SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  80
บทที่ ๑ ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
• ขอบข่ายเนื้อหา
๑) ประวัติปรัชญาตะวันตกโดยสังเขป
๒) ความหมายและลักษณะ
ของปรัชญาอัตถิภาวะ
๓) ขบวนการอัตถิภาวะ
๔) การส่งเสริมเสรีภาพบุคคลของปรัชญา
2
3
4
Philosophy is…..
the art of wondering.
Philosophy
Beliefs
Assumptions
Values
Who?
What?
When?
Why?
How?
Mental Health Warning!
How do you see the world?
Philosophy is:
a set of assumptions
which may be true or false
which we hold
consciously or
subconsciously
about the world around us
• Ancients
Earth, Air, Fire, Water
• Socrates (470-399BC)
Asked questions
• Plato (427-327BC)
Theory of ideas
• Aristotle (384-322BC)
Logic, Physics
 Traditionalism
Who am I?
Where did the
world come
from?
What is it
made of?
Plato and Socrates
Crisis in Physics
• There is no ‘objective’
observer
Existentialism
• Criticism of positivism,
rationalism, empiricism
Critical Theory
• Mind and culture
influence knowledge
 Postmodernism
Werner
Heisenberg
(1901-1976)
Albert Einstein
(1875-1955)
Soren
Kierkegaard
(1813-1855)
Friedrich
Nietzsche
(1800-1899)
11
เราจะศึกษาปรัชญาไปเพื่ออะไรกัน?
นอกจากการได้รู้ ปรัชญามีประโยชน์อะไรบ้าง ?
So… do we just agree to
disagree with others who hold
different philosophies to our own?
ANDREW WYETH
Christina’s World (1948)
A complex philosophy
emphasizing the
absurdity of reality
and the human
responsibility to make
choices and accept
consequences!
Why do I exist?Why am I here?
What is my
purpose in life?
What is my
essence?
EXISTENTIALISM
Existence
Essence
Freedom
to
Choose
Responsibility
?
??
?
EXISTENTIALISM
Existence
Essence
Freedom
to
Choose
Responsibility
From the Latin words…
ex
(out)
stare
(to stand)
Exsistere
(to stand out)
ความมีอยู่
อัตถิ
(เป็นอยู่)
ภาวะ
(สภาพ)
What is
EXISTENCE?
To appear
To arise
To become
To be
ยัตถิภาวะ
What is ESSENCE?
Meaning
Purpose
What it is
Nature
สารัตถะ
อัตถิภาวะของเสื้อคืออะไร?
สารัตถะของเสื้อคืออะไร?
คิดว่าเพลโตจะให้ความสาคัญ
กับอะไรมากกว่ากัน?
24
เมื่อมีคนไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่เราทา
ถูกปฏิเสธนัดหมาย ถูกปฏิเสธคา
ขอร้อง หรือถูกปฏิเสธรัก เรารู้สึก
อย่างไร? เหมือนเสียเซลฟ์ ใช่ไหม?
หรือ เหมือนดูไร้ศักดิ์ศรีหรือเปล่า?
หรือ รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่าไปเลย
ใช่ไหม?
25
คาว่า ดารงอยู่ จึงหมายถึง การมีอยู่จริงของตัวตน ณ แห่งหนใด
ในท่ามกลางผู้คน หรือ คนอื่น หรือสังคม
ลักษณะทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
• เป็นปรัชญาของยุคหลังสมัยนิยม (Post-Modernism)
• เป็ นท่าทีของความคิดที่มีปฏิกิริยาต่อปรัชญาระบบ
มากกว่าจะเป็นระบบปรัชญาที่สร้างขึ้นใหม่
• เป็นปรัชญาที่เน้นการอธิบายมนุษย์โดยเน้น “การดารงอยู่
ของมนุษย์” (human existence) ในการอธิบายมนุษย์แทนที่
จะเป็น “สารัตถะ” (essence) ดังที่ได้มีมาในประวัติศาสตร์
ปรัชญาตะวันตกก่อนหน้า อย่างปรัชญากรีกและปรัชญายุค
กลาง
26
ลักษณะทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
• เชื่อว่าการค้นหาสารัตถะ ทาให้ผู้คิดออกห่างจากความเป็น
จริง ความเป็นจริงที่แท้ก็คืออัตถิภาวะของแต่ละคน
• มีท่าทีปฏิเสธปรัชญาระบบที่มุ่งแสวงหาความจริง เกี่ยวกับ
ชีวิต โลก และจักรวาลแต่อย่างเดียว
• ไม่มีสารัตถะที่ตายตัวสาหรับการสร้างแบบแผนในชีวิต
มนุษย์
27
ลักษณะทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
• มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ในชีวิตประจาวันของคน
ทั่วไปมากกว่าเรื่องอื่น
• ให้ความสาคัญแก่ปัจเจกภาพมากกว่าสากลภาพ
ให้ความสาคัญต่อเสรีภาพมากกว่า ระเบียบกฎเกณฑ์
• เน้นการสร้างสรรค์มากกว่าอนุรักษ์ระเบียบแบบแผน
• ใช้ความรู้สึกมากกว่าเหตุผล และให้ความสาคัญแก่ความรู้เชิง
อัตนัย
• เป็นแนวมนุษย์นิยม เพราะไม่พึ่งพาพระเจ้าและศาสนาในการ
ตอบคาถามต่างๆ
28
GEORGIA O’KEEFFE
Sky Above White Clouds I (1962)
Human existence cannot be captured by
reason or objectivity –– it must include
passion, emotion and the subjective.
Each of us is responsible for
everything and to every
human being.
–Simone de Beauvoir
ลักษณะทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
• สิ่งที่ เน้นมากคือ ในเมื่อเรามีเสรีภาพในการเลือกแล้ว สิ่งที่ต้อง
ตามมาด้วยเสมอคือ ความรับผิดชอบ เราต้องรับผิดชอบในการ
กระทาทุกอย่างที่ตัวเราเองทา และต้องไม่โทษคนอื่นหรือสิ่ง
ภายนอกเสมอในทุกๆ เรื่องที่เกิดขึ้นกับเรา
30
• “เดกาสต์" .. กล่าวสัจวาทะ
เป็นถ้อยคาอมตะอันโดดเด่น ...
“ฉันคิด ดังนั้นฉันจึงเป็น"
ฉันจึงเห็นเช่นนี้ฉะนี้ฉะนั้น ...
• “ณองปอลชาร์ต" ผู้ต้นตาหรับคิด
“เอกซิสต์เตนเชียลลิสต์" ไม่ผิดผัน ...
หลักแห่งสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกัน
ยังคงความเป็น “ฉัน" ไม่ผันแปร ...
31
เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
จุดมุ่งหมายของปรัชญา
• ปรัชญาที่แท้จริงจะต้อง
เป็นระบบความคิดที่ช่วย
ให้แต่ละคนศึกษาเข้าใจ
ตัวเอง รู้ปัญหาตัวเองและ
แก้ไขปัญหาของตัวเอง
32
หน้าที่ของปรัชญา
• กระตุ้นให้ผู้คนคิดว่า เขามีปัญหาอะไร แล้วแสวงหาแนว
ทางแก้ไขปัญหาของเขาเอง รู้ว่าสถานการณ์นี้เราจะแก้ไข
ปัญหาชีวิตอย่างไร
33
แนวคิดพื้นฐาน
ความเป็นปัจเจกชนนั้นไม่สามารถ
นาความคิดหรือเหตุผลใดๆ มาอธิบายได้1.
มนุษย์คือฐานในการศึกษาปรัชญา2.
ปัจเจกชนมีเสรีภาพในการเลือกและ
ตัดสินใจด้วยตนเองมิใช่ให้คนส่วนใหญ่
เป็นผู้กาหนดตามวิถีสังคม
3.
42
การมีชีวิตที่แท้จริงเน้นหนัก
อยู่กับการเลือกที่เป็นอิสระ
และผลพวงของความ
รับผิดชอบที่ตามมา
4.
43
ความทุกข์ของมนุษย์
คือความกลัวที่เกิดจาก
ความรู้สึกแปลกแยก
จากอัตถิภาวะของ
ตนเองกับโลกภายนอก
5.
44
ความตายทาให้มนุษย์หมดโอกาสที่จะเลือก
กาหนดชีวิตของตัวเอง6.
แนวคิดอัตถิภาวะเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
45
ท่าทีอัตถิภาวะ (Existential attitude)
• เกิดจากความไม่พอใจสังคม จึงเลือกดาเนินชีวิตตามที่ตนเอง
ต้องการ
46
โสเครตีส (470-399 B.C.)
เป็นนักปรัชญาตะวันตกคนแรก
ที่ให้ความสนใจในอัตถิภาวะ
ของมนุษย์ มากกว่าการแสวงหา
ความจริงจากโลกภายนอก
47
ปรัชญาของโสคราตีส
• โสคราตีส ได้ปฏิเสธปรัชญาธรรมชาติ เพราะความรู้เรื่อง
ปฐมธาตุของโลก หรือจักรวาลมีประโยชน์น้อยมาก ความรู้เรื่องนี้
ไม่ช่วยให้มนุษย์ดาเนินชีวิตได้ถูกต้องมากขึ้น ความรู้ที่นักปรัชญา
แสวงหาควรเป็นความรู้เกี่ยวกับมนุษย์และหน้าที่ของมนุษย์
เพราะมนุษย์สามารถนาความรู้เหล่านี้ไปปรับปรุงชีวิตให้ดีขึ้น
พระเยซูคริสต์ ก็มีท่าทีปฏิเสธมาก่อน
ทรงปฏิเสธหลักคาสอนของคนร่วม
สมัยของพระองค์ที่ว่า
ความดีของมนุษย์อยู่ที่การถือตาม
บทบัญญัติของโมเสส
พระเยซูคริสต์ทรงชักชวนให้มนุษย์
แต่ละคนเผชิญหน้ากับพระเจ้าเป็น
ส่วนตัวและตะหนักด้วยตนเองว่า
พระเจ้าต้องการให้ตนทาอะไร
และตัดสินใจทาสิ่งนั้นด้วยตนเอง
ในสมัยต่อมานักบุญออกัสติน
( 893-973) นักปรัชญาคริสต์
ศาสนาในสมัยกลาง ได้ตั้ง
คาถามอันเกิดจากความสงสัย
ในขอบเขตบางอย่างเกี่ยวกับ
ความลึกลับของมนุษย์
ที่ไม่สามารถนาวิธีการทาง
ปรัชญามาหาคาตอบได้
ความเคลื่อนไหวของแนวคิด
อัตถิภาวะนั้นเด่นชัดมากขึ้น
49
50
ในสมัยของปาสคาล (1623-1662)
ซึ่งเป็นนักปรัชญาร่วมสมัยกับ
เดคาร์ตส์ กล่าวคือ ในขณะที่
เดคาร์ตส์สนใจมนุษย์ในเรื่อง
สารัตถะ(Essence)แต่ไม่สนใจเรื่อง
การมีอยู่ของมนุษย์(Existence)
ผิดกับปาสคาลที่ให้ความสนใจ
มนุษย์ในแง่ของการดารงอยู่ของ
มนุษย์ อย่างไรก็ตาม เราก็ไม่เรียก
นักปรัชญาที่เป็นนักคิดยุคแรกๆ
เหล่านี้ว่า เป็นนักอัตถิภาวนิยม
ขบวนการการอัตถิภาวะนิยม
(Existential Movement)
51
• Kierkegaard Nietzsche Husserl Jaspers Heidegger
Sartre de Beauvoir Buber Camus Merleau Ponty
Foucault
• ขบวนการอัตถิภาวนิยมเริ่มมีขึ้นจริงจังในศตวรรษที่19
• เกิดขึ้นจากสานึกในความล่มสลายของวัฒนธรรมทางจิตใจ
ในประเทศยุโรป
• เกิดความไม่สมดุลขึ้นระหว่างความก้าวหน้าของความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์กับความไร้สมรรถภาพของมนุษย์ในการ
แก้ปัญหาชีวิต
• ความจริงทางวิทยาศาสตร์นั้นเป็นสิ่งไร้ความหมาย ดังนั้น
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับวัตถุเป็นสิ่งที่ไม่มีคุณค่า
• ลักษณะรูปแบบของชีวิตในสังคมสมัยใหม่ทาให้มนุษย์รู้สึก
คับข้องใจ และขัดแย้งกับความเป็นปัจเจกชน52
• บิดาของอัตถิภาวนิยมสมัยใหม่ก็
คือเกียร์เกอการ์ด
• เป็นคนแรกที่เสนอให้ใช้
ประสบการณ์ส่วนตัวสาหรับสร้าง
ความคิดปรัชญาขึ้น
• ปรัชญาจึงเป็นเรื่องส่วนบุคคล แต่
ละคนมีปรัชญาของตนเอง
โดยเฉพาะ
53
Sӧren Kierkegaard
(1813-1855)
54
Sӧren Kierkegaard
(1813-1855)
• ปฏิเสธว่ามีความจริงที่เป็นระบบ
ที่สามารถใช้อธิบายทุกเหตุการณ์
ด้วยกฎเกณฑ์เดียว
• ปฏิเสธปรัชญาของเฮเกล ผู้ซึ่ง
เสนอปรัชญาเกี่ยวกับความเป็น
จริงที่เป็นระบบของสรรพสิ่ง
KIERKEGAARD
In the early 1800’s, philosophy was dominated by
the work of idealists like Hegel, whose thought
postulated grand theories that explained how
thought, societies and nations changed and
evolved over time.
i.e. Hegel’s Thesis + Antithesis = Synthesis
Important Announcement:
OBJECTIVE TRUTH
Comes from Externals
(Things Beyond Us)
SUBJECTIVE TRUTH
Comes from Within Us
KIERKEGAARD
This may have been great for explaining the
inception of a nation, ideology or economic
system, but it reduces the individual to a mere
faceless cog in the workings of the universe.
“Hey! Look at me!”
• ถ้าการใช้เหตุผลแล้วมนุษย์จะมีสันติแต่สงครามโลก
ครั้งที่ ๑ และ ๒ กลับชี้ให้เห็นว่าเหตุผลเป็นเครื่องมือ
ของการแสวงหาอานาจไปแล้ว หาใช่เครื่องมือของ
การสร้างสันติภาพแต่อย่างใดไม่ ทาให้มนุษย์ขาด
ความศรัทธาในการใช้ปัญญาแสวงหาความรู้
58
เราใช้เหตุผลเพื่อสร้างสันติ
หรือแสวงหาอานาจกันแน่?
59
Frederick Nietzsche
(1844-1900)
นักอัตถิภาวนิยมคนต่อมาคือ นิทซ์เช่
เขาเป็นนักปรัชญาที่มีชื่อเสียงอย่างมากใน
ปัจจุบัน และมีอิทธิพลไม่เพียงกับต่อ
นักอัตถิภาวนิยมเท่านั้น แต่รวมไปถึงนัก
ประพันธ์และศิลปินในรุ่นต่อมาด้วย
โดยเขาตั้งสมมุติฐาน จากความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์และการศึกษาประวัติศาสตร์ทาง
ตะวันตกว่า
มนุษย์ไม่มีศักยภาพที่จะสามารถเข้าใจถึง
อุตรภาพ (Transcendence)ได้ ซึ่งนามาถึง
ประโยคที่สาคัญของเขาที่ว่า “God is Dead”
ซึ่งหมายถึง พระผู้เป็นเจ้าตายไปเสียแล้ว
และคุณค่าทางจริยธรรมใดๆ ที่ขึ้นอยู่กับ
พระผู้เป็นเจ้าไม่มีอยู่ในโลกอีกต่อไป
NIETZSCHE
Nietzsche predicted that gradually, belief in
religion and philosophy would diminish, moving
civilization towards a day where people would
have no “belief” in anything. Nietzsche called
this “belief in nothing”
NIHILISM
NIETZSCHE
Nietzsche proclaimed the dawning of this era of
nihilism and atheism with his famous statement:
“God is Dead.”
NIETZSCHE
Man is Free
(without God – really free)
This will further unleash the individual’s
WILL TO POWER
that drives the ascent of civilization.
This would free the strong-willed to lord over the
weak-minded.
Karl Jaspers (1883–1969)
จากงานของเกียร์เกอการ์ด
และการค้นพบงานเขียนของนีทซ์เช่
ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อแนวคิด
ของนักปรัชญาเยอรมัน
ช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่1
ได้แก่ คาร์ล แจสเปอร์ ซึ่งเป็นทั้ง
นักจิตวิทยาและนักปรัชญาด้วย
โดยแจสเปอร์เป็นคนแรกที่นาคาว่า
“ปรัชญาชีวิตการดารงอยู่ ”
(Philosophy of existence) มาใช้ใน
งานของเขา63
64
Martin Heidegger
1889-1976
มาร์ติน ไฮเดกเกอร์ ซึ่งได้รับอิทธิพล
จากเกียร์เกอการ์ด เขาเรียก
กระบวนการความคิดนี้ว่า “ ปรัชญา
ชีวิต” (Philosophy of life) โดยเขาได้
เขียนงานที่ยิ่งใหญ่ชื่อ Being and
Time (1927) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์
เกี่ยวกับการดารงอยู่ของชีวิตมนุษย์
โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะบรรยายถึงชีวิต
จากจุดยืนที่ว่ามนุษย์เป็นสิ่งที่มีอยู่ใน
โลก (being-in-the-world)โดยไฮเดก
เกอร์ได้นาเอาวิธีการทางปรากฏวิทยา
(Phenomenology) ของเอ็ดมันด์
ฮุสโซล (1859-1938) มาใช้ในการ
วิเคราะห์ทฤษฎีของเขา
65
Jean Paul Sartre
1905-1980• ซาตร์เป็นชาวฝรั่งเศส และเป็น
นักปรัชญาอัตถิภาวนิยมที่มี
ชื่อเสียงมากที่สุด
• ซาตร์ไม่ให้ความสาคัญต่อ
ปัญหาอภิปรัชญา
• เป็นผู้ที่ให้ชื่อ Existentialism
ซึ่งก่อนหน้านั้น ปรัชญานี้เป็น
เพียง Movement หรือ
ขบวนการหนึ่งที่มีคนคิด
คล้ายๆกัน
โดยเขากล่าวว่า แนวความคิดที่
พวกอัตถิภาวนิยมมีร่วมกันก็คือ
“ชีวิตการดารงอยู่ ย่อมต้องมีหรือ
เกิดขึ้นมาก่อนสารัตถะ”(Existence
percedes Essence) ซึ่งนักวิจารณ์มี
ความเห็นว่า การที่นักอัตถิภาวนิยม
มีจุดยืนร่วมกันต่อแนวคิดนี้ ถือได้
ว่าเป็นแก่นที่สาคัญที่สุด เพราะเป็น
การจาแนกปรัชญาอัตถิภาวนิยมให้
แตกต่างจากปรัชญาอื่นอย่างชัดเจน
66
Existence percedes Essence
SARTRE
“Existence Precedes Essence”
Therefore, according to Sartre, we have an
existence, but no essence (a “nature” or purpose
for which we were designed).
• อัตถิภาวะนิยมกลายเป็นลัทธิ คนหนุ่มสาวนับพันรู้สึก
หลงใหลมันและมักจะนั่งสนทนากันถึงความพิลึกพิลั่นของ
ชีวิตมนุษย์
• มันเป็นแรงบันดาลในให้เกิดนวนิยาย บทละคร และ
ภาพยนตร์
• มันเป็นปรัชญาที่ผู้คนนาไปใช้ในการตัดสินใจของแต่ละคน
68
อิทธิพลของปรัชญาอัตถิภาวะนิยม
Existential Literature
Three people to know: Jean-Paul Sartre (1905-80),
Albert Camus (1913-60) and Simone de Beauvoir (1908-86)
การส่งเสริมเสรีภาพบุคคลของปรัชญา
70
• สิ่งที่มีส่วนจับใจคนศตวรรษที่ 20 ของปรัชญาอัตถิภาวะ
นิยมก็คือการปฏิเสธความคิดแบบเดิม คือ ความเชื่อมั่นใน
ความรู้ที่เป็นระบบ ซึ่งแก้ปัญหาอะไรในสังคมไม่ได้
• แนวคิดนี้กระตุ้นให้คนหันกลับมาเป็นตัวเอง โดยชี้ให้เห็น
ว่าปรัชญาที่แท้จริงคคือ ปรัชญาหรือความคิดที่เกิดจากการ
เลือกที่จะเป็นด้วยตนเอง
• ปรัชญาอัตถิภาวะจึงมีลักษณะกระตุ้นให้คนตระหนักถึง
เสรีภาพของตนเอง
71
74
คาถามชวนคิด
ปรัชญามีหลายระบบ
ระบบไหนจริงกว่ากัน?
ท่าทีอัตถิภาวะนิยมเกิด
กับทุกคนหรือไม่?
คาถามชวนคิด
คาถามชวนคิด
การดารงอยู่อย่าง
แท้จริงเป็นอย่างไร?
(Authentic existence)
เอกสารอ้างอิงและหนังสืออ่านเพิ่มเติม
(ดร. มล.)นอิพาดา เทวกุล. ปรัชญายัตถิภาวนอิูม. กรุงเทพมหานอคร : ภาควิชาปรัชญาและศาสนอา
คณะมนอุษูศาสตร์ มหาวิทูาลัูเกษตรศาสตร์ , ๒๕๔๙. (เยกสารประกยบการสยนอ)
ปานอทิพู์ ศุภนอคร. ปรัชญาเยกซิสเตนอเชีูลลิสต์. กรุงเทพมหานอคร : สานอักพิมพ์มหาวิทูาลัู
รามคาแหง, ๒๕๔๓.
กีรติ บุญเจืย. ปรัชญาลัทธิยัตถิภาวนอิูม. กรุงเทพฯ : บริษัทสานอักพิมพ์ไทูวัฒนอาพานอิชจากัด,
๒๕๒๒.
พินอิจ รัตนอกุล. ปรัชญาชีวิตขยงฌยง – ปยล – ซาร์ตร์. กรุงเทพฯ : สานอักพิมพ์สามัญชนอ, ๒๕๓๙.
วิทู์ วิศทเวทู์. ปรัชญาทั่วไป มนอุษู์ โลก และความหมาูขยงชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ ๑๖). กรุงเทพฯ:
ยักษรเจริญทัศนอ์, ๒๕๔๓.
สมภาร พรมทา. มนอุษู์กับการแสวงหาความจริงและความหมาูขยงชีวิต . (พิมพ์ครั้งที่ ๒).
กรุงเทพฯ: สานอักพิมพ์ศูาม, ๒๕๔๕.
H.J. Blackham. Six Existentialist Thinkers. London : Routledge, 1997.
Kurt F. Reinhardt. The Existentialist Revolt : The Main Themes and Phases of
Existentialism. New York : Frederick Ungar Publishing Co.
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
montira
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
khanidthakpt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
Biobiome
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 

Tendances (20)

พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
2
22
2
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 

En vedette

อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
Padvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
Padvee Academy
 

En vedette (20)

ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธีชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิตLife compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 

Similaire à ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism

ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
chonlataz
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
etcenterrbru
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
Padvee Academy
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ruttanaphareenoon
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
jirawat_r
 

Similaire à ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism (20)

ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
10
1010
10
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
Pptเรื่องที่1 000155-57-ปรียา-3สค57
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism