมนที่ 5 Valid Percent คือ คาที่แสดงความถี่ท่นับไดในรูปรอยละ ไมรวมคา Missing ี คอลัมนที่ 6 Cumulative Percent คือ คาที่แสดงความถี่สะสมของ Valid Percent การสรางตารางแจกแจงความถี่แบบหลายทาง เปนการจําแนกขอมูลตามลักษณะของขอมูลตั้งแต 2 ลักษณะมาแจกแจงความถี่พรอมกัน เรียกวา ตารางแจกแจงความถี่รวม (Cross tab Table) ตัวอยาง ตารางแจกแจงความถี่ จําแนกตามเพศและระดับการศึกษา เลือกเมนู Analyze -> Descriptive Statistics -> Crosstabs
  • 22. 22 เลือกตัวแปร sex คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Row(s) เลือกตัวแปร Level of education คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Column(s) คลิกปุม Cells ตรง Percentages เลือก Row, Column, Total คลิกปุม Continue คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
  • 23. 23
  • 24. 24 ความหมายของผลลัพธ sex หมายถึง ตัวแปรทีแจกแจงทางดานแถว ่ Level of education หมายถึง ตัวแปรที่แจกแจงทางดานคอลัมน Count 19 จํานวนที่นับได มีเพศชายที่จบการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรี 19 คน % within 30.6% จํานวนรอยละเมื่อ มีเพศชายที่จบการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรีคิดเปน sex เทียบกับเพศชาย 30.6 % ของเพศชายทั้งหมด (62 คน) % within 63.3% จํานวนรอยละเมื่อ มีเพศชายที่จบการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรีคิดเปน Level of education เทียบกับระดับ 63.3 % ของเพศที่จบต่ํากวาปริญญาตรีทั้งหมด (30 การศึกษา คน) % of Total 19.4% จํานวนรอยละเมื่อ มีเพศชายที่จบการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรีคิดเปน เทียบกับขอมูล 19.4 % ของขอมูลทั้งหมด (100 คน) ทั้งหมด การแจกแจงความถี่แบบ Multiple Response เปนการจําแนกหรือการแจกแจงความถี่สําหรับตัวแปรทีมีคาไดหลายลักษณะ คือขอถามมีการตอบ ่ มากกวา 1 ขอ ตัวอยาง ขอถาม ทานชมรายการทีวีใดบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ตัวแปร v6a ขาว/สารคดี ตัวแปร v6b ละคร ตัวแปร v6c เพลง ตัวแปร v6d เกมโชว คาของตัวแปร 1 ผูตอบเลือกตัวเลือก 9 ผูตอบไมเลือกตัวเลือก เลือกเมนู Analyze -> Multiple Response -> Define Sets
  • 25. 25
  • 26. 26 เลือกตัวแปร v6a คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Variables in Set เลือกตัวแปร v6b คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Variables in Set เลือกตัวแปร v6c คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Variables in Set เลือกตัวแปร v6d คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Variables in Set ตรง Variables Are Coded As เลือก Dichotomies Counted value ปอน 1 ในชองสี่เหลี่ยม Name ใหพิมพชื่อตัวแปรใหมชื่อ tv Label ใหพิมพคําอธิบายตัวแปร รายการทีชอบ ่ คลิกปุม Add คลิกปุม Close เลือกเมนู Analyze -> Multiple Response -> Frequencies เลือกตัวแปร รายการที่ชอง [$tv] คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Table(s) for คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
  • 27. 27 การบรรยายลักษณะขอมูลดวยคาสถิตเิ บื้องตน การอธิบายหรือบรรยายลักษณะขอมูลดวยคาสถิติเบื้องตน เปนการนําขอมูลที่เก็บรวบรวม นํามา ดําเนินการหาคาที่จะเปนตัวแทนของกลุมขอมูล คาสถิติเบื้องตนที่หาไดจะใชอธิบายหรือบรรยายกลุมขอมูลในรูปของผลสรุปแทนที่จะนําขอมูลทั้งหมด มานําเสนอ ขอมูลที่จะนํามาหาคาสถิติเบื้องตนสามารถใชไดทั้งขอมูลประชากร (Population) และขอมูล ตัวอยาง (Sample) ขอมูลที่จะนํามาหาคาสถิติเบื้องตนตองเปนขอมูลที่มีการวัดอยูในระดับอัตราสวนหรือระดับชวง บาง  กรณีอาจจะใชขอมูลระดับเรียงอันดับ การหาคาสถิตเิ บื้องตนจําแนกได 4 วิธี 1. การหาคาแนวโนมเขาสูสวนกลาง (Central Tendency) 1.1 คาเฉลี่ย (Mean) เชน คาเฉลี่ยแบบเลขคณิต (Arithmetic Mean or Average, A.M), คาเฉลี่ยแบบเรขาคณิต (Geometric Mean, F.M), คาเฉลี่ยแบบฮารโมนิก (Harmonic Mean, H.M) 1.2 ฐานนิยม (Mode) 1.3 คาแสดงตําแหนงของขอมูล (N-Tiles) เชน มัธยฐาน (Median), ควอไทล (Quartiles), เดไซล (Deciles) และเปอรเซ็นตไทล (Percentiles) 2. การหาคาการกระจายขอมูล (Dispersion) 2.1 พิสัย (Range) 2.2 สวนเบี่ยงเบนควอไทล (Quartile Deviation) 2.3 สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation) 2.4 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviaion) 2.5 สัมประสิทธิ์ของการแปรผันหรือการกระจาย (Coefficient of Variation) 3. การหาคาคะแนนมาตรฐาน (Standard Score) 4. การหาคาแสดงรูปรางของโคงความถี่ (Frequencies Curve, Distribution) 4.1 โคงปกติ (Normal Curve) 4.2 โคงเบ (Skewness Curve) เชน โคงเบซาย, โคงเบขวา
  • 28. 28 การหาคาสถิตเิ บื้องตนแบบไมจําแนกกลุม จากไฟล DATA.sav ตัวแปรที่สามารถคํานวณไดคือ age, income ตัวอยาง คํานวณหาคาสถิตเิ บืองตน ตัวแปรอายุ ้ เลือก Analyze -> Descriptive Statistics -> Descriptives เลือกตัวแปร age คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Variable(s) คลิกปุม Options ใหเลือกคาสถิติตามรูป คลิกปุม Continue คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
  • 29. 29
  • 30. 30 ความหมายของผลลัพธ age ชื่อตัวแปรอายุที่ตองการหาคาสถิติเบื้องตน N Statistic จํานวนขอมูลทั้งหมดไมรวม Missing Range Statistic คาพิสัย Minimum Statistic คาต่ําสุดของอายุ Maximum Statistic คาสูงสุดของอายุ Sum Statistic คาผลรวมของอายุ Mean Statistic คาอายุเฉลี่ย Std. Error คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของคาเฉลี่ย Std. Statistic คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แสดงถึงการกระจายของขอมูล Variance Statistic คาความแปรปรวนของขอมูล Skewness Statistic คาที่ใชวัดความเบของโคงความถี่ วาโคงปกติหรือโคงเบซายหรือโคงเบ ขวา Skewness = 0 หรือใกลศูนย โคงปกติ Skewness < 0 โคงเบซาย Skewness > 0 โคงเบขวา Std. Error คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของ Skewness Kurtosis Statistic คาที่ใชวัดความสูงของโคงปกติ Kurtosis = 0 หรือใกลศูนย สูงปกติ Kurtosis < 0 สูงมาก Kurtosis > 0 สูงนอย Std. Error คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของ Kurtosis การหาคาสถิตเิ บื้องตนแบบจําแนกกลุม เปนการหาคาสถิติเบื้องตนของขอมูลแตละกลุมยอยเพื่อนํามาเปรียบเทียบกัน เชน หาอายุเฉลี่ยระหวาง เพศชายและหญิง เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผูบริโภคอาชีพตางๆ  ตัวแปรที่ใชหาคาสถิติเบื้องตนตองคํานวณได คือ ระดับชวงหรืออัตราสวนหรือระดับเรียงอันดับ ตัวแปรที่นํามาใชเปนตัวแปรกลุมควรเปนตัวแปรระดับนามบัญญัตหรือเรียงอันดับ ิ ตัวอยาง ตองการคํานวณหาคาสถิติเบื้องตนของอายุเฉลี่ย จําแนกตามเพศ
  • 31. 31 เลือกเมนู Analyze -> Compare Means -> Means เลือกตัวแปร age คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Dependent List เลือกตัวแปร sex คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Independent List
  • 32. 32 คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ ความหมายของผลลัพธ age ชื่อตัวแปรที่ถกนํามาคํานวณหาคาสถิติเบืองตน ู ้ sex ชื่อตัวแปรที่ถกกําหนดใหเปนตัวแบงกลุม ู Male คาของตัวแปร sex Female คาของตัวแปร sex Mean คาเฉลี่ยของตัวแปร age ในแตกลุมของตัวแปร sex N จํานวนขอมูล ในแตละกลุมของตัวแปร sex Std. Deviation คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร age ในแตละกลุมของตัวแปร sex
  • 33. 33 การตรวจสอบเครื่องมือและขอมูลที่ใชในการวิจัย งานวิจัยสิงที่ถอวาสําคัญที่สุด คือ ขอมูล กอนที่จะนําขอมูลไปวิเคราะหจะตองตรวจขอมูลกอน ่ ื ตัวอยางเครื่องมือในงานวิจย เชน แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม แบบสํารวจ เครื่องทอลอง ฯ ั การหาความเชือมั่นของแบบสอบถามที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ่ ตัวอยาง ผูวิจัยตองการหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามที่สํารวจจากผูใชบริการรถเมล ขสมก. จํานวน   20 คําถาม มีผลตอบ 15 คน การใชโปรแกรมชวยในการหาคาความเชือมั่น ดังนี้ ่ 1. เปดไฟล DATA10A.sav 2. เลือกเมนู Analyze -> Scale -> Reliability Analysis เลือกตัวแปรทีตองการความเชื่อมั่น เลือกทุกตัวคลิกปุม ่ Model เลือก Alpha ซึ่งเปนวิธีทดสอบของ Cronbach 3. คลิกปุม Statistics
  • 34. 34 เลือก Scale if item deleted คลิกปุม Continue 4. คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
  • 35. 35
  • 36. 36 ความหมายของผลลัพธ Cronbach’s Alpha คาความเชื่อมั่นของเครื่องมือเทากับ .606 คอลัมนที่ 1 คือ ตัวแปรขอถาม Scale Mean if Item Deleted คาคะแนนเฉลี่ยรวมทุกขอถามที่เหลือหลังจากลบขอถาม บรรทัดนี้ออก Scale Variance if Item Deleted คาความแปรปรวนรวมทุกขอถามที่เหลือหลังจากลบ ขอถามบรรทัดนี้ออก Corrected Item-Total Correlation คาสัมประสิทธิ์ความสัมพันธระหวางคะแนนรวมทุก ขอถามกับขอถาม Cronbach's Alpha if Item Deleted คาระดับความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่เหลือหลังจากขอถาม บรรทัดนี้ออก สรุป เครื่องมือที่ใชมีความเชือมั่นเทากับ 0.606 อยูในระดับที่พอใช ถาจะใหดีตองตั้งแต 0.8 ขึ้นไป ่ ถาตองการความเชื่อมั่นสูงตองลบขอถามที่แสดงคา Cronbach's Alpha if Item Deleted สูงสุด ออก
  • 37. 37 การประมาณคาและการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ การประมาณคา เปนวิธการอนุมานทางสถิติวิธีหนึ่ง เพื่อจะหาคาที่คาดวานาจะเปนคาของขอมูลทั้งหมดหรือ ี เรียกวาคาพารามิเตอรของประชากร โดยใชคาของขอมูลตัวอยางที่เรียกวาคาสถิติ การประมาณคา คือ การประมาณคาพารามิเตอรซึ่งเปนลักษณะของประชากรโดยใชคาสถิติของขอมูล ตัวอยาง หรืออาจกลาวไดวาเปนการประมาณคาพารามิเตอรดวยคาสถิติ เชน  ประมาณคาเฉลี่ยประชากร (µ) ดวยคาเฉลี่ยตัวอยาง ( x ) ประมาณคาสัดสวนหรือรอยละ (π) คาสัดสวนตัวอยาง (p) ประมาณคาความแปรปรวนประชาการ (σ2)ดวยคาความแปรปรวนตัวอยาง (s2) การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เปนวิธีการอนุมานทางสถิติวิธีหนึ่งทีใชตรวจสอบสมมติฐานวิจยที่ผูวจย ่ ั ิั คาดเดา แตการตรวจสอบนันจะไมทํากับสมมติฐานวิจยโดยตรงแตจะเปนการตรวจสอบจากสมมติฐานทาง ้ ั สถิติที่ผูทดสอบตั้งขึ้นมาใหสอดคลองกับสมมติฐานวิจยและนําไปสรุปสมมติฐานวิจัย ั หลักเกณฑ การตั้งสมมติฐานทางสถิติ สมมติฐานหลัก (H0) ตองมีเครื่องหมายเทากับรวมอยูดวย หลักเกณฑ การปฏิเสธหรือยอมรับสมมติฐาน H0 การทดสอบคาเฉลี่ย การทดสอบคาสัดสวน และการทดสอบคาความแปรปรวน ใชหลักเกณฑเดียวกัน การทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ยสําหรับ 1 กลุมตัวอยาง สมมติฐาน เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0 แบบสองทาง H0 : µ = µ0 Sig. (2-tailed) < α (Two-tails Test) H1 : µ ≠ µ0 แบบทางเดียว H0 : µ ≤ µ0 Sig. (2 - tailed) (One-tails Test) H1 : µ > µ0 1. 2 <α 2. t > 0 H0 : µ ≥ µ0 Sig. (2 - tailed) H1 : µ < µ0 1. 2 <α 2. t < 0 หมายเหตุ 1. µ0 เปนคาคงที่ 2. α ผูวจยเปนผูกําหนด ิั 3. สมมติฐานแบบทางเดียว จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 ก็ตอเมื่อ เงื่อนไขทั้ง 2 ขอเปนจริงเทานั้น
  • 38. 38 การทดสอบสมมติฐานผลตางระหวางคาเฉลี่ยสําหรับ 2 กลุมตัวอยาง สมมติฐาน เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0 แบบสองทาง H0 : µ1 - µ2 = µ0 Sig. (2-tailed) < α (Two-tails Test) H1 : µ1 - µ2 ≠ µ0 แบบทางเดียว H0 : µ1 - µ2 ≤ µ0 Sig. (2 - tailed) (One-tails Test) H1 : µ1 - µ2 > µ0 1. 2 <α 2. t > 0 H0 : µ1 - µ2 ≥ µ0 Sig. (2 - tailed) H1 : µ1 - µ2 < µ0 1. 2 <α 2. t < 0 หมายเหตุ 1. µ0 เปนคาคงที่ 2. α ผูวจยเปนผูกําหนด ิั 3. สมมติฐานแบบทางเดียว จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 ก็ตอเมื่อ เงื่อนไขทั้ง 2 ขอเปนจริง หรือ ขอใดขอหนึ่งไมจริง การทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ย การทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ยสําหรับ 1 กลุมตัวอยาง เปนการศึกษาโดยการตรวจสอบวาคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งของขอมูลเปนไปตามที่คาดหวังหรือ กําหนดไวหรือไม โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ย คุณลักษณะ เชน อายุ รายได ระดับความพึงพอใจ ฯ ซึ่งถือวา เปนตัวแปรหนึ่งตัวแปร หรือเรียกไดวา การวิเคราะหขอมูลแบบ 1 ตัวแปร ตัวแปรที่นามาทดสอบตองเปนตัวแปรที่คํานวณได คือ ระดับชวง อัตราสวน ระดับเรียงอันดับ ํ ตัวสถิติที่ใชในการทดสอบ 2 ตัว กรณีทราบการกระจาย (σ) ของขอมูลประชากร ใช Z-Test กรณีไมทราบการกระจาย (σ) ของขอมูลประชากร แตทราบทราบการกระจายของขอมูลตัวอยาง ใช T-Test สําหรับการวิจยจะใชตวนี้ เพราะเปนการวิจยจากขอมูลตัวอยาง ั ั ั ตัวอยาง สมมติฐานวิจย ั คนขับรถแท็กซี่ใน กทม. มีรายไดไมต่ํากวา 1,000 บาท สมมติฐานทางสถิติ H0 : รายไดคนขับแท็กซี่ไมต่ํากวา 1,000 บาท H1 : รายไดคนขับแท็กซี่ต่ํากวา 1,000 บาท กําหนดเปนสัญญาลักษณ H0 : µ ≥ 1,000 H1 : µ < 1,000
  • 39. 39 วิธีการหาคา T-Test 1. เปดไฟล DATA11.sav 2. เลือกเมนู Analyze -> Compare Means -> One – Sample T Test เลือกตัวแปร One-sample [income] คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Test Variable(s) Test Value: พิพม 1000 3. คลิกปุม Options Confidence Interval พิมพ 95 คลิกปุม Continue 4. คลิกปุม OK ไดผลลัพธ
  • 40. 40
  • 41. 41 ความหมายของผลลัพธ One-Sample Statistics N จํานวนขอมูล Mean คาเฉลี่ยของรายได Std. Deviation คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของรายได ที่แสดงการกระจายของขอมูล Std. Error คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของรายได Mean One-Sample Test Test Value = 1000 คาที่ผูทดสอบกําหนดไวในสมมติฐาน t, df, Sig.(2-tailed) คาที่ใชในการตัดสินใจวาจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0 Mean Difference ผลตางของคาเฉลี่ยประชากรและคาเฉลี่ยของตัวอยาง คาติดลบ หมายความวาคาเฉลี่ยตัวอยางนอยกวาคาเฉลี่ยของประชากร 95% Confidence คาที่แสดงขอบเขตบนและขอบเขตลางของการประมาณคาผลตาง ระหวางรายไดเฉลี่ยตัวอยางกับรายไดเฉลี่ยของประชากรที่ชวงความ เชื่อมั่น 95% การตัดสินใจวาจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0 จะตองพิจารณาจาก คา t และ Sig.(2-tailed) สําหรับคา t จะอาศัยตารางสถิติมาตรฐาน สําหรับคา Sig.(2-tailed) จะพิจารณาตามประเภทของสมมติฐานทางสถิติ กรณีกําหนดสมมติฐานแบบสองทาง (Two-tails Test) จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อคา Sig.(2-tailed) มีคานอยกวาคา α ที่ผูวิจัยกําหนด กรณีกําหนดสมมติฐานแบบทางเดียว (One-tails Test) จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อคา Sig.(2-tailed) หารดวย 2 มีคานอยกวาคา α ที่ผูวิจัยกําหนด จากตัวอยางไดกําหนดสมมติฐานแบบทางเดียว การตัดสินใจปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อคา Sig.(2-tailed) หารดวย 2 มีคานอยกวาคา α ที่ผูวิจัย กําหนดและ คา t < 0 H0 : µ ≥ 1,000 H1 : µ < 1,000
  • 42. 42 ผูทดสอบกําหนดชวงความเชื่อมั่น 95% จะไดคา α = 0.05 คา Sig.(2-tailed) ทีคํานวณไดเทากับ  ่ 0.387 เนื่องจากตัวอยางเปนการทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียวกอนที่จะคา α เปรียบเทียบคา Sig.(2-tailed) ตองนํา คา Sig.(2-tailed) หารดวย 2 กอน คาจากตัวอยางคือ 0.387/2 = 0.1935 ซึ่งมีคามากคา α ที่ กําหนดคือ 0.05 (0.1935 > 0.05) ดังนันจึงตัดสินใจ ยอมรับสมมติฐาน H0 : µ ≥ 1,000 ้ สรุปผลไดวา รายไดเฉลี่ยของคนขับแท็กซี่ไมต่ํากวา 1,000 บาทที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
  • 43. 43 การทดสอบสมมติฐานผลตางระหวางคาเฉลี่ยสําหรับ 2 กลุมตัวอยาง มี 2 กรณี เปนการทดสอบผลตางระหวางคาเฉลี่ยของลักษณะที่สนใจของ 2 กลุมตัวอยางวาแตกตางกันหรือไม 1. กรณีที่ 2 กลุมตัวอยางเปนอิสระตอกัน 2. กรณีที่ 2 กลุมตัวอยางเปนแบบจับคู 1. กรณีที่ 2 กลุมตัวอยางเปนอิสระตอกัน เปนการศึกษาเปรียบเทียบและตรวจสอบวาคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งของขอมูลระหวาง 2 กลุมมี ความแตกตางกันหรือไม และถาแตกตางกันนั้นแตกตางกันอยางไร โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ยของคุณลักษณะ นั้นๆ การทดสอบแบบนี้จัดอยูในประเภทของการวิเคราะหขอมูลแบบ 2 ตัวแปร (Bivariate data analysis) เนื่องจากการทดสอบจะตองใชตัวแปร 2 ตัว คือตัวแปรหนึ่งแทนคุณลักษณะอีกตัวแปรหนึ่งใชแบงกลุม ขอมูลตัวแปรคุณลักษณะ ตองคํานวณได คือ ระดับชวงและอัตราสวน ขอมูลตัวแปรแบงกลุม ตองคํานวณไมได คือ Nominal, Ordinal การทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูล 2 กลุมแบบพาราเมตริก กรณี 2 กลุมเปนอิสระตอกัน ขอมูลที่จะทดสอบตองมีคุณสมบัติที่สามารถใชวิธการการทดสอบแบบพาราเมตริก คือ ขอมูลหรือ ี ตัวแปรที่ตองการทดสอบจะตองมีการแจกแจงแบบปกติหรือใกลเคียงแบบปกติ และสามารถ คํานวณได คือตัวแปรระดับชวงและอัตราสวน ตัวสถิติที่ใชทดสอบ กรณีทราบการกระจายของขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุม (ทราบ σ1, σ2) ใช Z-Test กรณีไมทราบการกระจายของขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุม (ไมทราบ σ1, σ2) ใช T-Test ถาผูวิจัยไมทราบการกระจายของขอมูลทัง 2 ประชากร และไมทราบการกระจายแตกตางกัน ้ หรือไม ให ใชขอมูลตัวอยางมาทดสอบเพื่อพิจารณาวาการกระจายของขอมูลประชากรมีความแตกตางกัน หรือไม
  • 44. 44 โดยกําหนดสมมติฐาน ดังนี้ H0 : การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมไมแตกตางกัน หรือ H0 : σ1 = σ2 H1 : การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมแตกตางกัน หรือ H1 : σ1 ≠ σ2 ตัวสถิติที่ใชทดสอบคือ F-Test ตัวอยาง ผูวิจยตองการทราบวาคาใชจายแตละวันระหวางนักศึกษา 2 คณะแตกตางกันหรือไม ั สมมติฐานทางสถิติ H0 : คาใชจายนักศึกษา 2 คณะไมแตกตางกัน หรือ H0 : µ1 = µ2 H1 : คาใชจายนักศึกษา 2 คณะแตกตางกัน หรือ H1 : µ1 ≠ µ2 1. เปดไฟล DATA12a.sav 2. เลือกเมนู Analyze -> Compare Means -> Independent Samples T Test
  • 45. 45 เลือกตัวแปร expenses คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Test Variable(s) เลือกตัวแปร faculty คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Grouping Variable 3. คลิกปุม Define Groups Group 1 พิมพ 1 Group 2 พิมพ 2 คลิกปุม Continue 4. คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
  • 46. 46
  • 47. 47 ความหมายของผลลัพธ Group Statistics N จํานวนขอมูลของแตละกลุมยอย  Mean คาเฉลี่ยของคาใชจายแตละกลุมยอย Std. Deviation คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาใชจายแตละกลุมยอย Std. Error คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของคาใชจายแตละกลุมยอย Mean ใหพิจารณา 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ตองทําการทดสอบการกระจายของขอมูลประชากรกอนวาแตกตางกันหรือไม ใหพิจารณาคาสถิติจากคอลัมน Levene's Test for Equality of Variances F คาสถิติที่คํานวณไดจากขอมูลตัวอยางใชเทียบคาจากตาราง F มาตราฐาน Sig. คาความนาจะเปนในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0 การทดสอบการกระจายของขอมูลประชากรกอนวาแตกตางกันหรือไม กําหนดสมมติฐานทางสถิติ H0 : การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมไมแตกตางกัน หรือ H0 : σ1 = σ2 H1 : การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมแตกตางกัน หรือ H1 : σ1 ≠ σ2 โดยกําหนด α = 0.05 ใหดูคา Sig. ตรงบรรทัด Equal variances assumed คา Sig. ที่คํานวณไดเทากับ 0.336 จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Sig. มีคานอยกวา α ที่ผูวิจัยกําหนด คา Sig. มากกวา α (0.336 > 0.05) ดังนันจึงตัดสินใจ ยอมรับสมมติฐาน H0 : σ1 = σ2 ้ สรุปผลไดวา การกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมไมแตกตาง
  • 48. 48 ขั้นตอนที่ 2 หลังจากทราบการกระจายของขอมูลวาแตกตางกันหรือไม ใหพิจารณาผลลัพธถัดไป ใหพิจารณาคาสถิติจากคอลัมน t-test for Equality of Means t, df คาสถิติที่คํานวณไดจากขอมูลตัวอยาง Sig.(2-tailed) คาความนาจะเปนในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0 Mean Difference คาผลตางระหวางคาเฉลี่ยทั้ง 2 กลุม Std. Error Difference คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของคาผลตาง 95% Confidence คาที่แสดงขอบเขตชวงความเชื่อมั่น 95% ของผลตางคาเฉลี่ย ถาการกระจายของขอมูลไมแตกตางกัน (σ1= σ2) ใหดแถว Equal variances assumed ู ถาการกระจายของขอมูลแตกตางกัน(σ1 ≠ σ2) ใหดูแถว Equal variances not assumed เพื่อใชในการตัดสินใจของสมมติฐานทางสถิติของการวิจัยตอไป จากขั้นตอนที่ 1 ทราบวาการกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมไมแตกตางกัน (σ1 = σ2) ใหดคา Sig.(2-tailed) ตรงบรรทัด Equal variances assumed ู  คา Sig.(2-tailed) ที่คํานวณไดเทากับ 0.719 จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Sig. มีคานอยกวา α ที่ผูวิจัยกําหนด คา Sig.(2-tailed) มากกวา α (0.719 > 0.05) ดังนันจึงตัดสินใจ ้ ยอมรับสมมติฐาน H0 : µ1 = µ2 สรุปผลไดวา คาใชจายของนักศึกษาทั้ง 2 คณะไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สมมติฐานแบบ 2 ทาง คา 95% สามารถสรุปผลไดวา คาใชจายของนักศึกษาทั้ง 2 คณะไมแตกตาง กัน ตั้งแต -39.01 ถึง 27.51 บาท ที่ชวงความเชื่อมั่น 95% จากขั้นตอนที่ 1 สมมติวาการกระจายขอมูลของประชากรทั้ง 2 กลุมแตกตางกัน (σ1 ≠ σ2) ใหดูคา Sig.(2-tailed) ตรงบรรทัด Equal variances not assumed คา Sig.(2-tailed) ที่คํานวณไดเทากับ 0.727 จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Sig. มีคานอยกวา α ที่ผูวิจัยกําหนด คา Sig.(2-tailed) มากกวา α (0.727 > 0.05) ดังนันจึงตัดสินใจ ้ ยอมรับสมมติฐาน H0 : µ1 = µ2 สรุปผลไดวา คาใชจายของนักศึกษาทั้ง 2 คณะไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
  • 49. 49 สมมติฐานแบบ 2 ทาง คา 95% สามารถสรุปผลไดวา คาใชจายของนักศึกษาทั้ง 2 คณะไมแตกตาง กัน ตั้งแต -40.45 ถึง 28.95 บาท ที่ชวงความเชื่อมั่น 95%
  • 50. 50 การทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูล 2 กลุมแบบน็อนพาราเมตริก กรณี 2 กลุมเปนอิสระตอกัน เปนขอมูลตัวอยางที่จะนํามาทดสอบที่เลือกจากประชากรที่ไมทราบการแจกแจง หรือทราบการ แจกแจงแตไมใชการแจกแจงแบบปกติ กลุมตัวอยางที่นามาทดสอบมีจํานวนนอย (นอยกวา  ํ 30) ตัวแปรที่นํามาทดสอบตองเปนขอมูลเชิงปริมาณ(คํานวณได)และตัวแปรเชิงคุณภาพ(คํานวณ ไมได) ตัวสถิติที่ใชในการทดสอบคือ NPar-Test ตัวอยาง สมมติฐานทางสถิติ H0 : เวลาที่ใชในการทานอาหารของเพศชายและหญิงไมแตกตางกัน หรือ H0 : µ1 = µ2 H1 : เวลาที่ใชในการทานอาหารของเพศชายและหญิงไมแตกตางกัน หรือ H1 : µ1 ≠ µ2 1. เปดไฟล DATA12B.sav 2. เลือกเมนู Analyze -> Nonparametric Test -> 2 Independent Samples เลือกตัวแปร minute คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Test Variable(s) เลือกตัวแปร sex คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Grouping Variable 3. คลิกปุม Define Groups
  • 51. 51 Group 1 พิมพ 1 Group 2 พิมพ 2 คลิกปุม Continue 4. คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ
  • 52. 52 ความหมายของผลลัพธ Ranks sex ชื่อตัวแปรที่เปนตัวแบงกลุมพรอมแสดงคา N จํานวนขอมูลของแตละกลุมยอย Mean Rank คาเฉลี่ยของอันดับในแตละกลุม Sum of Ranks คาผลรวมของอันดับในแตละกลุม Test Statistics Mann-Whitney U คาสถิติ U ที่ใชเปรียบเทียบกับคาที่ไดจากตาราง U มาตรฐาน Wilcoxon W คาผลรวมของอันดับที่มีคานอยจะใชคานี้เทียบกับคาที่ได จากตาราง W มาตรฐาน Z คาสถิติ Z ใชแทน U เมื่อขอมูลมีจํานวนมาก Asymp. Sig. (2-tailed) คาความนาจะเปนในการยอมรับสมมติฐาน Exact Sig. [2*(1-tailed คาความนาจะเปนในการยอมรับสมมติฐาน เมื่อขอมูลมี Sig.)] จํานวนนอย ถาเปนการทดสอบแบบทางเดียวจะตองนําคา นี้ไปหารดวย 2
  • 53. 53 จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อคา Asymp. Sig. หรือ Exact Sig. มีคานอยกวาคา α ที่ผูวิจย ั กําหนด จากตัวอยางกลุมตัวอยางมีขนาดเล็กจะพิจารณาจากคา Exact Sig. คือ 0.068 ซึ่งมีคามากกวา α ที่ กําหนดไว 0.05 การตัดสินไจ ยอมรับสมมติฐาน H0 : µ1 = µ2 สรุปผลไดวา เวลาที่ใชในการทานอาหารของเพศชายและหญิงไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 2. กรณีที่ 2 กลุมตัวอยางเปนแบบจับคูที่มความสัมพันธกัน ี เปนการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยระหวางกลุม 2 กลุมตัวอยาง เมื่อขอมูลตัวอยางที่จะ ใช ทดสอบมีความสัมพันธกัน การทดสอบแบบนี้ จะเปนการทดสอบความแตกตางเปนคูๆ โดยแตละคูมีความสัมพันธกน จึง ั เรียก การทดสอบนีอีกอยางหนึ่งคือ การทดสอบความแตกตางแบบจับคู (Paired Difference Tests) ้ การพิจารณาวากลุมตัวอยางจะใชการทดสอบแบบจับคูที่มีความสัมพันธกัน ใหพิจารณาจาก 1. การเปรียบเทียบวิธีการ 2 วิธีกับขอมูลชุดเดียวกัน เชนผลตางของคะแนนกอนอบรมและ หลังอบรม ขอมูลที่ไดแตละคูมาจากคนเดียวกัน 2. การเปรียบเทียบขอมูล 2 ชุดกับคุณสมบัตที่เหมือนกัน เชน นําขาราชการที่มีระดับ ิ การศึกษาและมีประสบการณในการทํางานเหมือนกันมาเปรียบเทียบเงินเดือนเปนคู 3. การเปรียบเทียบขอมูล 2 ประเภททีไดมาจากแหลงขอมูลเดียวกัน เชน การเปรียบเทียบ ่ ยอดขายสินคา 2 ยี่หอ มาจากรานคา 20 รานคา 4. การเปรียบเทียบขอมูล 2 ประเภททีไดมาจากชวงเวลาเดียวกัน เชน ยอดขายอาหารของ ่ รานอาหาร 2 ราน ที่ไดในแตละวันในเดือนเดียวกัน การทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูล 2 กลุม แบบพาราเมตริก กรณี 2 กลุมตัวอยางมีความสัมพันธกัน เปนการทดสอบเมื่อผลตางของขอมูล 2 กลุม มีคุณสมบัติที่สามารถทําการทดสอบแบบพารา  เมตริก
  • 54. 54 กลาวคือ คาของผลตางที่ไดจากการวัดอยูในระดับชวงหรืออัตราสวน และตองมีการแจกแจงแบบ  ปกติ หรือใกลเคียงแบบปกติ ตัวสถิติที่ใชในการทดสอบคือ T-Test ตัวอยาง ผูวิจยตองการทดสอบวาการอบรมจะทําใหผูเรียนมีความรูเพิ่มขึ้นหรือไม ั กําหนดสมมติฐานทางสถิติ H0 : คะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการอบรมไมแตกตางกัน หรือ H0 : µd = 0 H1 : คะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการอบรมแตกตางกัน หรือ H1 : µd ≠ 0 1. เปดไฟล DATA13A.sav 2. เลือกเมนู Analyze -> Compare Means -> Paired-Samples T Test เลือกตัวแปร pre และ post คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Paired Variables
  • 55. 55 3. คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ ความหมายของผลลัพธ มี 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 พิจาราณวาขอมูล 2 กลุมมีความสัมพันธกันหรือไม Paired Samples Correlations เปนสวนแสดงคาสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ Correlation คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเปยรสัน (r) ที่แสดงถึงความสัมพันธของ 2 กลุมที่นํามาทดสอบ คาที่ได 0.972 แสดงวาคะแนนกอนและหลังการ อบรม มีความสัมพันธกันคอนขางสูงและไปในทิศทางเดียวกัน -1 ≤ r ≤ 1 บวก ทิศทางเดียวกัน ลบ ทิศทางเดียวตรงขาม Sig. คาความนาจะเปนที่จะใชในการทดสอบสมมติฐานเกียวกับความสัมพันธ ่ ภายใตสมมติฐานทางสถิติ ดังนี้ H0 : คะแนนทดสอบกอนและหลังการอบรมไมมีความสัมพันธกัน H1 : คะแนนทดสอบกอนและหลังการอบรมมีความสัมพันธกัน คา Sig. เทากับ 0.000 มีคานอยกวาคา α ที่ผูทดสอบกําหนดคือ 0.05
  • 56. 56 การตัดสินใจ ปฏิเสธสมมติฐาน H0 ยอมรับ H1 สรุปผลไดวา คะแนนกอนและหลังการอบรมมีความสัมพันธกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 ถาขอมูล 2 กลุมไมมีความสัมพันธกัน ไมควรใชกรณีนทดสอบ และไมตองดูผลลัพธในสวน ้ี  ถัดไป
  • 57. 57 ขั้นตอนที่ 2 ขอมูล 2 กลุมมีความสัมพันธกัน Paired Samples Test แสดงคาสถิติสําหรับใชในการทดสอบคาเฉลี่ย Mean คาเฉลี่ยของผลตางระหวางคะแนนกอนและหลังการอบรม Std. Deviation คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลตาง Std. Error Mean คาความคาดเคลื่อนมาตรฐานของผลตาง 95% Confidence คาที่แสดงขอบเขตชวงความเชื่อมั่น 95% ของผลตางคาเฉลี่ย t, df คาสถิติที่คํานวณไดจะใชเทียบกับคาจากตารางมาตรฐาน Sig.(2-tailed) คาความนาจะเปนในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน H0 คา Sig.(2-tailed) เทากับ 0.060 มีคามากกวาคา α ที่ผูวิจัยกําหนดคือ 0.05 การตัดสินใจ ยอมรับสมมติฐาน H0 สรุปผลไดวา คะแนนกอนและหลังการอบรมไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05
  • 58. 58 การทดสอบคาเฉลี่ยของขอมูล 2 กลุม แบบน็อนพาราเมตริก กรณี 2 กลุมตัวอยางมีความสัมพันธกัน ตัวแปรที่ทดสอบหรือผลตางของตัวแปรที่จะทดสอบมีการวัดเพียงระดับเรียงอันดับเทานั้น ตัวสถิติที่ใชในการทดสอบคือ Wilcoxon matched-pairs signed-rank test ซึ่งเปน การทดสอบเชิงอันดับ ตัวอยาง ผูวิจัยตองการทดสอบความแตกตางของจํานวนสินคาทีไมมีคุณภาพระหวางผูที่มีและ ่ ไมมีประสบการณในการทํางาน กําหนดสมมติฐานทางสถิติแบบสองทาง H0 : จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงาน 2 กลุมมีจํานวนเฉลี่ยไมแตกตางกัน H1 : จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงาน 2 กลุมมีจํานวนเฉลี่ยแตกตางกัน กําหนดเปนสัญญาลักษณทางสถิติ H0 : µไมมี = µมี H1 : µไมมี ≠ µมี กําหนดสมมติฐานทางสถิติแบบทางเดียว H0 : จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงานที่ไมมีประสบการณมีจํานวนเฉลี่ย นอยกวาหรือเทากับที่ผลิตโดยคนงานที่มประสบการณ ี H1 : จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงานที่ไมมีประสบการณมีจํานวนเฉลี่ย มากกวาที่ผลิตโดยคนงานที่มีประสบการณ กําหนดเปนสัญญาลักษณทางสถิติ H0 : µไมมี ≤ µมี H1 : µไมมี > µมี การใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูล 1. เปดไฟล DATA13B.sav 2. เลือกเมนู Analyze -> Nonparametric Test -> 2 Related Samples
  • 59. 59 เลือกตัวแปร exp และ non_exp คลิกปุม เก็บไวในบอกซ Test Pair(s) List
  • 60. 60 3. คลิกปุม OK จะไดผลลัพธ ความหมายของผลลัพธ Wilcoxon Signed Ranks Test เปนสวนแสดงคาสถิตของการจัดอันดับของผลตางระหวาง ิ ตัวแปร N แสดงจํานวนคูของผลตางระหวางตัวแปร Negative Ranks จํานวนคูของตัวแปรที่เปนตัวลบ นอยกวา ตัวตั้ง Positive Ranks จํานวนคูของตัวแปรที่เปนตัวลบ มากกวา ตัวตั้ง Ties จํานวนคูของตัวแปรที่เปนตัวลบ เทากับ ตัวตั้ง Total จํานวนคูทั้งหมด Mean Rank คาเฉลี่ยของอันดับในแตละกลุม Sum of Ranks คาผลรวมของอันดับในแตแตละกลุม
  • 61. 61 Test Statistics เปนสวนแสดงคาสถิติ Wilcoxon ที่ใชในการทดสอบความแตกตางของ คาเฉลี่ย Z คาสถิติ Z ใชแทนคา Wilcoxon เมื่อขอมูลมีจํานวนมาก คา Z จากคูที่มีผลตางเปนลบ จะใชคานี้สําหรับการสรุปผลที่ตองอาศัย ตารางสถิติมาตรฐานของ Z Asymp. Sig. (2-tailed) คาความนาจะเปนในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน โดยไม ตองใชอาศัยตารางสถิติมาตรฐาน
  • 62. 62 การสรุปผล กรณีที่กําหนดสมมติฐานแบบสองทาง H0 : µไมมี = µมี H1 : µไมมี ≠ µมี เมื่อกําหนด α เปน 0.05 จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Asymp. Sig. มีคานอยกวา α ที่ผูวจัยกําหนด ิ จากตัวอยาง คา Asymp. Sig. เทากับ 0.005 มีคานอยกวา α ที่กําหนดไวคือ 0.05 การตัดสินใจ ปฏิเสธสมมติฐาน H0 : µไมมี = µมี ยอมรับ H1 : µไมมี ≠ µมี สรุปผลไดวา จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพที่ผลิตโดยคนงาน 2 กลุมมีจานวนเฉลี่ยแตกตางกัน ํ กรณีที่กําหนดสมมติฐานแบบทางเดียว H0 : µไมมี ≤ µมี H1 : µไมมี > µมี เมื่อกําหนด α เปน 0.05 จะปฏิเสธสมมติฐาน H0 เมื่อ คา Asymp. Sig. หารดวย 2 มีคานอยกวา α ที่ผูวิจัยกําหนด จากตัวอยาง คา Asymp. Sig. เทากับ 0.005/2 = 0.0025 มีคานอยกวา α ที่กําหนดไวคือ 0.05 การตัดสินใจ ปฏิเสธสมมติฐาน H0 : µไมมี = µมี ยอมรับ H1 : µไมมี ≠ µมี สรุปผลไดวา จํานวนสินคาที่ไมมีคุณภาพ ซึ่งผลิตโดยคนงานที่ไมมีประสบการณจะมีจานวน ํ มากกวาผูที่มประสบการณที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 ี