SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  45
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
วัดถือเป็นสถาบันการศึกษาที่มีความสาคัญในการอบรมสั่งสอนด้านวิชาการและ
ศีลธรรมให้แก่คนไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันก่อนจะมีระบบเรียนการจัดการศึกษา
ให้กับกุลบุตรจะใช้วัดเป็นสถานที่ให้การศึกษาอบรมสั่งสอนให้เป็นคนดี มีความรู้ วัด
เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เป็นสถานที่จัดมหรสพต่างๆสาหรับชาวบ้านมาเล่น
ปัจจุบัน การเข้าวัด ฟังธรรม เป็นประเพณีของชาวพุทธ เพื่อจะได้นาแนวคิดและ
ประโยชน์จากสาระธรรมมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตให้มีความสุข ซึ่งถือว่าเป็นวัย
แห่งการวางรากฐานการพัฒนาในทุกๆด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา ด้วยเหตุนี้จึงจาเป็นจะต้องรณรงค์ส่งเสริมให้นักเรียนม.1 โรงเรียนสวน
กุหลาบวิทยาลัยได้เข้าวัด เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และการปลูกฝังการมีจิตใจที่ดี
งาม เป็นรากฐานในการเป็นเยาวชนที่ดีในอนาคต
บทที่ 1 บทนำ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ตั้งความมุ่งหมายไว้ดังนี้
1. เพื่อประเมินความคิดเห็นต่อการเข้าวัดของนักเรียนม.1
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
2. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการเข้าวัดของนักเรียนม.1
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
3. เพื่อศึกษาการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลัย
บทที่ 1 บทนำ
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จานวน 502 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ห้อง 101-112
จานวน 12 ห้อง
ห้องละ 10 คน รวม 120 คน
บทที่ 1 บทนำ
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. การเข้าวัด หมายถึง การที่บุคคลหนึ่งไปเรียนรู้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาที่เหมาะสมสอดคล้องกับการรับรู้ของบุคคลนั้นโดยใช้วัดเป็นแหล่ง
เรียนรู้
2. พฤติกรรม หมายถึง การกระทาหรืออาการที่แสดงออกทาง
กล้ามเนื้อ ความคิด และความรู้สึก เมื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า
บทที่ 1 บทนำ
สมมุติฐานในการศึกษาค้นคว้า
นักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าวัดเพื่อทาบุญตักบาตร มากกว่า
การฟังธรรม
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ทราบถึงความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลัยต่อการเข้าวัด
2. ได้ทราบถึงประโยชน์ของการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1 โรงเรียน
สวนกุหลาบวิทยาลัย
3.ได้ทราบถึงการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลัย
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ศึกษาตามหัวข้อดังนี้
1.วัดคืออะไร
2.ประเภทของวัด
3.ความสาคัญของวัด
4.ประโยชน์ของการเข้าวัด
5.ศาสนพิธีในวัด
6.องค์ประกอบในวัด
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.วัดคืออะไร
วัด หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระ
เจดีย์ รวมทั้งมีพระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัย คาว่า “วัด” เป็นคาเรียกชื่อศาสนสถาน
แบบคาไทย โดยที่มาของคาว่า “วัด” นี้ ยังไม่มีข้อยุติ ด้วยบางคนอธิบายว่า มา
จากคาว่า “วตวา” ในภาษาบาลี แปลว่า เป็นที่สนทนาธรรม บ้างก็ว่ามาจาก
“วัตร” อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทา หรือแปลอีก
อย่างว่าการจาศีล ซึ่งวัด (วัตร) ตามนัยยะนี้จึงน่าจะหมายถึงสถานที่ซึ่ง
พระภิกษุสงฆ์ใช้เป็นที่จาศีลภาวนา หรือสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติ
ภาระกิจที่พึงกระทานั่นเอง แต่ก็มีบางคนสันนิษฐานว่ามาจาก
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
คาว่า “วัดวา” อันหมายถึงการกาหนดขอบเขตของดินแดนที่
สร้างเป็ นศาสนสถาน เพราะวัดกับวามีความหมายอย่างเดียวกัน
คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งต่างๆ เช่น ความยาว
ความกว้าง เป็ นต้น วัดในนัยยะอย่างหลังนี้จึงหมายถึงพื้นที่แต่
เดิมครั้งพุทธกาลนั้น มีการใช้คาว่า “อาราม” เป็ นคาเรียกชื่อ
ศาสนสถานในทางพุทธศาสนาที่ใช้เรียกเสนาสนะที่มีผู้ศรัทธา
ถวายพระพุทธองค์ในระยะแรกๆ เช่น “เชตวนาราม” หรือชื่อเต็ม
ว่า “เชตวเนอนาถบิณฑิกสสอาราเม” ซึ่งมีความหมายว่า “สวน
ของอนาถบิณฑที่ป่ าเชต” หรือ “เวฬุวนาราม” หรือ “บุปผาราม”
เป็ นต้น โดย “อาราเม” หรือ “อาราม”
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
พระพุทธเจ้า ไม่นอกธรรม นอกวินัย เช่นเดียวกับลูกที่อยู่ในโอวาทของพ่อแม่
3) เป็นผู้ปฏิบัติถูกทาง ได้แก่ ปฏิบัติเพื่อมุ่งความหมดกิเลสอย่างเดียว ไม่สนใจยินดีต่อ
ลาภสักการะ ชื่อเสียงใดๆทั้งสิ้น
4)เป็นผู้ปฏิบัติชอบได้แก่ปฏิบัติอบรมตนให้มีกิริยามารยาทงามมีถ้อยคางดงามดี
เลิศ พระสงฆ์ ผู้เป็นอริยสงฆ์ จึงเป็นแบบอย่างแท้จริงแห่งผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบตาม
พระพุทธเจ้าของชาวโลก เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาปสาทะ เป็นแรงจูงใจให้ชาวโลกสนใจ
และศึกษาพระธรรม ต้องการปฏิบัติธรรมเพื่อเข้าถึงธรรมกาย เป็นนาบุญของชาวโลก
เป็นแหล่งปลูกฝังเผยแพร่ความดีที่ยอดเยี่ยมของชาวโลก เป็นสัญลักษณ์แห่งความดี
ความบริสุทธิ์ และความสงบ
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
4) พระอรหันต์ ละกิเลสได้หมดเด็ดขาดทุกชนิด เมื่อสิ้นชีวิตแล้วธรรมกายก็เข้าสู่พระ
นิพพานตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป
ผู้ใดตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรมตามพระสงฆ์สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้นั้นย่อม
ประสบแต่ความดี ความบริสุทธิ์ ความสงบ และความเจริญรุ่งเรืองยิ่ง ๆ ขึ้นไป สมควร
จะได้รับขนานนามว่าเป็นชาวพุทธอย่างแท้จริง
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.ประเภทของวัด
๑. วิสุงคามสีมา
หมายถึง เขตพื้นที่ที่พระภิกษุสงฆ์ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อใช้จัดตั้งวัด
ขึ้น แต่ในทางปฏิบัตินั้นเป็นการขอพระบรมราชานุญาตเฉพาะแต่บริเวณที่ตั้งพระ
อุโบสถเท่านั้น
๒. สานักสงฆ์
หมายถึง สถานที่ตั้งพานักอาศัยของหมู่พระภิกษุสงฆ์ ซึ่งไม่ได้ขอพระบรมราชานุญาต
ใช้ผืนที่ดินแห่งนั้นเพื่อจัดตั้งเป็นวัดขึ้น ดังนั้นสานักสงฆ์จึงไม่มีโรงพระอุโบสถเพื่อใช้เป็น
ที่ทาสังฆกรรม
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
3.ความสาคัญของวัด
วัดเป็นศูนย์กลางชุมชน
วัดในปัจจุบันมีมากกว่าสามหมื่นวัดทั่วประเทศ วัดบางวัดก็เป็นวัดหลวง บางวัดก็เป็นวัดราษฎร์ ขนาดแตกต่าง
กันไป บางวัดอยู่ในชนบท แต่บางวัด ตั้งอยู่ในเมือง
มีความเจริญทางวัตถุสูง บางวัดมีรายได้มาก แต่บางวัด มีรายได้น้อย บางครั้งถึงขั้นขาดแคลน บางวัดมีมานานแล้ว บางวัด
เพิ่งสร้างใหม่ บางวัดดูยิ่งใหญ่อลังการ บางวัดก็ดูเก่าขาดการดูแล บางวัดจัดให้ดูคล้ายสวนป่าธรรมชาติ แต่บางวัดเต็มไป
ด้วยสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ บางวัดประชาชนอยากเข้าไปบวช ปฏิบัติ ศึกษาธรรม แต่บางวัดคนไม่อยากเข้าไปเพราะวุ่นวายสับสน
บางวัดดูสะอาด สงบ ร่มรื่ น ให้ความสว่างทางจิตใจและปัญญา วัดบางวัดก็เป็นที่พึ่งของประชาชน เป็นศูนย์กลางของชุมชน
วัดจะดารงไว้ซึ่งความเป็นวัด (วัด-วัตร-วัฒน) ได้อย่างถูกต้อง จะต้องอาศัยหลักการของพระพุทธศาสนา ที่
ประกอบด้วยองค์ 3 ของไตรสิกขา คือ
1. สะอาด ด้วยหลักการของพระพุทธศาสนา คือ ศีล
2. สงบ ด้วยหลักการของพระพุทธศาสนา คือ สมาธิ
3. สว่าง ด้วยหลักการของพระพุทธศาสนา คือ ปัญญา
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
บทบาทของวัดและพระสงฆ์ในสังคมไทย
ในสังคมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ หมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านต่าง มี วัดประจาหมู่บ้านของตนเป็น
ศูนย์กลาง ซึ่งถือว่าเป็นสมบัติรวมของคนทั้งหมู่บ้าน
วัดจึงเป็นศูนย์รวมประชาชนและมีบทบาทดังต่อไปนี้
1) เป็นสถานศึกษา สาหรับชาวบ้านจะส่งบุตรมารับการ ฝึกอบรม ทางศีลธรรมและเล่าเรียนวิชาการ
ต่าง ๆ
2) เป็นสถานสงเคราะห์ บุตรหลานของชาวบ้านที่ยากจน ได้มา อยู่ อาศัยเลี้ยงชีวิตและศึกษาเล่าเรียน
ตลอดจนผู้ใหญ่ที่ยากจนมาอาศัยเลี้ยงชีพ
3) เป็นสถานพยาบาล รักษาคนเจ็บป่วยตามแผนโบราณ
4) เป็นที่พักคนเดินทาง
5) เป็นสโมสรที่ชาวบ้านพบปะสังสรรค์ และพักผ่อนหย่อนใจ
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
4.ประโยชน์ของการเข้าวัด
อาจจะไม่ใช่คนที่ไปวัดบ่อย แต่ก้อมีโอกาสไปช่วงวันสาคัญๆ ช่วง
เทศกาล
เช่นสงกรานต์ งานบุญเดือนสิบของชาวใต้หรือแม้กระทั่งงานทอดกฐิน
ทอดผ้าป่า ฝังลูกนิมิต
-ทาให้จิตใจของเราได้สงบลง ณ เวลานั้น อย่าน้อยก้อทาให้เรามีสติ
-การเทศน์ของพระ ถ้าเราคิดตาม มันก้อมีอะไรสอดแทรก คอยสอน มี
อะไรอยู่ตั้งมากมาย
-ทาให้เรามีความอดทน อดทนต่อร่างกายและจิตใจของตัวเอง
-ทาให้เราเห็นวิถี การดารงชีวิตของผู้คนในแถบนั้น
-ทาให้เราเรียนรู้ซึ่งวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม
-ทาให้เรารู้จักญาติเพิ่มขึ้น
-ทาให้เรารู้จักการรอคอย
-ทาให้เราสวดมนต์เป็นเองไปโดยปริยาย
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
5.ศาสนพิธีในวัด
หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฏิบัติในศาสนา เมื่อนามาใช้ในศาสนา จึงหมายถึง
ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฏิบัติในพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆ ช่วยทาให้ความศัทธาต่อ
พระพุทธศาสนิกชนมความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้าใจให้ระลึกของคุณของพระรัตนตรัย ได้อย่าง
ดีเยี่ยมจึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับพระพุทธศาสนาตลอดไป ศาสนพิธีเป็นต้น
เป็นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งถือปฏิบัติเป็นแบบอย่างเป็นธรรมเนียบสืบต่อกันมา เนื้อความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงามเป็นแบบเดียวกัน เหตุให้เกิดศาสนพิธีนี้ คือ ความนิยมทาบุญของพุทธศาสนิกชนซึ่
ไม่ว่าจะปรารถนาเหตุอะไรทากัน ก็มักจะทาให้ครบและตามหลักวิธีในทางศาสนาซึ่งพระสัมมาสัม
พุทธเจ้าได้แนะแนวไว้ 3 หลักคือ
1.ทาน การบริจาควัตถุสิ่งของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น
2.ศีล การรักษากาย วาจาให้สงบเรียบร้อย
3.ภาวนา การยกระดับจิตใจให้สูงขึ้นด้วยการอบรมให้สงบนิ่งและให้เกิดปัญญา
ดังนั้น,ในการทาบุญทุกครั้ง ชาวพุทธจึงถือคติว่าต้องให้เข้าหลัก 3 ประการนี้ โดยเริ่มต้นจะทาข้อ
ไหนก่อนก็ได้เช่น รับศีลแล้วฟังพระเจริญพระพุทธมนต์(ภาวนา)
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ประโยชน์ของศาสนพิธี
ถ้าเปรีบยศาสนาเหมือนกับต้นไม้ศาสนพิธีเปรียบได้กับ
เปลือกนอกของต้นไม้ตัวสัจธรรม คือ คาสอนที่เป็นหลักปฏิ
บัตืทางศาสนาเปรียบกับแก่นของต้นไม้ทั้งเปลือกทั้งแก่นไม้
ย่อมมีประโยชน์ต่อต้นไม้เท่าๆกัน หากมีแต่แก่น ไม่มี
เปลือกห่อหุ้ม ต้นไม้ก็จะอยู่ไม่ได้หรือมีแต่เปลือกอย่าง
เดียวแก่นไม่มี หรือ มีก่นแต่เล็กเรียวเกินไป เพราะเปลือก
หนามาก ต้นไม้นั้นก็ให้ประโยชน์น้อย ดังนั้น ต้นไม้จึงต้อง
มีทั้งแก่นและเปลือกเพื่ออาศัยซึ่งกันและกัน หากถึงคราวก็
จะใช้ทาประโยชน์จริงๆ ค่อยกะเทาะเปลือกนอกออก นา
เฉพาะแก่นเท่านั้นไปใช้จึงจะได้รับประโยชน์จากต้นม้นั้น
อย่างแท้จริง
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การประกอบศาสนพิธี
ดังกล่าวมาแล้วว่าพิธีกรรมนั้นไม่ใช่ตัวหลักการศาสนาเวลาจะประกอบพิธีกรรม จึงควรยึดถือเฉพาะที่
เป็นหลักศาสนพิธี คือให้เข้าใจหลักการทาบุญทางศาสนา 3 ประการข้างต้นนั้นเท่านั้น ตัดพิธีกรรม
ส่วนเกิน ซึ่งเป็นเหตุฟุ่มเฟือย เป็นสิ่งที่ทาต่อกันมาโดยไม่ทราบเหตุผลออกเสีย นอกจากต้องคานึงถึง
หลักศาสนพิธีแล้วต้องคานึงถึงหลักเศรษฐกิจและหลักสังคมด้วย สรุปแล้ว การประกอบพิธีกรรมทุก
1.ต้องประหยัด
2.ต้องให้ได้ประโยชน์และคุ้มค่า
3.ต้องถูกต้องตามขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม
4.ต้องให้เหมาะสม
ศาสนพิธีมี 4 หมวดใหญ่ คือ
1.กุศลพิธี
2.บุญพิธี
3.ทานพิธี
4.ปกิณถะพิธี
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
6.องค์ประกอบของวัด
พุทธศาสนสถาน แปลโดยตรงได้ความว่า สถานที่ หรือ สิ่งก่อสร้าง ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้ในกิจการ
หรือเกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนา ได้แก่ สานักสงฆ์ วัดวาอาราม โบสถ์ วิหาร เจดีย์ และสถูป เป็นต้น
เป็นสถานที่ซึ่งใช้ประกอบพิธีทางศาสนา เป็นที่พานักของพระภิกษุ เและ เป็นอนุสรณ์ให้ระลึกถึงคุณ
พระรัตนตรัย ซึ่งพุทธศาสนิกชนนิยมไปกราบไหว้บูชา และร่วมกิจกรรมต่างๆ องค์ประกอบของ "พุทธ
ศาสนสถาน" แบ่งเป็นเขตพุทธาวาส เป็นพื้นที่สาหรับพุทธสานิกชน โดยประกอบด้วย:
เจดีย์ ,หมายถึงสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชา
สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้
ลูกหลานและผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่
สักการะของมหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจก
พุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
พระปรางค์ หรือ ปรางค์
เป็นสิ่งก่อสร้างประเภทหนึ่งในงานสถาปัตยกรรมไทย เป็นหลักประธานในวัดเช่นเดียวกับพระเจดีย์ แต่เดิมถือว่าเป็น
งานสถาปัตยกรรมที่มีรูปแบบลักษณะเฉพาะของขอม โดยมีคติความเชื่อในศาสนาฮินดู ว่าเป็นสัญลักษณ์ของ เขาพระ
สุเมรุ ลักษณะรูปทรงของพระปรางค์จาแนกเป็น 4 แบบ ได้แก่ ทรงศิขร เป็นปรางค์รูปแบบดั้งเดิม,ทรงงาเนียม มี
ลักษณะคล้ายงาช้าง,ทรงฝักข้าวโพด,ทรงจอมแห
โบสถ์ หรือ อุโบสถ
เป็นอาคารที่สาคัญภายในวัดเนื่ องจากเป็นสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ทาสังฆกรรม ซึ่งแต่เดิมในการทาสังฆกรรมของ
พระภิกษุสงฆ์จะใช้เพียงพื้นที่โล่งๆ ที่กาหนดขอบเขตพื้นที่สังฆกรรมโดยการกาหนดตาแหน่ง“สีมา” เท่านั้น แต่ใน
ปัจจุบันจากการมีผู้บวชมากขึ้น อีกทั้งภายในพระอุโบสถมักประดิษฐาน พระประธานที่เป็นพระพุทธรูปองค์สาคัญๆ ทา
ให้มีผู้มาสักการะบูชาและร่วมทาบุญเป็นจานวนมาก พระอุโบสถจึงถูกสร้างขึ้นเป็นอาคารถาวรและมักมีการประดับ
ตกแต่งอย่างสวยงาม
บทที่2
เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องวิหาร
อาคารที่ใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป คาว่า วิหาร นี้ แต่เดิมหมายถึง “ที่อยู่” โดยไม่จากัดบุคคลชั้นใด ต่อมาในสมัย
พุทธกาล หมายถึงที่อยู่สาหรับ พระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวก ครั้นพระพุทธเจ้าดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว วิหารได้รับการ
สร้างขึ้นสาหรับเป็นที่ประดิษฐาน “พระพุทธปฏิมากร” คือ รูปแทนองค์พระพุทธเจ้า ดังนั้น คาว่า วิหาร ในความเข้าใจ
โดยประเพณีนิยม จึงมีความหมายจาเพาะว่า “สถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูป” วัดไทยแต่ละแห่งอาจมีวิหารได้มากกว่า
1 หลัง
พระมณฑป
อาคารที่มีรูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นอย่างเรือนรูปสี่เหลี่ยม มักทาหลังคาเป็นรูปทรงกรวยสี่เหลี่ยม ปลายเรียวแหลม ใช้เป็น
สถานที่สาหรับประดิษฐาน พระพุทธรูป รอยพระพุทธบาท หรือพระไตรปิฎกที่สาคัญ ตัวอย่างเช่น พระมณฑป วัดพระศรี
รัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร และพระมณฑปวัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี
หอไตร
อาคารสาหรับเก็บรักษา “พระไตรปิฎก” เปรียบเสมือน “หอสมุด” ของวัดแต่ละแห่ง เป็นที่เก็บรักษาคัมภีร์คาสอนของ
พระพุทธศาสนา ซึ่งพระสงฆ์ใช้สาหรับศึกษาและเผยแผ่แก่บรรดาพุทธศาสนิกชน หอพระธรรม หรือหอไตรเป็นอาคาร
ขนาดเล็กๆ ยกพื้นสูง มักทาเฉลียงรอบ และปลูกสร้างหอขึ้นในสระ โดยใช้น้าหล่อเสาเพื่อกันมด ปลวก และหนู มิให้ไป
ทาลายพระคัมภีร์ต่างๆ วัดส่วนมากมีหอไตรเพียงหลังเดียว แต่วัดใหญ่ๆ โดยเฉพาะวัดที่เป็นพระอารามหลวงจะ มีหอพระ
ธรรมหรือหอไตรมากกว่า 1 หลัง
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำร
 ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้
 1. การกาหนดประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
 2. การสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
 4. การจัดกระทาและการวิเคราะห์ข้อมูล
กำรกำหนดประชำกรและกำรเลือกกลุ่มตัวอย่ำง
ประชำกร
 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2560 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จานวน 502 คน
 การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2560 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้จากการสุ่มแบบโควต้า จากนักเรียน 12 ห้อง
ห้องละ 10 คน จานวน 120 คน
กำรสร้ำงเครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ
 1. ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
 2. สร้างแบบสอบถาม ตามวัตถุประสงค์ดังนี้
 ตอนที่ 1 เป็นข้อคาถามแบบนามบัญญติเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 8ข้อ
 ตอนที่ 2 เป็นคาถามแบบมาตรอันตรภาคชั้นจานวน5อันดับ ซึ่งมีรายการให้จัดอันดับ5รายการ มีลักษณะเป็น
แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ โดยสอบถามความคิดเห็น/ความพึงพอใจของ
นักเรียน เรื่ องการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยจานวน 1 ฉบับ ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้าง
เครื่ องมือดังนี้
 1. ศึกษาและสร้างแบบสอบถามความคิดเห็นตามวิธีของเบสท์ (Best. 1986 : 181-182)
 2. สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเป็นมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ของลิ
เคิร์ท ข้อคาถามจานวน13ข้อ โดยกาหนดค่าระดับความคิดเห็นแต่ละช่วงคะแนนและความหมาย ดังนี้
 ระดับ 1 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อยที่สุด
 ระดับ 2 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย
 ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง
 ระดับ 4 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก
 ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด
 สาหรับการให้ความหมายของค่าที่วัดได้ผู้ค้นคว้าได้กาหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการให้ความหมายโดยได้จาก
แนวคิดของเบสท์(Best. 1986 : 195) การให้ความหมาย โดยการให้ค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านและราย
ข้อ ดังนี้
 1.00 – 1.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อยที่สุด
 1.50 - 2.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย
 2.50 - 3.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง
 3.50 - 4.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก
 4.50 - 5.00 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด
 3. นาไปให้ครูที่ปรึกษา ตรวจสอบความถูกต้องและความครอบคลุมของข้อคาถาม แก้ไขตามคาแนะนา
 4. ทดลองใช้โดยให้เพื่อนลองทา
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2561โดยสมาชิกในกลุ่มแบบเก็บข้อมูลด้วยตนเองคนละ
2-3ห้อง
จานวนทั้งหมด 120 ฉบับ ได้แบบสอบถามกลับจานวน 120แบบสอบถามไม่สมบูรณ์ จานวน9ฉบับ
 การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
 1. แบบสอบถามตอนที่ 1 ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบนามบัญญัตินามาแจกแจงความถี่ และหาค่า
 ร้อยละ
 2.แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ สอบถามระดับความชอบ นามาหาค่าเฉลี่ย ดังนี้
 5 หมายถึง ชอบมากที่สุด
 4 หมายถึง ชอบมาก
 3 หมายถึง ชอบปานกลาง
 2 หมายถึง ชอบน้อย
 1 หมายถึง ชอบน้อยที่สุด

การแปลผลค่าเฉลี่ยที่ได้
 ระดับ แปลผล
 4.50 - 5.00 มากที่สุด
 3.50 - 4.49 มาก
 2.50 - 3.49 ปานกลาง
 1.50 - 2.49 น้อย
 1.00 – 1.49 น้อยที่สุด
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมู
1. ค่าเฉลี่ย
บทที่ 4
ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล
 การนาเสนอข้อมูล
 ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่2 การจัดลาดับความชอบสิ่งของสะสม
 1. คุณอยู่ห้องใด
 2.คุณเคยเข้าวัดไหม
 3.คุณเข้าวัดบ่อยแค่ไหนต่อสัปดาห์
 4.สถานที่ในวัดที่เข้าเป็นประจา
 5.เช้าวัดช่วงไหนบ่อยที่สุด
 6.คุณชอบวัดใดมากที่สุด
 7.วัตถุประสงค์ของการเข้าวัด
 8.ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากการเข้าวัด
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม
ตำรำง 1 คุณอยู่ห้องใด
รายการ จานวน/คน ร้อยละ
101 8 7.2
102 10 9
103 10 9
104 10 9
105 10 9
106 8 7.2
107 9 8.1
108 9 8.1
109 9 8.1
110 10 9
111 10 9
112 8 7.2
รวม 111 100
จากตาราง 1 แสดงว่า ห้องนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ 9 คือห้อง 102 103 104 105 110 111
ร้อยละ 8.1 คือห้อง 107 108 109และร้อยละ 7.2คือห้อง 101 106 112
ตำรำง 2 คุณเคยเข้าวัดไหม
รายการ จานวน/คน ร้อยละ
เคย 110 99
ไม่เคย 1 1
รวม 120 100
จากตาราง 2 แสดงว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าวัดของ
นักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ 99 เคยและร้อยละ 1 ไม่เคย
ตำรำง 3 คุณเข้าวัดบ่อยแค่ไหนต่อสัปดาห์
รายการ จานวน/คน ร้อยละ
1-2วัน 21 19
3-4วัน 27 24.5
ทุกวัน 2 1.8
นานๆครั้ง 55 50
รวม 110 100
จากตาราง 3 แสดงว่า ความถี่ของการเข้าวัดของนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
ส่วนใหญ่ ร้อยละ50 นานๆครั้ง ร้อยละ24.5 3-4วัน ร้อยละ19 1-2 วัน และร้อยละ1.8 ทุกวัน
ตำรำง 4 สถานที่ในวัดที่เข้าเป็นประจา
รายการ จานวน/คน ร้อยละ
โบสถ์ 40 36.3
วิหาร 28 27.2
ศาลา 32 29
อื่นๆ 8 7.2
รวม 110 100
จากตาราง 4 แสดงว่า สถานที่ในวัดที่นักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าประจา
ส่วนใหญ่ ร้อยละ36.3 โบสถ์ ร้อยละ29 วิหาร ร้อยละ27.2 ศาลา และร้อยละ7.2 อื่นๆ
ตำรำง 5 เช้าวัดช่วงไหนบ่อยที่สุด
รายการ จานวน/คน ร้อยละ
เช้า 32 29.3
กลางวัน 28 25.5
เย็น 41 37.2
ค่า 9 8.1
รวม 110 100
จากตาราง 5 แสดงว่า เวลาในการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าบ่อยสุด
ส่วนใหญ่ ร้อยละ37.2 เย็น ร้อยละ29.3 เช้า ร้อยละ25.5 กลางวัน และร้อยละ8.1ค่า
ตำรำง 6 คุณชอบวัดใดมากที่สุด
รายการ จานวน/คน ร้อยละ
วัดพระแก้ว 48 43.64
วัดเลียบ 31 28.18
วัดสระเกศ 14 12.73
อี่นๆ 17 15.45
รวม 110 100
จากตาราง 6 แสดงว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยชอบวัดใดมากที่สุด
ส่วนใหญ่ ร้อยละ43.64 วัดพระแก้ว ร้อยละ28.18 วัดเลียบ ร้อยละ15.45 อื่นๆ และร้อยละ12.73วัดสระเกศ
ตำรำง 7 วัตถุประสงค์ของการเข้าวัด
รายการ จานวน/คน ร้อยละ
เพื่อฟังธรรม 35 31.82
เพื่ออธิษฐาน 23 20.9
เพื่อตักบาตร 39 35.45
อี่นๆ 13 11.82
รวม 110 100
จากตาราง 7 แสดงว่า วัตถุประสงค์ของการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
ส่วนใหญ่ ร้อยละ35.45 เพื่อตักบาตร ร้อยละ31.82 เพื่อฟังธรรม ร้อยละ20.9 เพื่ออธิษฐาน และร้อยละ11.82 อื่นๆ
ตำรำง 8 ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากการเข้าวัด
รายการ จานวน/คน ร้อยละ
มีจิตใจบริสุทธิ์ 31 28.18
สบายใจ 30 27.27
ได้บุญ 43 40
ได้ศึกษาธรรมะ 18 17.27
อื่นๆ 1 0.9
รวม 110 100
จากตาราง 8 แสดงว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
ส่วนใหญ่ ร้อยละ40 ได้บุญ ร้อยละ28.18 มีจิตใจบริสุทธิ์ ร้อยละ27.27 สบายใจ ร้อยละ17.27 ได้ศึกษาธรรมะ และร้อยละ0.9 อื่นๆ
ตอนที่ 2 ควำมคิดเห็นต่อกำรเข้ำวัด
ตาราง 9 ความคิดเห็นต่อการเข้าวัด
รายการ
มาก
ที่สุด
มาก ปานกลาง
น้อ
ย
น้อ
ย
ที่สุ
ด
ค่าเฉลี่ย แปรผล
การเข้าวัดดีมาก
น้อยแค่ไหน
46 31 22 9 3 3.9 มาก
วัดให้ประโยชน์
แก่แก่ท่านแค่
ไหน
54 26 23 2 6 4.0 มาก
การเข้าวัดให้
ความสุขแค่ไหน
36 24 29 13 9 3.5 มาก
การเข้าวัดส่งผล
ต่อชีวิตมากน้อย
เพียงใด
47 31 29 2 2 4.0 มาก
การเข้าวัดจาเป็ น
มากน้อยแค่ไหน
40 21 37 7 6 3.7 มาก
จากตาราง 9 แสดงว่า ความคิดเห็นต่อการเข้าวัด
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน
สวนกุหลาบวิทยาลัย มากที่สุด คือ วัดให้ประโยชน์
แก่แก่ท่านแค่ไหนและการเข้าวัดส่งผลต่อชีวิตมาก
น้อยเพียงใด ( = 4.0) รองลงมาคือ การเข้า
วัดดีมากน้อยแค่ไหน ( = 3.9) การเข้าวัด
จาเป็นมากน้อยแค่ไหน ( = 3.7) และ การ
เข้าวัดให้ความสุขแค่ไหน ( =3.5)
บทที่ 5
สรุปผลกำรศึกษำค้นคว้ำและข้อเสนอแนะ
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เกี่ยวกับการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน
สวนกุหลาบวิทยาลัย สรุปผลตามลาดับดังนี้
วัตถุประสงค์ของการวิจัย/การศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อประเมินความคิดเห็นต่อการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
2. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
3. เพื่อศึกษาการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
 สมมุติฐานในการศึกษาค้นคว้า
 นักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าวัดเพื่อทาบุญตักบาตร มากกว่าการฟังธรรม

 วิธีดาเนินการวิจัย
 1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสวน
กุหลาบวิทยาลัย ได้จากการสุ่มแบบโควต้า จากนักเรียน 12 ห้อง ห้องละ 10 คน จานวน 120 คน 2. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา
ค้นคว้าครั้งนี้ คือแบบสอบถาม1. ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1โรงเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลัย
 2. สร้างแบบสอบถาม ตามวัตถุประสงค์ดังนี้
 ตอนที่ 1 เป็นข้อคาถามแบบนามบัญญัติเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 8ข้อ
 ตอนที่ 2. สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเป็นมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ของลิเคิร์ท ข้อคาถาม
จานวน13ข้อ โดยกาหนดค่าระดับความคิดเห็นแต่ละช่วงคะแนนและความหมาย ดังนี้
 ระดับ 1 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อยที่สุด
 ระดับ 2 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย
 ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง
 ระดับ 4 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก
 ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด
 สาหรับการให้ความหมายของค่าที่วัดได้ ผู้ค้นคว้าได้กาหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการให้ความหมายโดยได้จากแนวคิดของเบสท์(Best. 1986 :
195) การให้ความหมาย โดยการให้ค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านและรายข้อ ดังนี้
 1.00 – 1.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อยที่สุด
 1.50 - 2.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย
 2.50 - 3.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง
 3.50 - 4.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก
 4.50 - 5.00 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด
 3. นาไปให้ครูที่ปรึกษา ตรวจสอบความถูกต้องและความครอบคลุมของข้อคาถาม แก้ไขตามคาแนะนา
 4. ทดลองใช้ โดยให้เพื่อนลองทา
3. เก็บรวบรวมข้อมูล
 เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2561โดยสมาชิกในกลุ่มแบบเก็บข้อมูลด้วยตนเองคนละ2-3ห้อง
 จานวนทั้งหมด 120 ฉบับ ได้แบบสอบถามกลับจานวน 120แบบสอบถามไม่สมบูรณ์ จานวน9ฉบับ
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
 1. แบบสอบถามตอนที่ 1 ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบนามบัญญัตินามาแจกแจงความถี่ และหาค่า
 ร้อยละ
 2.แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ สอบถามระดับความชอบ นามาหาค่าเฉลี่ย ดังนี้
 5 หมายถึง ชอบมากที่สุด
 4 หมายถึง ชอบมาก
 3 หมายถึง ชอบปานกลาง
 2 หมายถึง ชอบน้อย
 1 หมายถึง ชอบน้อยที่สุด
 การแปลผลค่าเฉลี่ยที่ได้
 ระดับ แปลผล
 4.50 - 5.00 มากที่สุด
 3.50 - 4.49 มาก
 2.50 - 3.49 ปานกลาง
 1.50 - 2.49 น้อย
 1.00 – 1.49 น้อยที่สุด
สรุปผลกำรวิจัย
 1.ห้องนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ 9 คือห้อง 102 103 104 105 110 111 ร้อย
ละ 8.1 คือห้อง 107 108 109และร้อยละ 7.2คือห้อง 101 106 112
 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าวัดของนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ 99
เคยและร้อยละ 1 ไม่เคย
 3.ความถี่ของการเข้าวัดของนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ50 นานๆครั้ง
ร้อยละ24.5 3-4วัน ร้อยละ19 1-2 วัน และร้อยละ1.8 ทุกวัน
 4.สถานที่ในวัดที่นักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าประจา ส่วนใหญ่ ร้อยละ36.3 โบสถ์ ร้อยละ
29 วิหาร ร้อยละ27.2 ศาลา และร้อยละ7.2 อื่นๆ
 .5.เวลาในการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าบ่อยสุด ส่วนใหญ่ ร้อยละ37.2 เย็น ร้อยละ
29.3 เช้า ร้อยละ25.5 กลางวัน และร้อยละ8.1ค่า
 6.นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยชอบวัดใดมากที่สุด ส่วนใหญ่ ร้อยละ43.64 วัดพระแก้ว ร้อยละ28.18
วัดเลียบ ร้อยละ15.45 อื่นๆ และร้อยละ12.73วัดสระเกศ
 7.วัตถุประสงค์ของการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ35.45 เพื่อตักบาตร
ร้อยละ31.82 เพื่อฟังธรรม ร้อยละ20.9 เพื่ออธิษฐาน และร้อยละ11.82 อื่นๆ
 8.ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ40 ได้บุญ ร้อย
ละ28.18 มีจิตใจบริสุทธิ์ ร้อยละ27.27 สบายใจ ร้อยละ17.27 ได้ศึกษาธรรมะ และร้อยละ0.9 อื่นๆ
 9.ความคิดเห็นต่อการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย มากที่สุด คือ วัดให้ประโยชน์แก่แก่ท่าน
แค่ไหนและการเข้าวัดส่งผลต่อชีวิตมากน้อยเพียงใด ( = 4.0) รองลงมาคือ การเข้าวัดดีมากน้อยแค่ไหน ( = 3.9) การเข้าวัด
จาเป็นมากน้อยแค่ไหน ( = 3.7) และ การเข้าวัดให้ความสุขแค่ไหน ( =3.5)
 10.สรุปผลตามสมมติฐาน ได้ว่านักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าวัดเพื่อทาบุญตักบาตร มากกว่าการฟังธรรม ถูกต้อง
 ข้อเสนอแนะ
 นักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยควรเข้าวัดมากว่านี้
 นักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยควรรู้เรื่ องเกี่ยวกับวัดมากกว่านี้
โดย
 ด.ช.กิตติธาดา โสรมรรค ม.110 เลขที่30
 ด.ช.อภิวัชร์ ปินตา ม.110 เลขที่31
 ด.ช.ณัฐพัชร์ ฟองพิสุทธิกุล ม.110 เลขที่43
 ด.ช.ธนัท วรรณฉวี ม.110 เลขที่38
 ด.ช.ชัยภัทร ศรีสุทธิ์ ม.110 เลขที่50
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

Contenu connexe

Tendances

Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Watpadhammaratana Pittsburgh
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา25Sura
 

Tendances (20)

Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
 

Similaire à IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1austin975
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1austin975
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดPat Sirikan Bungkaew
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดPat Sirikan Bungkaew
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยPadvee Academy
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u6_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socPrachoom Rangkasikorn
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)monthsut
 

Similaire à IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141 (17)

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
San
SanSan
San
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u6_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 6+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u6_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
 

IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141

  • 1. บทที่ 1 บทนำ ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา วัดถือเป็นสถาบันการศึกษาที่มีความสาคัญในการอบรมสั่งสอนด้านวิชาการและ ศีลธรรมให้แก่คนไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันก่อนจะมีระบบเรียนการจัดการศึกษา ให้กับกุลบุตรจะใช้วัดเป็นสถานที่ให้การศึกษาอบรมสั่งสอนให้เป็นคนดี มีความรู้ วัด เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เป็นสถานที่จัดมหรสพต่างๆสาหรับชาวบ้านมาเล่น ปัจจุบัน การเข้าวัด ฟังธรรม เป็นประเพณีของชาวพุทธ เพื่อจะได้นาแนวคิดและ ประโยชน์จากสาระธรรมมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตให้มีความสุข ซึ่งถือว่าเป็นวัย แห่งการวางรากฐานการพัฒนาในทุกๆด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา ด้วยเหตุนี้จึงจาเป็นจะต้องรณรงค์ส่งเสริมให้นักเรียนม.1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัยได้เข้าวัด เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และการปลูกฝังการมีจิตใจที่ดี งาม เป็นรากฐานในการเป็นเยาวชนที่ดีในอนาคต
  • 2. บทที่ 1 บทนำ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้ตั้งความมุ่งหมายไว้ดังนี้ 1. เพื่อประเมินความคิดเห็นต่อการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 2. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 3. เพื่อศึกษาการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย
  • 3. บทที่ 1 บทนำ ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จานวน 502 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ห้อง 101-112 จานวน 12 ห้อง ห้องละ 10 คน รวม 120 คน
  • 4. บทที่ 1 บทนำ นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การเข้าวัด หมายถึง การที่บุคคลหนึ่งไปเรียนรู้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาที่เหมาะสมสอดคล้องกับการรับรู้ของบุคคลนั้นโดยใช้วัดเป็นแหล่ง เรียนรู้ 2. พฤติกรรม หมายถึง การกระทาหรืออาการที่แสดงออกทาง กล้ามเนื้อ ความคิด และความรู้สึก เมื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า
  • 5. บทที่ 1 บทนำ สมมุติฐานในการศึกษาค้นคว้า นักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าวัดเพื่อทาบุญตักบาตร มากกว่า การฟังธรรม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัยต่อการเข้าวัด 2. ได้ทราบถึงประโยชน์ของการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1 โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย 3.ได้ทราบถึงการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย
  • 7. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 1.วัดคืออะไร วัด หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระ เจดีย์ รวมทั้งมีพระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัย คาว่า “วัด” เป็นคาเรียกชื่อศาสนสถาน แบบคาไทย โดยที่มาของคาว่า “วัด” นี้ ยังไม่มีข้อยุติ ด้วยบางคนอธิบายว่า มา จากคาว่า “วตวา” ในภาษาบาลี แปลว่า เป็นที่สนทนาธรรม บ้างก็ว่ามาจาก “วัตร” อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทา หรือแปลอีก อย่างว่าการจาศีล ซึ่งวัด (วัตร) ตามนัยยะนี้จึงน่าจะหมายถึงสถานที่ซึ่ง พระภิกษุสงฆ์ใช้เป็นที่จาศีลภาวนา หรือสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติ ภาระกิจที่พึงกระทานั่นเอง แต่ก็มีบางคนสันนิษฐานว่ามาจาก
  • 8. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง คาว่า “วัดวา” อันหมายถึงการกาหนดขอบเขตของดินแดนที่ สร้างเป็ นศาสนสถาน เพราะวัดกับวามีความหมายอย่างเดียวกัน คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งต่างๆ เช่น ความยาว ความกว้าง เป็ นต้น วัดในนัยยะอย่างหลังนี้จึงหมายถึงพื้นที่แต่ เดิมครั้งพุทธกาลนั้น มีการใช้คาว่า “อาราม” เป็ นคาเรียกชื่อ ศาสนสถานในทางพุทธศาสนาที่ใช้เรียกเสนาสนะที่มีผู้ศรัทธา ถวายพระพุทธองค์ในระยะแรกๆ เช่น “เชตวนาราม” หรือชื่อเต็ม ว่า “เชตวเนอนาถบิณฑิกสสอาราเม” ซึ่งมีความหมายว่า “สวน ของอนาถบิณฑที่ป่ าเชต” หรือ “เวฬุวนาราม” หรือ “บุปผาราม” เป็ นต้น โดย “อาราเม” หรือ “อาราม”
  • 9. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พระพุทธเจ้า ไม่นอกธรรม นอกวินัย เช่นเดียวกับลูกที่อยู่ในโอวาทของพ่อแม่ 3) เป็นผู้ปฏิบัติถูกทาง ได้แก่ ปฏิบัติเพื่อมุ่งความหมดกิเลสอย่างเดียว ไม่สนใจยินดีต่อ ลาภสักการะ ชื่อเสียงใดๆทั้งสิ้น 4)เป็นผู้ปฏิบัติชอบได้แก่ปฏิบัติอบรมตนให้มีกิริยามารยาทงามมีถ้อยคางดงามดี เลิศ พระสงฆ์ ผู้เป็นอริยสงฆ์ จึงเป็นแบบอย่างแท้จริงแห่งผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบตาม พระพุทธเจ้าของชาวโลก เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาปสาทะ เป็นแรงจูงใจให้ชาวโลกสนใจ และศึกษาพระธรรม ต้องการปฏิบัติธรรมเพื่อเข้าถึงธรรมกาย เป็นนาบุญของชาวโลก เป็นแหล่งปลูกฝังเผยแพร่ความดีที่ยอดเยี่ยมของชาวโลก เป็นสัญลักษณ์แห่งความดี ความบริสุทธิ์ และความสงบ
  • 10. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 4) พระอรหันต์ ละกิเลสได้หมดเด็ดขาดทุกชนิด เมื่อสิ้นชีวิตแล้วธรรมกายก็เข้าสู่พระ นิพพานตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป ผู้ใดตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรมตามพระสงฆ์สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้นั้นย่อม ประสบแต่ความดี ความบริสุทธิ์ ความสงบ และความเจริญรุ่งเรืองยิ่ง ๆ ขึ้นไป สมควร จะได้รับขนานนามว่าเป็นชาวพุทธอย่างแท้จริง
  • 11. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2.ประเภทของวัด ๑. วิสุงคามสีมา หมายถึง เขตพื้นที่ที่พระภิกษุสงฆ์ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อใช้จัดตั้งวัด ขึ้น แต่ในทางปฏิบัตินั้นเป็นการขอพระบรมราชานุญาตเฉพาะแต่บริเวณที่ตั้งพระ อุโบสถเท่านั้น ๒. สานักสงฆ์ หมายถึง สถานที่ตั้งพานักอาศัยของหมู่พระภิกษุสงฆ์ ซึ่งไม่ได้ขอพระบรมราชานุญาต ใช้ผืนที่ดินแห่งนั้นเพื่อจัดตั้งเป็นวัดขึ้น ดังนั้นสานักสงฆ์จึงไม่มีโรงพระอุโบสถเพื่อใช้เป็น ที่ทาสังฆกรรม
  • 12. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3.ความสาคัญของวัด วัดเป็นศูนย์กลางชุมชน วัดในปัจจุบันมีมากกว่าสามหมื่นวัดทั่วประเทศ วัดบางวัดก็เป็นวัดหลวง บางวัดก็เป็นวัดราษฎร์ ขนาดแตกต่าง กันไป บางวัดอยู่ในชนบท แต่บางวัด ตั้งอยู่ในเมือง มีความเจริญทางวัตถุสูง บางวัดมีรายได้มาก แต่บางวัด มีรายได้น้อย บางครั้งถึงขั้นขาดแคลน บางวัดมีมานานแล้ว บางวัด เพิ่งสร้างใหม่ บางวัดดูยิ่งใหญ่อลังการ บางวัดก็ดูเก่าขาดการดูแล บางวัดจัดให้ดูคล้ายสวนป่าธรรมชาติ แต่บางวัดเต็มไป ด้วยสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ บางวัดประชาชนอยากเข้าไปบวช ปฏิบัติ ศึกษาธรรม แต่บางวัดคนไม่อยากเข้าไปเพราะวุ่นวายสับสน บางวัดดูสะอาด สงบ ร่มรื่ น ให้ความสว่างทางจิตใจและปัญญา วัดบางวัดก็เป็นที่พึ่งของประชาชน เป็นศูนย์กลางของชุมชน วัดจะดารงไว้ซึ่งความเป็นวัด (วัด-วัตร-วัฒน) ได้อย่างถูกต้อง จะต้องอาศัยหลักการของพระพุทธศาสนา ที่ ประกอบด้วยองค์ 3 ของไตรสิกขา คือ 1. สะอาด ด้วยหลักการของพระพุทธศาสนา คือ ศีล 2. สงบ ด้วยหลักการของพระพุทธศาสนา คือ สมาธิ 3. สว่าง ด้วยหลักการของพระพุทธศาสนา คือ ปัญญา
  • 13. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง บทบาทของวัดและพระสงฆ์ในสังคมไทย ในสังคมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ หมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านต่าง มี วัดประจาหมู่บ้านของตนเป็น ศูนย์กลาง ซึ่งถือว่าเป็นสมบัติรวมของคนทั้งหมู่บ้าน วัดจึงเป็นศูนย์รวมประชาชนและมีบทบาทดังต่อไปนี้ 1) เป็นสถานศึกษา สาหรับชาวบ้านจะส่งบุตรมารับการ ฝึกอบรม ทางศีลธรรมและเล่าเรียนวิชาการ ต่าง ๆ 2) เป็นสถานสงเคราะห์ บุตรหลานของชาวบ้านที่ยากจน ได้มา อยู่ อาศัยเลี้ยงชีวิตและศึกษาเล่าเรียน ตลอดจนผู้ใหญ่ที่ยากจนมาอาศัยเลี้ยงชีพ 3) เป็นสถานพยาบาล รักษาคนเจ็บป่วยตามแผนโบราณ 4) เป็นที่พักคนเดินทาง 5) เป็นสโมสรที่ชาวบ้านพบปะสังสรรค์ และพักผ่อนหย่อนใจ
  • 14. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 4.ประโยชน์ของการเข้าวัด อาจจะไม่ใช่คนที่ไปวัดบ่อย แต่ก้อมีโอกาสไปช่วงวันสาคัญๆ ช่วง เทศกาล เช่นสงกรานต์ งานบุญเดือนสิบของชาวใต้หรือแม้กระทั่งงานทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ฝังลูกนิมิต -ทาให้จิตใจของเราได้สงบลง ณ เวลานั้น อย่าน้อยก้อทาให้เรามีสติ -การเทศน์ของพระ ถ้าเราคิดตาม มันก้อมีอะไรสอดแทรก คอยสอน มี อะไรอยู่ตั้งมากมาย -ทาให้เรามีความอดทน อดทนต่อร่างกายและจิตใจของตัวเอง -ทาให้เราเห็นวิถี การดารงชีวิตของผู้คนในแถบนั้น -ทาให้เราเรียนรู้ซึ่งวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม -ทาให้เรารู้จักญาติเพิ่มขึ้น -ทาให้เรารู้จักการรอคอย -ทาให้เราสวดมนต์เป็นเองไปโดยปริยาย
  • 15. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 5.ศาสนพิธีในวัด หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฏิบัติในศาสนา เมื่อนามาใช้ในศาสนา จึงหมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฏิบัติในพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆ ช่วยทาให้ความศัทธาต่อ พระพุทธศาสนิกชนมความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้าใจให้ระลึกของคุณของพระรัตนตรัย ได้อย่าง ดีเยี่ยมจึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับพระพุทธศาสนาตลอดไป ศาสนพิธีเป็นต้น เป็นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งถือปฏิบัติเป็นแบบอย่างเป็นธรรมเนียบสืบต่อกันมา เนื้อความเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงามเป็นแบบเดียวกัน เหตุให้เกิดศาสนพิธีนี้ คือ ความนิยมทาบุญของพุทธศาสนิกชนซึ่ ไม่ว่าจะปรารถนาเหตุอะไรทากัน ก็มักจะทาให้ครบและตามหลักวิธีในทางศาสนาซึ่งพระสัมมาสัม พุทธเจ้าได้แนะแนวไว้ 3 หลักคือ 1.ทาน การบริจาควัตถุสิ่งของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น 2.ศีล การรักษากาย วาจาให้สงบเรียบร้อย 3.ภาวนา การยกระดับจิตใจให้สูงขึ้นด้วยการอบรมให้สงบนิ่งและให้เกิดปัญญา ดังนั้น,ในการทาบุญทุกครั้ง ชาวพุทธจึงถือคติว่าต้องให้เข้าหลัก 3 ประการนี้ โดยเริ่มต้นจะทาข้อ ไหนก่อนก็ได้เช่น รับศีลแล้วฟังพระเจริญพระพุทธมนต์(ภาวนา)
  • 16. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ประโยชน์ของศาสนพิธี ถ้าเปรีบยศาสนาเหมือนกับต้นไม้ศาสนพิธีเปรียบได้กับ เปลือกนอกของต้นไม้ตัวสัจธรรม คือ คาสอนที่เป็นหลักปฏิ บัตืทางศาสนาเปรียบกับแก่นของต้นไม้ทั้งเปลือกทั้งแก่นไม้ ย่อมมีประโยชน์ต่อต้นไม้เท่าๆกัน หากมีแต่แก่น ไม่มี เปลือกห่อหุ้ม ต้นไม้ก็จะอยู่ไม่ได้หรือมีแต่เปลือกอย่าง เดียวแก่นไม่มี หรือ มีก่นแต่เล็กเรียวเกินไป เพราะเปลือก หนามาก ต้นไม้นั้นก็ให้ประโยชน์น้อย ดังนั้น ต้นไม้จึงต้อง มีทั้งแก่นและเปลือกเพื่ออาศัยซึ่งกันและกัน หากถึงคราวก็ จะใช้ทาประโยชน์จริงๆ ค่อยกะเทาะเปลือกนอกออก นา เฉพาะแก่นเท่านั้นไปใช้จึงจะได้รับประโยชน์จากต้นม้นั้น อย่างแท้จริง
  • 17. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การประกอบศาสนพิธี ดังกล่าวมาแล้วว่าพิธีกรรมนั้นไม่ใช่ตัวหลักการศาสนาเวลาจะประกอบพิธีกรรม จึงควรยึดถือเฉพาะที่ เป็นหลักศาสนพิธี คือให้เข้าใจหลักการทาบุญทางศาสนา 3 ประการข้างต้นนั้นเท่านั้น ตัดพิธีกรรม ส่วนเกิน ซึ่งเป็นเหตุฟุ่มเฟือย เป็นสิ่งที่ทาต่อกันมาโดยไม่ทราบเหตุผลออกเสีย นอกจากต้องคานึงถึง หลักศาสนพิธีแล้วต้องคานึงถึงหลักเศรษฐกิจและหลักสังคมด้วย สรุปแล้ว การประกอบพิธีกรรมทุก 1.ต้องประหยัด 2.ต้องให้ได้ประโยชน์และคุ้มค่า 3.ต้องถูกต้องตามขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม 4.ต้องให้เหมาะสม ศาสนพิธีมี 4 หมวดใหญ่ คือ 1.กุศลพิธี 2.บุญพิธี 3.ทานพิธี 4.ปกิณถะพิธี
  • 18. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 6.องค์ประกอบของวัด พุทธศาสนสถาน แปลโดยตรงได้ความว่า สถานที่ หรือ สิ่งก่อสร้าง ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้ในกิจการ หรือเกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนา ได้แก่ สานักสงฆ์ วัดวาอาราม โบสถ์ วิหาร เจดีย์ และสถูป เป็นต้น เป็นสถานที่ซึ่งใช้ประกอบพิธีทางศาสนา เป็นที่พานักของพระภิกษุ เและ เป็นอนุสรณ์ให้ระลึกถึงคุณ พระรัตนตรัย ซึ่งพุทธศาสนิกชนนิยมไปกราบไหว้บูชา และร่วมกิจกรรมต่างๆ องค์ประกอบของ "พุทธ ศาสนสถาน" แบ่งเป็นเขตพุทธาวาส เป็นพื้นที่สาหรับพุทธสานิกชน โดยประกอบด้วย: เจดีย์ ,หมายถึงสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชา สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ ลูกหลานและผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่ สักการะของมหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจก พุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ
  • 19. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พระปรางค์ หรือ ปรางค์ เป็นสิ่งก่อสร้างประเภทหนึ่งในงานสถาปัตยกรรมไทย เป็นหลักประธานในวัดเช่นเดียวกับพระเจดีย์ แต่เดิมถือว่าเป็น งานสถาปัตยกรรมที่มีรูปแบบลักษณะเฉพาะของขอม โดยมีคติความเชื่อในศาสนาฮินดู ว่าเป็นสัญลักษณ์ของ เขาพระ สุเมรุ ลักษณะรูปทรงของพระปรางค์จาแนกเป็น 4 แบบ ได้แก่ ทรงศิขร เป็นปรางค์รูปแบบดั้งเดิม,ทรงงาเนียม มี ลักษณะคล้ายงาช้าง,ทรงฝักข้าวโพด,ทรงจอมแห โบสถ์ หรือ อุโบสถ เป็นอาคารที่สาคัญภายในวัดเนื่ องจากเป็นสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ทาสังฆกรรม ซึ่งแต่เดิมในการทาสังฆกรรมของ พระภิกษุสงฆ์จะใช้เพียงพื้นที่โล่งๆ ที่กาหนดขอบเขตพื้นที่สังฆกรรมโดยการกาหนดตาแหน่ง“สีมา” เท่านั้น แต่ใน ปัจจุบันจากการมีผู้บวชมากขึ้น อีกทั้งภายในพระอุโบสถมักประดิษฐาน พระประธานที่เป็นพระพุทธรูปองค์สาคัญๆ ทา ให้มีผู้มาสักการะบูชาและร่วมทาบุญเป็นจานวนมาก พระอุโบสถจึงถูกสร้างขึ้นเป็นอาคารถาวรและมักมีการประดับ ตกแต่งอย่างสวยงาม
  • 20. บทที่2 เอกสำรและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องวิหาร อาคารที่ใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป คาว่า วิหาร นี้ แต่เดิมหมายถึง “ที่อยู่” โดยไม่จากัดบุคคลชั้นใด ต่อมาในสมัย พุทธกาล หมายถึงที่อยู่สาหรับ พระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวก ครั้นพระพุทธเจ้าดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว วิหารได้รับการ สร้างขึ้นสาหรับเป็นที่ประดิษฐาน “พระพุทธปฏิมากร” คือ รูปแทนองค์พระพุทธเจ้า ดังนั้น คาว่า วิหาร ในความเข้าใจ โดยประเพณีนิยม จึงมีความหมายจาเพาะว่า “สถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูป” วัดไทยแต่ละแห่งอาจมีวิหารได้มากกว่า 1 หลัง พระมณฑป อาคารที่มีรูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นอย่างเรือนรูปสี่เหลี่ยม มักทาหลังคาเป็นรูปทรงกรวยสี่เหลี่ยม ปลายเรียวแหลม ใช้เป็น สถานที่สาหรับประดิษฐาน พระพุทธรูป รอยพระพุทธบาท หรือพระไตรปิฎกที่สาคัญ ตัวอย่างเช่น พระมณฑป วัดพระศรี รัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร และพระมณฑปวัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี หอไตร อาคารสาหรับเก็บรักษา “พระไตรปิฎก” เปรียบเสมือน “หอสมุด” ของวัดแต่ละแห่ง เป็นที่เก็บรักษาคัมภีร์คาสอนของ พระพุทธศาสนา ซึ่งพระสงฆ์ใช้สาหรับศึกษาและเผยแผ่แก่บรรดาพุทธศาสนิกชน หอพระธรรม หรือหอไตรเป็นอาคาร ขนาดเล็กๆ ยกพื้นสูง มักทาเฉลียงรอบ และปลูกสร้างหอขึ้นในสระ โดยใช้น้าหล่อเสาเพื่อกันมด ปลวก และหนู มิให้ไป ทาลายพระคัมภีร์ต่างๆ วัดส่วนมากมีหอไตรเพียงหลังเดียว แต่วัดใหญ่ๆ โดยเฉพาะวัดที่เป็นพระอารามหลวงจะ มีหอพระ ธรรมหรือหอไตรมากกว่า 1 หลัง
  • 21. บทที่ 3 วิธีดำเนินกำร  ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้  1. การกาหนดประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง  2. การสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า  3. การเก็บรวบรวมข้อมูล  4. การจัดกระทาและการวิเคราะห์ข้อมูล
  • 22. กำรกำหนดประชำกรและกำรเลือกกลุ่มตัวอย่ำง ประชำกร  ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จานวน 502 คน  การเลือกกลุ่มตัวอย่าง  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้จากการสุ่มแบบโควต้า จากนักเรียน 12 ห้อง ห้องละ 10 คน จานวน 120 คน
  • 23. กำรสร้ำงเครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ  1. ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย  2. สร้างแบบสอบถาม ตามวัตถุประสงค์ดังนี้  ตอนที่ 1 เป็นข้อคาถามแบบนามบัญญติเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 8ข้อ  ตอนที่ 2 เป็นคาถามแบบมาตรอันตรภาคชั้นจานวน5อันดับ ซึ่งมีรายการให้จัดอันดับ5รายการ มีลักษณะเป็น แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ โดยสอบถามความคิดเห็น/ความพึงพอใจของ นักเรียน เรื่ องการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยจานวน 1 ฉบับ ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้าง เครื่ องมือดังนี้  1. ศึกษาและสร้างแบบสอบถามความคิดเห็นตามวิธีของเบสท์ (Best. 1986 : 181-182)  2. สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเป็นมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ของลิ เคิร์ท ข้อคาถามจานวน13ข้อ โดยกาหนดค่าระดับความคิดเห็นแต่ละช่วงคะแนนและความหมาย ดังนี้  ระดับ 1 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อยที่สุด  ระดับ 2 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย  ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง  ระดับ 4 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก  ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด
  • 24.  สาหรับการให้ความหมายของค่าที่วัดได้ผู้ค้นคว้าได้กาหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการให้ความหมายโดยได้จาก แนวคิดของเบสท์(Best. 1986 : 195) การให้ความหมาย โดยการให้ค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านและราย ข้อ ดังนี้  1.00 – 1.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อยที่สุด  1.50 - 2.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย  2.50 - 3.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง  3.50 - 4.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก  4.50 - 5.00 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด  3. นาไปให้ครูที่ปรึกษา ตรวจสอบความถูกต้องและความครอบคลุมของข้อคาถาม แก้ไขตามคาแนะนา  4. ทดลองใช้โดยให้เพื่อนลองทา
  • 25. กำรเก็บรวบรวมข้อมูล เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2561โดยสมาชิกในกลุ่มแบบเก็บข้อมูลด้วยตนเองคนละ 2-3ห้อง จานวนทั้งหมด 120 ฉบับ ได้แบบสอบถามกลับจานวน 120แบบสอบถามไม่สมบูรณ์ จานวน9ฉบับ  การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล  1. แบบสอบถามตอนที่ 1 ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบนามบัญญัตินามาแจกแจงความถี่ และหาค่า  ร้อยละ  2.แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ สอบถามระดับความชอบ นามาหาค่าเฉลี่ย ดังนี้  5 หมายถึง ชอบมากที่สุด  4 หมายถึง ชอบมาก  3 หมายถึง ชอบปานกลาง  2 หมายถึง ชอบน้อย  1 หมายถึง ชอบน้อยที่สุด 
  • 26. การแปลผลค่าเฉลี่ยที่ได้  ระดับ แปลผล  4.50 - 5.00 มากที่สุด  3.50 - 4.49 มาก  2.50 - 3.49 ปานกลาง  1.50 - 2.49 น้อย  1.00 – 1.49 น้อยที่สุด
  • 28. บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล  การนาเสนอข้อมูล  ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่2 การจัดลาดับความชอบสิ่งของสะสม  1. คุณอยู่ห้องใด  2.คุณเคยเข้าวัดไหม  3.คุณเข้าวัดบ่อยแค่ไหนต่อสัปดาห์  4.สถานที่ในวัดที่เข้าเป็นประจา  5.เช้าวัดช่วงไหนบ่อยที่สุด  6.คุณชอบวัดใดมากที่สุด  7.วัตถุประสงค์ของการเข้าวัด  8.ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากการเข้าวัด
  • 29. ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม ตำรำง 1 คุณอยู่ห้องใด รายการ จานวน/คน ร้อยละ 101 8 7.2 102 10 9 103 10 9 104 10 9 105 10 9 106 8 7.2 107 9 8.1 108 9 8.1 109 9 8.1 110 10 9 111 10 9 112 8 7.2 รวม 111 100 จากตาราง 1 แสดงว่า ห้องนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ 9 คือห้อง 102 103 104 105 110 111 ร้อยละ 8.1 คือห้อง 107 108 109และร้อยละ 7.2คือห้อง 101 106 112
  • 30. ตำรำง 2 คุณเคยเข้าวัดไหม รายการ จานวน/คน ร้อยละ เคย 110 99 ไม่เคย 1 1 รวม 120 100 จากตาราง 2 แสดงว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าวัดของ นักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ 99 เคยและร้อยละ 1 ไม่เคย
  • 31. ตำรำง 3 คุณเข้าวัดบ่อยแค่ไหนต่อสัปดาห์ รายการ จานวน/คน ร้อยละ 1-2วัน 21 19 3-4วัน 27 24.5 ทุกวัน 2 1.8 นานๆครั้ง 55 50 รวม 110 100 จากตาราง 3 แสดงว่า ความถี่ของการเข้าวัดของนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ50 นานๆครั้ง ร้อยละ24.5 3-4วัน ร้อยละ19 1-2 วัน และร้อยละ1.8 ทุกวัน
  • 32. ตำรำง 4 สถานที่ในวัดที่เข้าเป็นประจา รายการ จานวน/คน ร้อยละ โบสถ์ 40 36.3 วิหาร 28 27.2 ศาลา 32 29 อื่นๆ 8 7.2 รวม 110 100 จากตาราง 4 แสดงว่า สถานที่ในวัดที่นักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าประจา ส่วนใหญ่ ร้อยละ36.3 โบสถ์ ร้อยละ29 วิหาร ร้อยละ27.2 ศาลา และร้อยละ7.2 อื่นๆ
  • 33. ตำรำง 5 เช้าวัดช่วงไหนบ่อยที่สุด รายการ จานวน/คน ร้อยละ เช้า 32 29.3 กลางวัน 28 25.5 เย็น 41 37.2 ค่า 9 8.1 รวม 110 100 จากตาราง 5 แสดงว่า เวลาในการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าบ่อยสุด ส่วนใหญ่ ร้อยละ37.2 เย็น ร้อยละ29.3 เช้า ร้อยละ25.5 กลางวัน และร้อยละ8.1ค่า
  • 34. ตำรำง 6 คุณชอบวัดใดมากที่สุด รายการ จานวน/คน ร้อยละ วัดพระแก้ว 48 43.64 วัดเลียบ 31 28.18 วัดสระเกศ 14 12.73 อี่นๆ 17 15.45 รวม 110 100 จากตาราง 6 แสดงว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยชอบวัดใดมากที่สุด ส่วนใหญ่ ร้อยละ43.64 วัดพระแก้ว ร้อยละ28.18 วัดเลียบ ร้อยละ15.45 อื่นๆ และร้อยละ12.73วัดสระเกศ
  • 35. ตำรำง 7 วัตถุประสงค์ของการเข้าวัด รายการ จานวน/คน ร้อยละ เพื่อฟังธรรม 35 31.82 เพื่ออธิษฐาน 23 20.9 เพื่อตักบาตร 39 35.45 อี่นๆ 13 11.82 รวม 110 100 จากตาราง 7 แสดงว่า วัตถุประสงค์ของการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ35.45 เพื่อตักบาตร ร้อยละ31.82 เพื่อฟังธรรม ร้อยละ20.9 เพื่ออธิษฐาน และร้อยละ11.82 อื่นๆ
  • 36. ตำรำง 8 ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากการเข้าวัด รายการ จานวน/คน ร้อยละ มีจิตใจบริสุทธิ์ 31 28.18 สบายใจ 30 27.27 ได้บุญ 43 40 ได้ศึกษาธรรมะ 18 17.27 อื่นๆ 1 0.9 รวม 110 100 จากตาราง 8 แสดงว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ40 ได้บุญ ร้อยละ28.18 มีจิตใจบริสุทธิ์ ร้อยละ27.27 สบายใจ ร้อยละ17.27 ได้ศึกษาธรรมะ และร้อยละ0.9 อื่นๆ
  • 37. ตอนที่ 2 ควำมคิดเห็นต่อกำรเข้ำวัด ตาราง 9 ความคิดเห็นต่อการเข้าวัด รายการ มาก ที่สุด มาก ปานกลาง น้อ ย น้อ ย ที่สุ ด ค่าเฉลี่ย แปรผล การเข้าวัดดีมาก น้อยแค่ไหน 46 31 22 9 3 3.9 มาก วัดให้ประโยชน์ แก่แก่ท่านแค่ ไหน 54 26 23 2 6 4.0 มาก การเข้าวัดให้ ความสุขแค่ไหน 36 24 29 13 9 3.5 มาก การเข้าวัดส่งผล ต่อชีวิตมากน้อย เพียงใด 47 31 29 2 2 4.0 มาก การเข้าวัดจาเป็ น มากน้อยแค่ไหน 40 21 37 7 6 3.7 มาก จากตาราง 9 แสดงว่า ความคิดเห็นต่อการเข้าวัด ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย มากที่สุด คือ วัดให้ประโยชน์ แก่แก่ท่านแค่ไหนและการเข้าวัดส่งผลต่อชีวิตมาก น้อยเพียงใด ( = 4.0) รองลงมาคือ การเข้า วัดดีมากน้อยแค่ไหน ( = 3.9) การเข้าวัด จาเป็นมากน้อยแค่ไหน ( = 3.7) และ การ เข้าวัดให้ความสุขแค่ไหน ( =3.5)
  • 38. บทที่ 5 สรุปผลกำรศึกษำค้นคว้ำและข้อเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เกี่ยวกับการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย สรุปผลตามลาดับดังนี้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย/การศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อประเมินความคิดเห็นต่อการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 2. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 3. เพื่อศึกษาการเข้าวัดของนักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
  • 39.  สมมุติฐานในการศึกษาค้นคว้า  นักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าวัดเพื่อทาบุญตักบาตร มากกว่าการฟังธรรม   วิธีดาเนินการวิจัย  1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย ได้จากการสุ่มแบบโควต้า จากนักเรียน 12 ห้อง ห้องละ 10 คน จานวน 120 คน 2. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา ค้นคว้าครั้งนี้ คือแบบสอบถาม1. ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นม.1โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย  2. สร้างแบบสอบถาม ตามวัตถุประสงค์ดังนี้  ตอนที่ 1 เป็นข้อคาถามแบบนามบัญญัติเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 8ข้อ
  • 40.  ตอนที่ 2. สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเป็นมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ของลิเคิร์ท ข้อคาถาม จานวน13ข้อ โดยกาหนดค่าระดับความคิดเห็นแต่ละช่วงคะแนนและความหมาย ดังนี้  ระดับ 1 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อยที่สุด  ระดับ 2 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย  ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง  ระดับ 4 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก  ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด  สาหรับการให้ความหมายของค่าที่วัดได้ ผู้ค้นคว้าได้กาหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการให้ความหมายโดยได้จากแนวคิดของเบสท์(Best. 1986 : 195) การให้ความหมาย โดยการให้ค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านและรายข้อ ดังนี้  1.00 – 1.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อยที่สุด  1.50 - 2.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับน้อย  2.50 - 3.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับปานกลาง  3.50 - 4.49 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก  4.50 - 5.00 หมายถึง เหมาะสม/เห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด  3. นาไปให้ครูที่ปรึกษา ตรวจสอบความถูกต้องและความครอบคลุมของข้อคาถาม แก้ไขตามคาแนะนา  4. ทดลองใช้ โดยให้เพื่อนลองทา
  • 41. 3. เก็บรวบรวมข้อมูล  เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2561โดยสมาชิกในกลุ่มแบบเก็บข้อมูลด้วยตนเองคนละ2-3ห้อง  จานวนทั้งหมด 120 ฉบับ ได้แบบสอบถามกลับจานวน 120แบบสอบถามไม่สมบูรณ์ จานวน9ฉบับ
  • 42. 4. การวิเคราะห์ข้อมูล  1. แบบสอบถามตอนที่ 1 ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบนามบัญญัตินามาแจกแจงความถี่ และหาค่า  ร้อยละ  2.แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ สอบถามระดับความชอบ นามาหาค่าเฉลี่ย ดังนี้  5 หมายถึง ชอบมากที่สุด  4 หมายถึง ชอบมาก  3 หมายถึง ชอบปานกลาง  2 หมายถึง ชอบน้อย  1 หมายถึง ชอบน้อยที่สุด  การแปลผลค่าเฉลี่ยที่ได้  ระดับ แปลผล  4.50 - 5.00 มากที่สุด  3.50 - 4.49 มาก  2.50 - 3.49 ปานกลาง  1.50 - 2.49 น้อย  1.00 – 1.49 น้อยที่สุด
  • 43. สรุปผลกำรวิจัย  1.ห้องนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ 9 คือห้อง 102 103 104 105 110 111 ร้อย ละ 8.1 คือห้อง 107 108 109และร้อยละ 7.2คือห้อง 101 106 112  2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าวัดของนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ 99 เคยและร้อยละ 1 ไม่เคย  3.ความถี่ของการเข้าวัดของนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ50 นานๆครั้ง ร้อยละ24.5 3-4วัน ร้อยละ19 1-2 วัน และร้อยละ1.8 ทุกวัน  4.สถานที่ในวัดที่นักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าประจา ส่วนใหญ่ ร้อยละ36.3 โบสถ์ ร้อยละ 29 วิหาร ร้อยละ27.2 ศาลา และร้อยละ7.2 อื่นๆ  .5.เวลาในการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าบ่อยสุด ส่วนใหญ่ ร้อยละ37.2 เย็น ร้อยละ 29.3 เช้า ร้อยละ25.5 กลางวัน และร้อยละ8.1ค่า
  • 44.  6.นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยชอบวัดใดมากที่สุด ส่วนใหญ่ ร้อยละ43.64 วัดพระแก้ว ร้อยละ28.18 วัดเลียบ ร้อยละ15.45 อื่นๆ และร้อยละ12.73วัดสระเกศ  7.วัตถุประสงค์ของการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ35.45 เพื่อตักบาตร ร้อยละ31.82 เพื่อฟังธรรม ร้อยละ20.9 เพื่ออธิษฐาน และร้อยละ11.82 อื่นๆ  8.ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ส่วนใหญ่ ร้อยละ40 ได้บุญ ร้อย ละ28.18 มีจิตใจบริสุทธิ์ ร้อยละ27.27 สบายใจ ร้อยละ17.27 ได้ศึกษาธรรมะ และร้อยละ0.9 อื่นๆ  9.ความคิดเห็นต่อการเข้าวัดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย มากที่สุด คือ วัดให้ประโยชน์แก่แก่ท่าน แค่ไหนและการเข้าวัดส่งผลต่อชีวิตมากน้อยเพียงใด ( = 4.0) รองลงมาคือ การเข้าวัดดีมากน้อยแค่ไหน ( = 3.9) การเข้าวัด จาเป็นมากน้อยแค่ไหน ( = 3.7) และ การเข้าวัดให้ความสุขแค่ไหน ( =3.5)  10.สรุปผลตามสมมติฐาน ได้ว่านักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเข้าวัดเพื่อทาบุญตักบาตร มากกว่าการฟังธรรม ถูกต้อง  ข้อเสนอแนะ  นักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยควรเข้าวัดมากว่านี้  นักเรียนม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยควรรู้เรื่ องเกี่ยวกับวัดมากกว่านี้
  • 45. โดย  ด.ช.กิตติธาดา โสรมรรค ม.110 เลขที่30  ด.ช.อภิวัชร์ ปินตา ม.110 เลขที่31  ด.ช.ณัฐพัชร์ ฟองพิสุทธิกุล ม.110 เลขที่43  ด.ช.ธนัท วรรณฉวี ม.110 เลขที่38  ด.ช.ชัยภัทร ศรีสุทธิ์ ม.110 เลขที่50 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย