SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
ปรัชญาทั่วไป
โดย อาจารย์สรณีย์ สายศร
ภาควิชาปรัชญาและศาสนา
คณะมนุษยศาสตร์
2
Philosophy is…..
the art of wondering.
Philosophy
Beliefs
Assumptions
Values
Who?
What?
When?
Why?
How?
Mental Health Warning!
How do you see the world?
ความหมายของปรัชญา
1). ความหมายตามรูปศัพท์
คาว่า “ปรัชญา” แปลว่า “ความรอบรู้”
เป็นศัพท์บัญญัติใช้กับคาว่า“PHILOSOPHY”
ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า
“PHILOS (LOVE) + SOPHIA (WISDOM)
ซึ่งแปลว่า “รักในความรู้” ( LOVE OF WISDOM )
หรือ “ความรัก อันเป็นพลังผลักดันให้แสวงหา
ความรอบรู้” หรือ “รักที่จะมีความรู้” นั่นเอง
ปรัชญาเป็นเรื่องของความรู้
ทั้งการแสวงหาความรู้ (Seeking Wisdom)
และความรู้ที่ค้นพบแล้ว (“Wisdom Sought”)
1. ในขั้นแสวงหา..มนุษย์มีความสงสัย จึงตั้งคาถาม แล้ว
คิดหาคาตอบอย่างมีเหตุผลเรียกขั้นนี้ว่า “การคิดแบบ
ปรัชญา”
2. เป็นผลสืบเนื่องมาจากการแสวงหา นั่นคือในที่สุด
มนุษย์ก็ได้ค้นพบคาตอบเกี่ยวกับความจริง ซึ่งเรียกว่า
“ความรู้เชิงปรัชญา”
***** ทายได้ไหมว่า แล้ว “Philosopher” หรือ “นักปรัชญา”
แปลว่าอะไร.......?
“ปรัชญา” คือ การแสวงหาความรู้ หรือ
ความจริงเกี่ยวกับมนุษย์ โลก ธรรมชาติ
และชีวิต ด้วยการใช้เหตุผล
2) ความหมายตามลักษณะเนื้อหา
3) ความหมายตามการใช้
“ปรัชญา” หมายถึง แนวความคิด
คติ ความเชื่อ หรือ ข้อคิดต่างๆ ใน
ชีวิตประจาวัน
เช่น.. “ระยะทางนับหมื่นลี้ ต้องเริ่มต้นจากก้าว
แรก”, “ความเพียรเป็นศัตรูแล้วเป็นมิตร ความเกียจ
คร้านป็นมิตร แล้วเป็นศัตรู” , หากคิดจะรัก ต้องรัก
ด้วยปัญญา ถ้ารักอย่างหลงใหล ผลคือโง่และ
เจ็บปวด”
มูลเหตุของการเกิดปรัชญา
1. มนุษย์มีความสามารถในการคิด
• ปรัชญาเริ่มต้นมาจากความสงสัยต่อโลกต่อตัวเรา
เอง ต่อสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา
• ทั้งนี้เพราะมนุษย์มีความสามารถในการคิด
( Man is a thinking animal – Aristotle )
สิ่งที่มนุษย์สงสัยนั้นมีมากมาย เช่น
• เราเกิดมาทาไม / ทาไมเราต้องตายด้วย
จะมีชีวิตเป็นอมตะไม่ได้หรือ /
พระเจ้าและจิตวิญญาณมีจริงหรือไม่
• โลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไรและเกิดมาจากไหน/เราจะเชื่อ
สิ่งที่เห็นได้หรือไม่ /เมื่อมนุษย์เราตายแล้วจะเป็น
อย่างไรและไปอยู่ที่ไหน / บาป บุญ คุณ โทษ นรก
สวรรค์ มีจริงหรือไม่ / ความดีคืออะไรความดีคืออะไร
/นิพพานมีจริงหรือไม่ /เราจะพ้นจากความทุกข์ได้
อย่างไร
โลกนี้มีความเป็ นธรรมหรือไม่/ รักแท้เป็ น
เช่นใด มีอยู่จริงหรือไม่ /
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งไหนดีหรือชั่ว /
เราควรจะเชื่อหรือไม่เชื่ออะไร/
เราควรจะใช้ชีวิตอย่างไร มีจุดหมายอย่างไร?
และสุดท้ายถ้าต้องเลือกระหว่างความสุขส่วนตัว
กับความสุขส่วนรวม เราจะตัดสินใจอย่างไร
เป็นต้น
 …..และเมื่อมนุษย์สงสัย หรือเกิดความอยากรู้อยากเห็น
........เขาจึงตั้งคาถามและ....พยายามแสวงหาคาตอบโดยการ
ใช้ความคิดด้วยเหตุผล.....ซึ่งอาจจะเป็นแค่คาตอบเพื่อสนอง
ความอยากรู้ (อะไร ทาไม) หรืออาจจะเป็นคาตอบเพื่อเป็น
แนวทางในการใช้ชีวิตหรือแก้ปัญหาชีวิตก็ได้ (อย่างไร).........
 ....ปรัชญา..จึงเกิดขึ้นด้วยประการฉะนี้
ความใฝ่รู้เป็นอารมณ์ของ
นักปรัชญา ปรัชญาเริ่มต้น
ที่ความใฝ่รู้
• โสคราตีส (Socratis)
– พ.ศ. 73 - 144
• “หนึ่งเดียวที่ข้าพเจ้ารู้ คือ รู้
ว่า ข้าพเจ้าไม่รู้อะไร”
2 . การเกิดขึ้นของความคิดทาง
ปรัชญาและ วิชาปรัชญา
 ความคิดทางปรัชญาเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์
ไม่ ต่ากว่า 2 ล้านปีมาแล้ว
วิชาปรัชญาเพิ่งมีขึ้นเมื่อประมาณ 3,000 ปีมานี้เอง
* หลักฐานแรก คือ คัมภีร์พระเวทของอินเดีย
เกิดขึ้นมาประมาณ 3,000-3,500 ปีมาแล้ว
* ทางโลกตะวันตก เริ่มต้นจากคาสอนของ
ทาเลส (Thales 624-550 ก่อน ค.ศ. ) ซึ่งเป็น
“Father of Philosophy”
• Ancients Earth, Air, Fire, Water
• Socrates (470-399BC)
Asked questions
• Plato (427-327BC)
Theory of ideas
• Aristotle (384-322BC)
Logic, Physics
 Traditionalism
Who am I?
Where did the
world come
from?
What is it
made of?
Plato and
Socrates
Crisis in Physics
• There is no ‘objective’
observer
Existentialism
• Criticism of positivism,
rationalism, empiricism
Critical Theory
• Mind and culture
influence knowledge
 Postmodernism
Werner Heisenberg (1901-1976)
Albert Einstein (1875-1955)
ลักษณะทั่วไปของปรัชญา
1. ปรัชญาพยายามเรียนรู้ทุกสิ่ง ศึกษาทุกเรื่องเท่าที่
สติปัญญามนุษย์จะอานวย
2. ปรัชญาเป็น “มารดาของศาสตร์ทั้งหลาย”
3. ปรัชญามีลักษณะวิพากษ์
4. ปัญหาทางปรัชญา เป็นปัญหาพื้นฐานของชีวิต
5. ปรัชญาแสวงหาโลกทัศน์ และ ช่วยให้ความเชื่อของ
เรามีระบบ ทาให้เราพบ “จุดยืน”ของตัวเอง
6. ความรู้เชิงปรัชญาเป็นความรู้แบบปลายเปิด ที่ไม่มี
คาตอบที่แน่นอนตายตัว
7. ความรู้เชิงปรัชญา เป็นความรู้ขั้นทัศนะส่วนตัว หรือ
การเก็งความจริง ชื่อว่าเป็น “โลกทัศน์” (World View)
8. ปรัชญาสนใจศึกษาทั้งสิ่งที่เป็นประโยชน์และไม่เป็น
ประโยชน์ โดยไม่สนใจว่าสิ่งนั้นจะสามารถนาไป
ปฏิบัติได้หรือเปล่า ถ้าเป็นแนวคิดเพื่อการปฏิบัติจะ
เรียกว่าปรัชญาชีวิต
9.วิชาปรัชญาเป็นเรื่องของการคิดอย่างมีเหตุผลและ
ระบบ ทาให้สามารถมองเห็นปัญหาและคาตอบที่คน
ทั่วไปมองไม่เห็น
IT’S NOT HOW YOU ARE
IT’S HOW YOU WANT TO BE…
แต่วิชาปรัชญามิได้มีหน้าที่ตัดสินว่าลัทธิความ
เชื่อใดถูกต้องหรือผิดพลาด แต่จะทาให้ผู้เรียน
เข้าใจว่าแต่ละลัทธิมีเหตุผลของตัวเองอย่างไร
ส่วนการจะตัดสินว่าลัทธิใดถูกต้องหรือผิดพลาด
อย่างไรเป็นเรื่องของผู้เรียนที่จะใช้วิจารณญาณ
ของตน
*** ทั้งนี้เพราะ ปรัชญามิได้สอนให้ “เชื่อ”แต่
สอนให้รู้จัก “คิด”
ขอบข่ายของวิชาปรัชญา
สิ่งที่ปรัชญาศึกษา...คือเรื่องที่ มนุษย์แสวงหาความ
จริงและความหมายของชีวิต.......โดยศึกษาว่า..........
• - ความจริงคืออะไร (ฉันคือใคร? และฉันอยู่ที่ไหน? )
• - เรารู้ความจริงได้อย่างไร ( ฉันรู้จักและเข้าใจสิ่งต่างๆ ได้
อย่างไร ? )
• - เราจะใช้ชีวิตอย่างไร? (ให้สอดคล้องกับความจริงนั้น)
(ฉันควรดาเนินชีวิตอย่างไรดี ?)
สาขาของวิชาปรัชญา
ปรัชญา
ปรัชญาบริสุทธิ์ ปรัชญาประยุกต์
อภิปรัชญา(Metaphysics) -ปรัชญาการเมือง
-ปรัชญาศาสนา
ญาณวิทยา(Epistemology) -ปรัชญาการศึกษา
-ปรัชญาวิทยาศาสตร์
ตรรกวิทยา(Logic) -ปรัชญาคณิตศาสตร์
ฯลฯ
คุณวิทยา(Axiology)
จริยศาสตร์ (Ethics) สุนทรียศาสตร์(Aesthetics)
อภิปรัชญา(Metaphysics)
เป็นสาขาที่ว่าด้วยเรื่องความเป็นจริงสูงสุด ว่า
ด้วยเรื่องธรรมชาติของโลกและจักรวาล/ และว่าด้วย
ธรรมชาติของมนุษย์ (สสารนิยม,จิตนิยม,ทวินิยม)
* อะไรคือเนื้อแท้ของโลก?
* โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร?
* อะไรคือเนื้อแท้ของมนุษย์?
* มนุษย์เป็นอิสระหรือไม่?
ญาณวิทยา/ทฤษฎีความรู้(Epistemology)
 เป็นสาขาที่ศึกษาเพื่อหาคาตอบว่า เรารู้ความ
เป็นจริงได้อย่างไร /
 ความรู้ที่ถูกต้องมีลักษณะอย่างไร /อะไรคือ
ลักษณะทั่วไปของความรู้/มนุษย์เรารู้ความจริงได้แค่
ไหน/ความรู้ได้มาทางไหน (ประสบการณ์นิยม,
เหตุผลนิยม,อัชฌัตติกญาณนิยม)
จริยศาสตร์(Ethics)
 เป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณค่าของพฤติกรรม
มนุษย์ทั้งที่มีความสัมพันธ์ต่อตนเองและต่อผู้อื่น
โดยจะศึกษาว่า
**อะไรคือสิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษย์พึงแสวงหา
**อะไรควรเป็นอุดมคติของชีวิต
**อะไรคือเกณฑ์ตัดสินว่าสิ่งใดหรือการกระทาใด เป็นสิ่งที่ ดี ชั่ว
ถูก หรือผิด
**ความดี ความชั่ว ความถูก ความผิด มีจริงหรือไม่ และมีอยู่
อย่างไร
สุนทรียศาสตร์ (Aesthetic)
การศึกษาเกี่ยวกับความงามและสิ่งที่งามทั้งในงาน
ศิลปะและในธรรมชาติ
ศึกษาว่าความงาม หรือ คุณค่าทางสุนทรียะ
มีอยู่จริงหรือไม่ อย่างไร
ศิลปะคืออะไร?
ตรรกศาสตร์ (Logic)
คือสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับกฎเกณฑ์
การใช้เหตุผล , การอ้างเหตุผล,จุดบกพร่อง
ของการนาเสนอเหตุผล ฯลฯ
ความจริง
ความรู้
ความดี
ความงาม
แนวทางการศึกษาปรัชญา
1. เรียนในแง่ที่วิชาปรัชญาเป็นส่วนหนึ่งของ
ประวัติศาสตร์โลก
2. เรียนในแง่ที่วิชาปรัชญาเป็น
เครื่องมือสาหรับกระตุ้นความคิด
36
เราจะศึกษาปรัชญาไปเพื่ออะไรกัน?
นอกจากการได้รู้ ปรัชญามีประโยชน์อะไรบ้าง ?
ประโยชน์และคุณค่า
ของการศึกษาปรัชญา
เรียนปรัชญาไปทาไม
1. เพื่อให้สามารถมองเห็นปัญหาที่ยังเป็นปัญหาอย่างกว้างๆและ
มองเห็นคาตอบต่างๆที่เป็นไปได้ของสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้น
2. เพื่อให้รู้จักฝึกหัด การคิดวิพากษ์วิจารณ์ด้วยเหตุผลในเรื่อง
ต่างๆและรู้จักสงสัยและตั้งคาถามในเรื่องต่างๆได้อย่างมี
เหตุผล ปรัชญาจะช่วยให้เราคิดได้เป็นระบบขึ้น
3. เพื่อให้ รู้จักที่จะเป็นตัวของตัวเองในการคิด
ด้วยเหตุผล มีความเชื่อมั่นในการใช้ศักยภาพทาง
ความคิดด้วยเหตุผลของตนเองและกล้าที่จะแสดงออกมา
4. เพื่อฝึกหัดให้เป็นคนใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นและ
เหตุผลของผู้อื่น แม้จะไม่ตรงกับทัศนะของตน
5. เพื่อให้สามารถนาเอาแง่คิดของปรัชญาในเรื่องต่างๆไป
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตหรือการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
6. เพื่อช่วยให้เข้าใจปัญหาและปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน
สังคมและรู้วิธีแก้ปัญหา
7. ความรู้จากการศึกษาปรัชญาทั้งในแง่ขององค์ความรู้และ
วิธีการ สามารถเป็นกุญแจที่จะไขไปสู่ความรู้ในศาสตร์สาขา
อื่นๆได้
อย่างไรก็ตาม วิธีที่น่าจะดี
ที่สุดที่จะบอกว่าเรียนปรัชญา
แล้วได้ประโยชน์อะไร ก็คือ
.......ลองถามตัวของคุณเอง
หลังจากได้เรียนปรัชญาอย่าง
ตั้งใจแล้ว........
“..ถึงแม้จะรู้ว่าวิชาปรัชญาสอนให้คนเรารู้จัก
ตั้งคาถาม และค้นหาคาตอบ แต่ในวัยที่ชีวิต
ราบเรียบ ไร้อุปสรรค คาถามมักไม่มีความ
จาเป็น ต่อเมื่อชีวิตพบผ่านความขรุขระ พบ
พานความโศกเศร้า คาถามและความสงสัย
ต่างๆ ดูจะพากันประดังประเดเข้ามา..”
(ณิพรรณ กุลประสูติ)
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
Kunlaya Kamwut
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
nang_phy29
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
Padvee Academy
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 

Tendances (20)

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 

Similaire à ปรัชญาทั่วไป บทที่1

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
pentanino
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
chonlataz
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
CUPress
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
Yota Bhikkhu
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
Kobchai Khamboonruang
 

Similaire à ปรัชญาทั่วไป บทที่1 (20)

ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
2
22
2
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

ปรัชญาทั่วไป บทที่1