SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 9
รายได้ประชาชาติ
การบริโภค การออม และการลงทุน
1
วัฏจักรธุรกิจ
อ.อรคพัฒร์ บัวลม
รายได้ประชาชาติ
National Income
2
การวัดรายได้ประชาชาติถูกนามาใช้เพื่อเปรียบเทียบความมั่งคั่ง
ของประเทศ โดยมีสมมุติฐานว่า
ประเทศใดมีทรัพยากรมากและมีการใช้ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพสูงก็ย่อมมีรายได้ประชาชาติสูง ซึ่งอาจแสดงว่าประชาชน
ในประเทศอยู่ดีกินดี
ประเทศไทยเริ่มทาบัญชีประชาชาติภายใต้ระบบบัญชีประชาชาติ
ขององค์การสหประชาชาติ(UN.SA) ตั้งแต่ปี 2499
3
ความหมายของรายได้ประชาชาติ
รายได้ประชาชาติ หรือผลิตภัณฑ์ประชาชาติ คือ
มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประเทศผลิตได้ใน
ระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติคิดระยะเวลา 1 ปี
4
ประเภทรายได้ประชาชาติ
1. ผลิตภัณฑ์รวมภายในประเทศ(gross domestic product: GDP)
2. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ(gross national product: GNP)
3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (net national product: NNP)
4. รายได้ประชาชาติ (national income: NI)
5. รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income : PI)
6. รายได้สุทธิส่วนบุคคล (Disposable Income : DI)
7. รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Income)
5
1. ผลิตภัณฑ์รวมภายในประเทศ(GROSS DOMESTIC PRODUCT: GDP)
มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ประเทศผลิตได้
ภายในประเทศ ในระยะเวลาหนึ่งโดยปกติคิดระยะเวลา 1 ปี โดยไม่
คานึงถึงว่าทรัพยากรที่นามาผลิตสินค้านั้นเป็นของชาติใด
GDP ที่คานวณได้จะแสดงกาลังความสามารถในการผลิตของ
ประเทศ
6
GDP = รายได้ทั้งหมดที่เกิดขึ้นในประเทศ
2.ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GROSS NATIONAL PRODUCT : GNP)
มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายทั้งหมดที่ประชาชน
ของประเทศทาการผลิตขึ้นได้ในระยะเวลา 1ปี
**GNP ที่คานวณได้สามารถใช้แสดงถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศได้
7
GNP = GDP + รายได้สุทธิจากต่างประเทศ
3.ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ(NET NATIONAL PRODUCT :NNP)
มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายทั้งหมดที่
ประชาชนของประเทศทาการผลิตขึ้นได้ในระยะเวลา 1 ปี โดยหักค่า
เสื่อมราคาของสินค้าออกแล้ว
8
NNP = GNP - ค่าเสื่อมราคา
4.รายได้ประชาชาติ (NATIONAL INCOME : NI)
มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายทั้งหมดที่แท้จริงที่
ประชาชนของประเทศทาการผลิตขึ้นได้ในระยะเวลา 1 ปี
9
NI = NNP - ภาษีทางอ้อม + เงินอุดหนุน
5. รายได้ส่วนบุคคล (PERSONAL INCOME : PI)
รายได้เฉพาะส่วนที่บุคคลได้รับจากการผลิตสินค้าและบริการ รวม
กับรายได้ส่วนที่ไม่ได้เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ
10
PI = NI – (กาไรที่ยังไม่ได้จัดสรร + ภาษีเงินได้บริษัท + ภาษีประกันสังคม)
+ เงินโอน
6.รายได้สุทธิส่วนบุคคล (DISPOSABLE INCOME : DI)
รายได้ทั้งหมดที่บุคคลได้รับหลังหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
11
DI = PI - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
7.รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (PER CAPITA INCOME)
12
เช่น per capita GDP = GDP
N
เช่น per capita GNP = GNP
N
รายได้ ….
จานวนประชากร (N)
=…per Capita
เช่น per capita NI = NI
N
การคานวณรายได้ประชาชาติ
เราสามารถคานวณหารายได้ประชาชาติ ได้จากวงจรที่แสดงการ
หมุนเวียนของรายได้ ผลผลิตและค่าใช้จ่าย ดังรูป
13
หน่วย
ครัวเรือน
หน่วยผลิต
ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ
ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กาไร
สินค้า และบริการ
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า และบริการ
วิธีการคานวณรายได้ประชาชาติ
1. วิธีการคานวณด้านผลิตภัณฑ์ (Product Approach)
2. วิธีการคานวณด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
3. วิธีการคานวณด้านรายได้ (Income Approach)
14
1. วิธีการคานวณด้านผลิตภัณฑ์ (PRODUCT APPROACH)
คือ การรวบรวมมูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (final goods
and services) ที่ผลิตด้วยทรัพยากรของประเทศภายในระยะเวลา 1 ปี
15
เพื่อป้องกันปัญหาการนับซ้า
ทาได้โดยการคานวณหา
มูลค่าเพิ่ม (value added)
ของสินค้า และบริการในแต่ละขั้นตอนการผลิต
สินค้าและบริการขั้นสุดท้าย = สินค้าและบริการที่ผู้บริโภคซื้อไปเพื่อการอุปโภคบริโภคโดยตรง
ตัวอย่าง การคานวณรายได้โดยวิธีมูลค่าเพิ่ม
ขั้นตอนการผลิต มูลค่าขาย
(บาท)
มูลค่าสินค้าขันกลาง
(บาท)
มูลค่าเพิ่ม
(บาท)
โรงงานหนังดิบ 250 0 250
โรงงานฟอกหนัง 600 250 350
โรงงานตัดเย็บกระเป๋ า 1,400 600 800
ผู้ค้าส่ง 1,800 1,400 400
ผู้ค้าปลีก 2,500 1,800 700
ผลรวม 6,550 4,050 2,500
16
2. วิธีการคานวณด้านรายจ่าย (EXPENDITURE APPROACH)
การคานวณหารายจ่ายทั้งหมดที่ประชาชนใช้ซื้อสินค้า และบริการ
ของประเทศ ภายในระยะเวลา 1 ปี
รายจ่ายทั้งหมดแบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1)รายจ่ายเพื่อการอุปโภค และบริโภคของภาคเอกชน : C
2) รายจ่ายเพื่อการลงทุนทั้งหมดของเอกชนภายในประเทศ : I
3) รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล : G
4) การส่งออกสุทธิ : X-M
17
GDP = C + I + G + (X – M)
1) รายจ่ายเพื่อการอุปโภค และบริโภคของภาคเอกชน
(PERSONAL CONSUMPTION EXPENDITURE : C)
คือ ค่าใช้จ่ายของฝ่ายครัวเรือนในการซื้อสินค้าและบริการต่างๆ
โดยแบ่งเป็นสินค้าถาวร สินค้าไม่ถาวร และรายจ่ายค่าบริการ
ค่าใช้จ่ายที่ ไม่ นามาคานวณในรายได้ประชาชาติ
1. ค่าใช้จ่ายซื้อสินค้ามือสอง
2. เงินโอน
18
2) รายจ่ายเพื่อการลงทุนทั้งหมดของเอกชนภายในประเทศ
(GROSS PRIVATE DOMESTIC INVESTMENT EXPENDITURE : I)
 รายจ่ายเพื่อการก่อสร้างใหม่
 รายจ่ายเพื่อการซื้อสินค้าทุนใหม่
 ส่วนเปลี่ยนแปลงสินค้าคงเหลือ
19
ส่วนเปลี่ยนแปลงสินค้าคงเหลือ = สินค้าคงเหลือปลายปี - สินค้าคงเหลือต้นปี
3) รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล
(GOVERNMENT PURCHASES OF GOODS AND SERVICES : G)
รายจ่ายของรัฐบาลในการซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย
จากองค์กรธุรกิจเอกชน
4) การส่งออกสุทธิ (net exports of goods and services : X-M)
การส่งออกสุทธิ = มูลค่าสินค้าส่งออก - มูลค่าสินค้า
นาเข้า
20
3. วิธีการคานวณด้านรายได้ (INCOME APPROACH)
การคานวณรายได้ทั้งหมดที่เจ้าของปัจจัยการผลิต ได้รับ
จากการให้ปัจจัยการผลิตที่ตนมีอยู่แก่หน่วยผลิตในการผลิต
สินค้าและบริการภายในระยะเวลา 1 ปี
21
NI = ค่าเช่า + ค่าจ้าง + ดอกเบี้ย +กาไร
ค่าเช่า(rent) = ค่าตอบแทนที่บุคคลได้รับจากการให้เช่าทรัพย์สินต่างๆ
ค่าจ้าง(wage) = ค่าตอบแทนที่นายจ้างให้กับลูกจ้างทั้งทางตรงและ
ทางอ้อมทั้งที่อยู่ในรูปตัวเงิน และไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน
ดอกเบี้ย (Interest) = ดอกเบี้ยทั้งหมดที่เอกชนได้รับจากการเป็นเจ้าของ
ปัจจัยทุน
กาไร (profit) = รายได้ที่เป็นผลตอบแทนของผู้ประกอบการ
22
-รายได้ของผู้ประกอบการที่มิใช่นิติบุคคล
-รายได้ของผู้ประกอบการนิติบุคคล เช่น เงินปันผล , กาไรที่ไม่ได้
จัดสรร, ภาษีเงินได้ของบริษัท
ประโยชน์ที่ได้รับจากรายได้ประชาชาติ
1. ใช้ในการวิเคราะห์เศรษฐกิจ
2. ใช้เปรียบเทียบมาตราฐานการครองชีพของประชาชน
3. ใช้เป็นเครื่องมือในการกาหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ
23
ข้อบกพร่องในการใช้บัญชีรายได้ประชาชาติ
เพื่อการวิเคราะห์เศรษฐกิจ
1. ไม่ได้รวมสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตได้ทั้งหมด
2. ไม่ได้สะท้อนให้เห็นคุณภาพของสินค้าและบริการที่ผลิตได้
3. ไม่แสดงให้เห็นการกระจายรายได้ระหว่างบุคคล
4. ไม่สามารถแสดงให้เห็นส่วนประกอบของผลผลิต
5. ไม่คานึงถึงค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแก่สังคม
24
การบริโภค การออม และการลงทุน
Consumption Saving and
Investment
25
การบริโภค
Consumption
26
ตามทฤษของเคนส์ รายได้ถูกกาหนดโดย อุปสงค์มวลรวม
(aggregate demand) ซึ่งประกอบด้วย
 ค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภค(C)
 การลงทุน(I)
 ค่าใช้จ่ายรัฐบาล(G)
 การค้าต่างประเทศสุทธิ(X-M)
ถ้าค่าใช้จ่ายทุกตัวมีมาก รายได้ประชาชาติก็สูงตามไปด้วย นั่น
เท่ากับว่า อุปสงค์มวลรวม เป็นตัวกาหนด รายได้ประชาชาติ
27
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและรายได้
ปัจจัยที่กาหนดการบริโภคมีหลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่สาคัญที่สุดคือ
“รายได้”
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและรายได้เรียกว่า ฟังก์ชันการ
บริโภค (consumption function)
28
ฟังก์ชันการบริโภค (consumption function)
C = f(Yd , A1 , A2 , A3……..)
โดยที่ C = การใช้จ่ายในการบริโภค
Yd = รายได้สุทธิส่วนบุคคล
A1 , A2 , A3…….. คือ ปัจจัยอื่นๆ
โดยที่Yd = ค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภค(C) + การออม(S)
และ S=f(Yd) 29
ปัจจัยอื่นที่กาหนดค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภค
1. ปัจจัยทางด้านจิตใจ (Subjective Factors)
• อุปนิสัยของบริโภค
• ภาวะแวดล้อมทางสังคม
• การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต
2. ปัจจัยทางด้านวัตถุ (Objective Factors)
• ระดับราคาสินค้าและบริการ
• ระดับรายได้ของผู้บริโภค
• การให้สินเชื่อเพื่อการบริโภค
• ขนาดของสินทรัพย์ถาวรที่บุคคลมีอยู่
• การกระจายรายได้ในสังคม 30
31
ตารางแสดงระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคล(Yd) และการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค (C)
รายได้สุทธิส่วน
บุคคล (Yd)
ค่าใช้จ่ายเพื่อการ
บริโภค (C)
APC = C/Yd MPC =C/Yd
0 1000 - -
1000 1750 1.75 0.75
2000 2500 1.25 0.75
3000 3250 1.08 0.75
4000 4000 1 0.75
5000 4750 0.95 0.75
6000 5500 0.92 0.75
7000 6250 0.89 0.75
8000 7000 0.88 0.75
สมการการบริโภค
a = ระดับการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคเมื่อรายได้เท่ากับศูนย์
b = อัตราส่วนการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคกับการเปลี่ยนแปลงรายได้สุทธิส่วน
บุคคล
32
C = a + bYd
ตัวอย่าง ถ้าการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค 4000 บาท ซึ่งเท่ากับรายได้พอดี ต่อมา เมื่อรายได้เพิ่ม ขึ้นเป็น
6000 บาท ทาให้ค่าใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่มขึ้นเป็น 5500 บาท
=
Yd
C
ดังนั้น C = 1000 + 0.75Yd
จากตาราง a = 1000
=
Yd
C =
2000
1500 = 0.75
ความโน้มเอียงในการบริโภคเฉลี่ย
(THE AVERAGE PROPENSITY TO CONSUME : APC)
33
APC =
C
Yd
ณ รายได้ 3000 บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริโภค 3250 บาท
APC = 3250 / 3000 = 1.08
C > Yd ; APC > 1
ณ รายได้ 4000 บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริโภค 4000 บาท
APC = 4000 / 4000 = 1
C = Yd ; APC = 1
ณ รายได้ 4750 บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริโภค 5000 บาท
APC = 5000 / 4750 = 0.95
C < Yd ; APC < 1
ความโน้มเอียงในการบริโภคหน่วยสุดท้าย
(THE MARGINAL PROPENSITY TO CONSUME : MPC)
ตัวอย่าง ถ้ารายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นจาก 4000 บาท เป็น 8000 บาท ทาให้ค่าใช้จ่ายเพื่อ
การบริโภคเพิ่มขึ้นจาก 4000 บาท เป็น 7000 บาท
34
MPC =
C
 Yd
MPC =
C
 Yd
= 7000 – 4000
8000 – 4000
= =3000
4000
0.75
กฎว่าด้วยการบริโภคของเคนส์
เคนส์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค และรายได้ โดยสรุป คือ
1. แม้ไม่มีรายได้ ก็มีการบริโภค
2. MPC หรือ เส้นการบริโภคมีค่าเป็น บวก เสมอเพราะเมื่อรายได้เพิ่ม
บริโภคเพิ่ม
3. MPC มีค่า < 1 เสมอ และค่า APC จะลดลงเมื่อรายได้เพิ่ม
4. รายได้ จะถูกใช้เป็น 2 ส่วนคือ เพื่อการบริโภค และเพื่อการออม ดังนั้น
MPC+MPS = 1 เสมอ
5. MPC ณ ระดับรายได้สูง จะมีค่าต่ากว่า MPC ณ ระดับรายได้ต่า 35
การออม
Saving
36
ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้การออม (SAVING)
การนารายได้ส่วนที่เหลือจากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคมาเก็บออมไว้
37
ฟังก์ชันการออม (saving function)
โดยที่ S = จานวนเงินออม
Yd = รายได้สุทธิส่วนบุคคล
S = f(Yd)
สมการการออม Yd = C + S
S = Yd – C
จากสมการ C = a + bYd
S = Yd – (a + bYd)
S = -a + (1-b)Yd
โดยที่
-a = การออมในอดีตที่ถูกใช้ในการบริโภคเมื่อรายได้ = 0
(1-b) = อัตราส่วนของการออมที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อรายได้สุทธิส่วนบุคคลเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย
38
=
Yd
S
ความโน้มเอียงในการออมเฉลี่ย
(THE AVERAGE PROPENSITY TO SAVE : APS)
39
APS =
S
Yd
ณ รายได้ 3000 บาท
ค่าใช้จ่ายในการออม -250 บาท
APS = -250 / 3000 = -0.08
S < 0 ; APS < 0
ณ รายได้ 4000 บาท
ค่าใช้จ่ายในการออม 0 บาท
APS = 0 / 4000 = 0
S = 0 ; APS = 0
ณ รายได้ 5000 บาท
ค่าใช้จ่ายในการออม 250 บาท
APS = 250 / 5000 = 0.05
S > 0 ; APS > 0
ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย
(THE MARGINAL PROPENSITY TO SAVE : MPS)
ตัวอย่าง ถ้ารายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นจาก 4000 บาท เป็น 8000 บาท ทาให้การ
ออมเปลี่ยนจาก 0 เป็น 1000 บาท
40
MPS =
S
 Yd
MPS =
S
 Yd
= 1000 – 0
8000 – 4000
= =1000
4000
0.25
41
Yd C S APC APS MPC MPS
0 1000 -1000 - - - -
1000 1750 -750 1.75 -0.75 0.75 0.25
2000 2500 -500 1.25 -0.25 0.75 0.25
3000 3250 -250 1.08 -0.08 0.75 0.25
4000 4000 0 1 0 0.75 0.25
5000 4750 250 0.95 0.05 0.75 0.25
6000 5500 500 0.92 0.08 0.75 0.25
7000 6250 750 0.89 0.11 0.75 0.25
8000 7000 1000 0.88 0.12 0.75 0.25
ตารางระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคลและระดับการบริโภคและการออม
*เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงจะเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายและการออม ดังนั้น MPC+MPS = 1 เสมอ
42
0 Yd
C
Yd = C
C = a + b Yd
4000
4000
S = -a + (1-b) Yd1000
-1000
จากตัวเลขในตาราง เราสามารถเขียนเส้นการบริโภคและการออม ดังรูป
การลงทุน
Investment
43
การลงทุน (INVESTMENT)
การใช้จ่ายในรอบระยะเวลาหนึ่งเพื่อการผลิตสินค้าและบริการที่
มิใช่เพื่อการบริโภคในปัจจุบัน แต่ทาให้เกิดการเพิ่มขึ้นของสินค้าทุน
ซึ่งประกอบด้วย
ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าทุน
ส่วนเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงเหลือ
44
ปัจจัยที่กาหนดการลงทุน
กำไรที่คำดว่ำจะได้รับ
ระดับรายได้ประชาชาติ
อัตราดอกเบี้ย
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ราคาสินค้าทุนและค่าบารุงรักษา
นโยบายของรัฐและเสถียรภาพทางการเมือง 45
ฟังก์ชันการลงทุน (INVESTMENT FUNCTION)
โดยที่ I = การใช้จ่ายในการบริโภค(การลงทุน)
Y = รายได้สุทธิส่วนบุคคล
B1 , B2 , B3…….. คือ ปัจจัยอื่นๆ
46
I = f(Y , B1 , B2 , B3……..)
I = f(Y)
ฟังก์ชันการลงทุนตามทฤษฎีรายได้ประชาชาติของเคนส์
ประเภทการลงทุน
1. การลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment : Ia)
การลงทุนที่ไม่มีความสัมพันธ์กับรายได้ หรือไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงตามรายได้
47
การลงทุน
Y0
Ia I = Ia
2. การลงทุนแบบจูงใจ (INDUCED INVESTMENT : II)
การลงทุนแบบจูงใจจะผันแปรตามระดับรายได้ประชาชาติ
ถ้ารายได้เพิ่มขึ้น การลงทุนจะเพิ่มตาม
ถ้ารายได้ลดลง การลงทุนจะลดตาม
48
การลงทุน
Y0
Ii
การลงทุนรวม
สมการการลงทุน I = Ia + iY
49
I = Ia + Ii
I
Y
ถ้า i = ความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายในการลงทุน =
การลงทุน
0 Y
I = Ia + iY
ตัวอย่าง กาหนดให้ระดับรายได้เท่ากับศูนย์ มีการลงทุนทั้งสิ้นเท่ากับ 1000 ล้าน
บาท ถ้ารายได้เพิ่มขึ้นเป็น 5000 ล้านบาท จะมีการลงทุนทั้งสิ้นเท่ากับ
2000 ล้านบาท จงหาการลงทุน ณ ระดับรายได้ 10000 ล้านบาท
แทนค่า I = Ia + iY
I = 1000 + 0.2 (10000)
I = 1000 + 2000 = 3000
ระดับรายได้ 10000 ล้านบาท จะมีการลงทุนทั้งสิ้น 3000 ล้านบาท
50
 หาค่า i จาก
i = I
Y
= 2000 –1000
5000 - 0
= 1000
5000
= 0.2
วัฏจักรธุรกิจ
Business cycle
51
วัฏจักรธุรกิจ
วัฏจักรธุรกิจสามารถบังคับให้เกิดการเคลื่อนไหวของรายได้
ประชาชาติระยะยาวได้
Keynes อธิบายว่า ต้นเหตุของการเกิดวัฏจักรว่าเกิดจากการ
แปรปรวนของการใช้จ่ายลงทุน
ซึ่งปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการลงทุน คือ อัตราดอกเบี้ย และ ผล
กาไรที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุน
52
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระยะยาว มักเป็นไปในทางที่สูงขึ้น
เรียกว่ามีการเติบโตทางเศรษฐกิจ(economic growth) ซึ่งเป็นเรื่อง
ของแนวโน้ม(trend)
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระยะสั้น เป็นเรื่องของวัฏจักรธุรกิจ
(business cycle) ซึ่งเป็นเรื่องของวัฏจักร
53
54
รูปวัฏจักรธุรกิจ
เวลา
Y
Trough Peak Trough Peak
Normal growth path
Expansion Contraction Expansion
cycle
การแบ่งระยะของวัฏจักรธุรกิจ
วัฏจักรธุรกิจคือการผันผวนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
โดยรวมของประเทศชาติ แต่ละวัฏจักรจะประกอบด้วย
การขยายตัว (expansion) การชะลอตัว(recession)
การหดตัว(depression) การฟื้ นตัว (recovery) และตาม
ด้วยการขยายตัวใหม่ ลาดับการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นซ้าๆกัน
แต่ระยะเวลาของแต่ละเหตุการณ์อาจไม่เหมือนกัน
55
การขยายตัว (expansion) ระยะนี้ ราคาสินค้าค่อยๆสูงขึ้น การ
ลงทุนเพิ่มขึ้น การจ้างงานมากขึ้น ขยายการผลิตมากขึ้น ทาให้รายได้
มากขึ้น
การชะลอตัว(recession) ระยะนี้ เศรษฐกิจเติบโตเต็มที่แล้ว อัตรา
ผลตอบแทนจากการลงทุนตกต่าลง เนื่องจากผลผลิตมาก ต้นทุน
สูงขึ้น การลงทุนลดลง เกิดภาวะการว่างงาน รายได้ลดลง
การหดตัว(depression) ระยะนี้ ภาวะเศรษฐกิจตกต่าอย่างรวดเร็ว
เนื่องจากการหดตัวของการลงทุน ทาให้รายได้ต่าลง การว่างงานมาก
ขึ้น
การฟื้ นตัว (recovery) ระยะนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัว 56
สาเหตุของวัฏจักรธุรกิจ
สาเหตุจากภายนอก เช่น สงคราม การปฏิวัติ นโยบาย
การเมือง การค้นพบเทคโนโลยีใหม่ๆ
สาเหตุภายใน เช่นกลไกในระบบเศรษฐกิจ
โดยสรุปแล้ว วัฏจักรเกิดจากความผันผวนของการลงทุน
เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยภายนอก เช่น การนา
เทคโนโลยีใหม่มาใช้ การเพิ่มขึ้นของประชากร นอกจากนี้ คือ
เกิดจากการลงทุนโดยอิสระ
57
การแก้ไขวัฏจักรธุรกิจ
การขึ้นลงของภาวะเศรษฐกิจมักมีลักษณะเป็นวงจรตายตัว แต่
วิกฤติทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นได้หากไม่มีการคาดคะเนและเตรียม
ป้ องกัน
1. การป้ องกันวัฏจักรธุรกิจ
2. การแก้ไขวัฏจักรธุรกิจ
 นโยบายการเงิน
 นโยบายการคลัง
58

Contenu connexe

Tendances

สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติBangon Suyana
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนคนป่า เถื่อนๆ
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆSukanda Panpetch
 

Tendances (20)

สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆ
 

Similaire à บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน

Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6Apple Natthakan
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศtumetr1
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 

Similaire à บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน (8)

Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
ศศ
ศศศศ
ศศ
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 

Plus de Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

Plus de Ornkapat Bualom (10)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน