SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  48
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
Psychology of Nirvana
หัวข้อนำเสนอ
 ลักษณะทำงปัญญำในนิพพำน
 อำรมณ์และควำมรู้สึกใน
นิพพำน
 นิพพำนและบุคลิกภำพ
 นิพพำนและควำมตำย
 บุคลิกภำพของพระอรหันต์
๑
"โดยพื้นฐานธรรมชาติเดิมแท้ของตัวเรา
เป็นสิ่งที่บริสุทธิ์และสะอาด
ถ้าเรารู้จิตของเราและเห็นถึงธรรมชาติเดิมแท้ของเรา
เราทั้งหลายก็จะบรรลุถึงความเป็นพุทธะ”
3
๒
นิพพำนคืออะไร ??
 ธรรมชำติที่ไม่เกิด
 เป็นภำวะที่ไม่มีควำมโศก ปรำศจำกธุลีคือกิเลส
 เป็นภำวะควรเข้ำถึงแท้จริง
 ควำมดับแห่งธรรมชำติที่เป็นทุกข์ทั้งหลำย
 คือควำมสงบระงับแห่งสังขำร เป็นควำมสุข
 เป็นธรรมที่ไม่ประกอบขึ้น หรืออสังขตธรรม คือไม่เป็นอะไรเลย
๓
เรำจะอธิบำยให้เข้ำใจถึงรสชำติของผลแอปเปิ้ล
แก่ผู้ที่ไม่เคยได้ลิ้มรสชำติของมันได้อย่ำงไร ??
นิพพำนก็มีนัยเฉกเช่นเดียวกัน
“เต๋ำที่ขนำนนำมได้ ไม่ใช่เต๋ำที่แท้จริง”
ควำมหมำยของนิพพำน
 โดยทั่วไปมีควำมหมำยอยู่ ๒ ด้ำน คือ
๑. ด้ำนภววิสัย
นิพพำน หมำยถึง ควำมว่ำงหรืออนัตตำ
๒. ด้ำนอัตวิสัย
นิพพำน หมำยถึง ควำมดับกิเลสและควำมทุกข์
ลักษณะทำงปัญญำในนิพพำน
ลักษณะทำงปัญญำในนิพพำน
 ๑. กำรมองเห็นสิ่งทั้งหลำยตำมที่มันเป็น
หรือเห็นตำมควำมเป็นจริง
๔
๕
ลักษณะทำงปัญญำในนิพพำน
 ๒. ปัญญำที่รู้เท่ำทันสังขำร รู้เท่ำทันสมมติบัญญัติ
ลักษณะทำงปัญญำในนิพพำน
 ๓. ปัญญำรู้เท่ำทันวิถีทำงของภำษำ
“ภิกษุผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว
ย่อมไม่กล่ำวเข้ำข้ำงกับใคร
ไม่ทุ่มเถียงกับใคร,
อันใดเขำพูดกันในโลก
ก็กล่ำวไปตำมนั้น ไม่ยึดถือ”
ม.ม. ๑๓/๒๗๓/๒๖๘
๖
พระพุทธศำสนำในฐำนะเป็นรำกฐำนของวิทยำศำสตร์
 "ศำสนำแห่งอนำคต เป็นศำสนำแห่งจักรวำล ศำสนำซึ่งตั้งอยู่
บนประสบกำรณ์ ซึ่งปฏิเสธควำมเชื่อที่ไร้ข้อพิสูจน์ หำกมีศำสนำใด
ศำสนำหนึ่ง ซึ่งพอจะรับมือกับควำมต้องกำรทำงวิทยำศำสตร์ได้ละก็
ศำสนำนั้น คือ ศำสนำพุทธ"
ลักษณะทำงปัญญำในนิพพำน
 ๔. ควำมหมดทิฐิ สิ้นสงสัย
ทำไมผู้ชำยไม่นั่งฉี่ ??
แล้วเธอกับฉันเรำเหมือนกันหรือเปล่ำ ??
ลักษณะทำงปัญญำในนิพพำน
 ๕. ควำมอยู่เหนือศรัทธำ รู้แน่ชัดด้วยตนเอง
(ศรัทธำ คือ กำรยอมขึ้นต่อควำมรู้ของผู้อื่น เมื่อตนเองยังไม่ประจักษ์แจ้ง)
อำรมณ์และควำมรู้สึกในนิพพำน
อำรมณ์และควำมรู้สึกในนิพพำน
 ๑. ควำมเป็นอิสระ ไม่ถูกกิเลสเข้ำครอบงำ ไม่ตกเป็นทำส
ของอำรมณ์ที่เย้ำยวนหรือยั่วยุ
แทรกคลิปที่ดูเย้ายวนอารมณ์ เพื่อความน่าสนใจของเนื้อหา
ในตัวอย่างมาจากเพลง SISTAR19 'Ma Boy' mirrored Dance Practice
เช็ดน้ำลำยด้วยจ้ำ ^_^
อำรมณ์และควำมรู้สึกในนิพพำน
 ๒. อยู่เหนือควำมคำดหวัง เป็นผู้อยู่ได้โดยไม่ต้องอำศัยควำมหวัง ไม่
ต้องฝำกชีวิตหรือควำมสุขของตนไว้กับควำมหวัง เป็นผู้พ้นทั้งควำม
สมหวังและควำมสิ้นหวัง เป็นคนบริบูรณ์เต็มอิ่มในตัว
อำรมณ์และควำมรู้สึกในนิพพำน
 ๓. ควำมปลอดโปรงเบิกบำนใจ
อำรมณ์และควำมรู้สึกในนิพพำน
 ๔. กำรมีควำมสุขแท้จริง ที่ไม่ขึ้นต่ออำมิส เป็นควำมสุขที่
เกิดจำกภำยใน ไม่ขึ้นต่ออำรมณ์หรือสิ่งต่ำงๆ ภำยนอก
อำรมณ์และควำมรู้สึกในนิพพำน
 ๕. สุขภำพจิตสมบูรณ์ ไม่มีโรคใจ
ดังพุทธพจน์ที่ตรัสสอนคฤหบดีผู้เฒ่ำคนหนึ่งว่ำ :
“ท่ำนพึงฝึกสอนตนดังนี้ว่ำ : ถึงแม้ร่ำงกำยของเรำจะป่วย
แต่จิตใจของเรำจักไม่ป่วยไปด้วย”
ส.ข. ๑๗/๒/๓
กำยป่วยแต่ใจไม่ป่วย
I Love Living Life. I Am Happy
นิพพำนและบุคลิกภำพ
นิพพำนและบุคลิกภำพ
“ผู้ที่เข้ำถึงนิพพำนบรรลุ ก็เป็นภำวะที่ทำให้ควำมทุศีล
หรือควำมประพฤติเสียหำย ไม่มีเหลือต่อไป”
๗
นิพพำนและบุคลิกภำพ
 ๑. ผู้บรรลุนิพพำนเป็นผู้ดับกรรม กำรกระทำของของท่ำนไม่
เป็นกรรมอีกต่อไป หมำยถึง ไม่กระทำกำรต่ำงๆ โดยมี
อวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน ครอบงำ มีปัญญำรู้แจ้งชัดตำม
เหตุผล
นิพพำนและบุคลิกภำพ
 ๒. เลิกทำกำรด้วยตัณหำ เปลี่ยนเป็นทำด้วยปัญญำและกรุณำ
นิพพำนและบุคลิกภำพ
 ๓. เลิกทำเพื่อตน มีแต่ทำเพื่อประโยชน์สุขของพหูชน
“เรำจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหำชนชำวสยำม”
นิพพำนและบุคลิกภำพ
 ๔. งำนหลักคือกำรแนะนำสั่งสอนให้กำรศึกษำ เพื่อทำ
สมำชิกทั้งหลำยของหมู่ให้มีชีวิตเกื้อกูลกัน ให้ดำเนิน
ก้ำวหน้ำไปสู่จุดหมำยที่ดีงำม
นิพพำนและควำมตำย
 นิพพำนมี ๒ ประเภทคือ
๑. สอุปำทิเสสนิพพำนธำตุ หมำยถึง ควำมดับกิเลสโดยที่
ขันธ์ ๕ ยังไม่แตกดับ คือ พระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่
๒. อนุปำทิเสสนิพพำนธำตุ หมำยถึง นิพพำนของพระ
อรหันต์ที่ดับขันธปรินิพพำนแล้ว
กระบวนควำมตำย
กระบวนนิพพำน
กิเลส กรรม วัฏฏะ = กระบวนสังสำรวัฏ
ดับกิเลส กิริยำ วิวัฏฏะ = กระบวนวิวัฏฏะ
นิพพำนและควำมตำย
 กำรตำยของพระอรหันต์นั้นไม่ได้หมำยถึงควำมขำดสูญ
เพรำะไม่มี “บุคคล” หรือ “ตัวตน” อะไรหำยไป มีแต่ขันธ์ ๕
ที่ได้ดับสนิทหรือยุติกำรทำงำนลงเพรำะหมดเชื้อกิเลส
 นิพพำนจึงไม่ใช้อัตตำของพระอรหันต์ และไม่ใช่กำร
หลุดพ้นของอัตตำ เพรำะไม่มีอัตตำอะไรนอกจำกขันธ์ ๕
และไม่ใช่ดินแดนที่อยู่หลังตำยของพระอรหันต์ เพรำะพระ
อรหันต์ไม่ได้เกิดอีกแล้ว
(รศ. ดร. วัชระ งำมจิตเจริญ)
นิพพำนและควำมตำย
เปลวไฟถูกกำลังลมพัดไป
ย่อมดับ กำหนดไม่ได้ ฉันใด
มุนีพ้นแล้วจำกนำมกำย ย่อมดับไป
กำหนดไม่ได้ ฉันนั้น
ขุ.สุ. ๒๕/๑๐๘๑/๗๕๘
๘
บุคลิกภำพของพระอรหันต์
บุคลิกภำพของพระอรหันต์
 ก) ลักษณะภำยนอกและชีวิตหมู่
สดชื่นร่ำเริง มีใจเบิกบำน มีอินทรีย์อิ่มเอิม
ใจสงบ มีควำมมั่นใจ ไม่ตื่นกลัว
เลี้ยงชีวิตตำมแต่เขำจะให้ ไม่หวังประโยชน์จำกใคร
สมบูรณ์ด้วยอิริยำบถ
พร้อมเพรียงกันประชุม
พร้อมเพรียงกันทำกิจที่สงฆ์พึงทำ
หวังควำมเจริญฝ่ำยเดียว (ม.ม. ๑๓/๕๖๔/๕๑๐)
บุคลิกภำพของพระอรหันต์
 ข) ควำมมีใจอิสระ และมีควำมสุข
“ผู้ตัดควำมติดข้องต่ำงๆ ได้หมด กำจัดควำมกระวนกระวำย
ในหทัยได้เสียแล้ว ก็สงบ นอนเป็นสุข เพรำะใจถึงสันติ”
(องฺ.จตุกฺก. ๒๐/๔๗๔/๑๗๕)
บุคลิกภำพของพระอรหันต์
 ค) ควำมเป็นเจ้ำแห่งจิต เป็นนำยแห่งควำมคิด
บุคลิกภำพของพระอรหันต์
 ง) มีควำมวำงใจได้ ต่อชีวิต ควำมตำย กำรพลัดพรำก
และมีเมตตำกรุณำต่อทุกชีวิต
“จะมีชีวิตอยู่ ก็ไม่เดือนร้อน ถึงจะตำยก็ไม่เศร้ำโศก”
“กำรไม่มีควำมกลัว ไม่หวำดเสียว ไม่สะดุ้ง ไม่ตกใจไหวหวั่น
เป็นลักษณะทำงจิตที่สำคัญอย่ำงหนึ่งของพระอรหันต์”
(ม.ม. ๑๓/๕๘๙/๕๓๔)
(ขุ.อุ. ๒๕/๑๐๘/๑๔๒)
บทสรุป
 กำรดับอวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน นั่นแหละคือนิพพำน ตำมปกติ
ของปุถุชน อวิชชำ ตัณหำ อุปำทำน ย่อมคอยครอบงำจิตใจ บดบัง
ปัญญำ นำเอำกิเลสต่ำงๆ ไหลเข้ำสู่จิตใจ ทำให้จิตใจเศร้ำหมอง เห็น
สิ่งต่ำงๆ ไม่ตรงตำมควำมเป็นจริง นำไปสู่ควำมทุกข์ต่ำงๆ
 กำรเข้ำถึงภำวะนิพพำน ผู้บรรลุถึงย่อมเห็นและเข้ำใจ และ
รู้เฉพำะตน ปุถุชนไม่อำจใช้ควำมคิดเข้ำใจภำวะของนิพพำนได้
กำรเข้ำถึงนิพพำนคือกำรเข้ำไปถึงจิตเดิมแท้ที่เรียกว่ำพุทธจิตของตน
นั้นเอง
นิพฺพำน ปรม สุข
นิพพำนเป็นสุขอย่ำงยิ่ง
จบกำรนำเสนอ
ขอบคุณครับ
ดำวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับกำรเรียนรู้ปรัชญำและศำสนำแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
บรรพต แคไธสง
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
Padvee Academy
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
CUPress
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 

Tendances (20)

ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
สาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาสาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 

En vedette

ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
Padvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
Padvee Academy
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
Padvee Academy
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
Padvee Academy
 

En vedette (20)

พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยมทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงานยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 

Similaire à จิตวิทยาแห่งนิพพาน

พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
Taweedham Dhamtawee
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 

Similaire à จิตวิทยาแห่งนิพพาน (10)

พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
Luangpoo lee
Luangpoo leeLuangpoo lee
Luangpoo lee
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
F7
F7F7
F7
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
Padvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 

จิตวิทยาแห่งนิพพาน