SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
ปรัชญาเบื้องต้นบทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 ขอบข่ายเนื้อหา
 ปรัชญาและศาสนา
 ปรัชญาและวิทยาศาสตร์
 เปรียบเทียบแนวคิดทางปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 ปรัชญา หมายถึง โลกทัศน์เชิงเหตุผลของมนุษย์ต่อสังคมและ
ธรรมชาติ
 ศาสนา หมายถึง โลกทัศน์และหลักการดาเนินชีวิตของมนุษย์สู่
เป้ าหมายสูงสุดตามหลักอุดมคติที่คาดว่าจะพึงถึง
ปรัชญา มีฐานมาจากศาสนา ปรัชญาต้องการรู้จักรวาล โดย
ภาพรวม มีลักษณะปลายเปิด
ศาสนา แสวงหาความประสานกลมกลืนระหว่างบุคคลกับโลก มีลักษณะ
ปลายปิด เพราะสาวกมีศรัทธาต่อคาสอนจะวิจารณ์ไม่ได้
ปรัชญาและศาสนา ต่างก็แสงหาความจริงสูงสุดเกี่ยวกับมนุษย์
และสภาพแวดล้อมของมนุษย์
ปรัชญามีองค์ประกอบสาคัญหลัก ๓ ประการ
๑. ความหมายและพัฒนาการของปรัชญา
๒. ขอบเขตของปรัชญา
๓.วิธีวิทยา การแสวงหาความจริงของปรัชญา
 ปรัชญา เป็นเรื่องการแสวงหาความรู้ด้วยเหตุผล โดยเริ่มต้นด้วย
วิจิกิจฉาหรือความสงสัย และจบลงด้วย จินตามยปัญญา คือ การค้นพบ
คาตอบ ที่มีเหตุผล ต่อปัญหาข้อสงสัยนั้น
 ศาสนา เริ่มต้นด้วยศรัทธา จบลงด้วย ภาวนามนปัญญา คือ ความรู้เกิด
จากการปฏิบัติ
 ความหมาย หลักคาสอนที่ศาสดาได้วางแนวทางให้แก่ศาสนิกปฎิบัติตาม
ทั้งในจริยะสาหรับ การดาเนินชีวิตในปัจุบันและในระดับปรมัตถ์
 ลักษณะของศาสนา จะว่าด้วยเรื่องของจิตใจและการแสวงหาความหมาย
ในชีวิตของมนุษย์
๑) ศาสนาที่เชื่อในพระผู้สร้าง (God)
ผู้สร้างเป็นความจริง สูงสุดเป็นผู้สร้าง
สรรพสิ่งได้แก่ศาสนาคริสต์ อิสลาม และ
พราหมณ์ - ฮินดู
๒) ศาสนาไม่เชื่อในพระผู้สร้าง ความจริง
สูงสุดเป็นสภาวะที่ไม่มีใครกาหนด ศาสนา
เหล่านี้ได้แก่ ศาสนาพุทธและศาสนาเชน
 ความจริงเชิงจริยะ เป็นความจริงในระดับพื้นฐานอันเป็นคุณค่าทาง
ศีลธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อเป็นเงื่อนไขแห่งการดาเนินชีวิตของคนใน
สังคมนาไปสู่ความ สุข ความดีงาม โดยอยู่บนเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อม
ทางสังคม
 ความจริงในระดับปรมัตถ์ ความจริงสูงสุด (ultimate reality) อันเป็น
เป้ าหมายสูงสุดในอุดมคติที่จะมนุษย์ทุกคนพึงเข้าถึงและสามารถพัฒนา
ศักยภาพตัวเองได้
 จุดเริ่มต้นและเป้ าหมายของปรัชญาและศาสนามีลักษณะคล้ายคลึงกัน
คือ การมุ่งสู่ความจริงสูงสุด แต่มีรายละเอียดที่ต่างกัน
 ทั้งปรัชญาและศาสนา สะท้อนให้เห็นถึงคุณลักษณะตามธรรมชาติของ
มนุษย์ที่มักตั้งคาถามและพยายามตอบ คาถาม โดยเฉพาะคาถามเกี่ยวกับ
คุณค่าและความหมายชีวิต
 ทั้งปรัชญาและศาสนาต่างเรียกร้องให้มนุษย์สานึกถึงคุณค่าและ
ความหมายชีวิต ใช้ชีวิตอย่างมีสานึกและรับผิดชอบ โดยไม่จากัดกรอบแต่เพียง
ความสุขกายเท่านั้น แต่เน้นถึงความสุขใจในการพบความจริง
ประเด็น ปรัชญา ศาสนา
ความหมาย
เน้นโลกทัศน์ ระบบคิดของ
มนุษย์ ระบบคิดจะมีความเป็น
ปัจเจกสูง
ใช้ระบบความคิดและศรัทธา
ความเชื่อ เป็นหลักในการดาเนิน
ชีวิต เน้นความรับผิดชอบสังคม
เป็นหลัก
พัฒนาการ
เน้นว่า มนุษย์จะเป็นมนุษย์
เมื่อคิดเป็น
เน้นเรื่องจิตวิญญาณ ความเชื่อ
ในความหมายกว้างจะมาพร้อม
กับการกาเนิดมนุษย์ในเชิง
กายภาพ
เครื่องมือ ใช้หลักตรรกะ ได้แก่ วิธีนิรนัย
และวิธีอุปนัย
ใช้หลักคาสอนทางศาสนาเป็น
หลักในการแสวงหาความจริง
ประเด็น ปรัชญา ศาสนา
วิธีการ
เน้นเหตุผล การเข้าถึงความ
จริงต้องใช้เหตุผลตากหลัก
ตรรกะ
เน้นญาณทัศนะ การเข้าถึงความ
จริงข้ามหลักเหตุผล เน้นความ
ศรัทธา หรือการขัดเกลาทาง
ปัญญา
เป้ าหมาย
คือการแสวงหาความรู้
การได้รับคาตอบในสิ่งที่สงสัย
เข้าถึงจุดสูงสุด หลุดพ้นจาก
สภาวะปัจจุบัน จุดสูงสุดอาจเป็น
พระเจ้าหรือนิพพาน
 วิทยาศาสตร์ ได้ก่อกาเนิดขึ้นโดย
แยกออกจากปรัชญา
 ปรัชญากับวิทยาศาสตร์ มีหน้าที่
เหมือนกัน คือ แสวงหาความจริง
 ความต่างนั้น อยู่ที่หน้าที่
วิทยาศาสตร์ มีหน้าที่บรรยาย
ปรัชญามีหน้าที่ตีความหมาย
 ความหมาย
 Science หมายถึง “การรู้” มีความหมาย ๓ ประการ ดังนี้
 วิทยาศาสตร์ในฐานะที่เป็นความรู้
 วิทยาศาสตร์ในฐานะที่เป็นกฎระเบียบวิธีการ
 วิทยาศาสตร์ทางสังคม ก็คือ กระบวนการวิจัย
 พัฒนาการของวิทยาศาสตร์ องค์ความรู้มาจากรากฐานปรัชญากรีกยุค
โบราณ
 ขอบเขตของวิทยาศาสตร์ หน่วยการวิเคราะห์ แบ่งได้ ๒ ประเภท ได้แก่
 วิทยาศาสตร์กายภาพหรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ได้แก่ ดาราศาสตร์
ฟิ สิกซ์
 วิทยาศาสตร์ทางสังคมได้แก่ รัฐศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา
จิตวิทยา
 ปรัชญามีความสาคัญในฐานะเป็นรากฐานที่มาของวิทยาศาสตร์ และ
ปัจจุบันปรัชญายังมีความสาคัญต่อวิทยาศาสตร์ในแง่การตั้งปัญหา การ
สมมติฐาน การวางขอบข่ายการศึกษา และวิธีการแสวงหาความจริงที่
นักวิทยาศาสตร์จะใช้กาหนดและวางกรอบศึกษา
ประเด็น ปรัชญา วิทยาศาสตร์
คาจากัดความ
เริ่มต้นด้วยวิธีการตั้งโจทย์และ
จบลงด้วยการได้รับคาตอบ
จากข้อสงสัยทางความคิด
เริ่มต้นด้วยวิธีแบบสมมุติฐาน
แต่การดาเนินการให้ได้คาตอบ ที่
เป็นรูปธรรม
พัฒนาการ ปรัชญาก่อตัวพร้อมกับมนุษย์
แยกตัวออกจากปรัชญาเพราะมี
วิธีวิทยาเป็นของตัวเอง
เครื่องมือ ใช้หลักหลักตรรกะ
ใช้กระบวนการวิจัยเป็นเครื่อง
แสวงหาความรู้ ใช้คณิตศาสตร์
เป็นเครื่องมือหาความจริง
ประเด็น ปรัชญา วิทยาศาสตร์
วิธีการ
เน้นการวิเคราะห์ การแยกแยะ
เป็นวิธีการทางตรรกะ
กระบวนการวิจัย ได้แก่ ตั้งโจทย์
ตั้งสมมุติฐาน ทดสอบ สรุปผล
หน่วยศึกษา
สนใจสิ่งที่เป็นนามธรรม และ
สนใจกฎเกณฑ์สิ่งที่อยู่
เบื้องหลังรูปธรรมนั้น
สนใจสิ่งที่เป็นรูปธรรม เชิง
ประจักษ์ แล้วแสวงหาสาเหตุ ที่
ทาให้เกิดปรากฎการณ์ที่สงสัย
เป้ าหมาย ได้รับความรู้ ความจริง
ได้เข้าใจแล้วสามารถควบคุม
ธรรมชาติหรือปรากฏการณ์นั้นได้
ประเด็น ปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
คาจากัดความ
ระบบความคิดของ
มนุษย์ จักรวาลวิทยา
ความรู้สึก โลกทัศน์
และหลักดาเนินชีวิต
โลกทางกายภาพ
ระบบที่อยู่ภายนอก
มนุษย์
พัฒนาการ
เกิดขึ้นพร้อมกับ
มนุษย์ แต่เป็นระบบ
ในสมัยกรีก
เกิดขึ้นพร้อมมนุษย์
ลัทธิพิธีเกิดขึ้น
จากนั้นศาสนาอุบัติขึ้น
แยกตัวออกจาก
ปรัชญา ในช่วง
ศตวรรษที่ ๑๗
บ่อเกิด ความสงสัย
ความกลัว ต้องการ
หลุดพ้นจากทุกข์
ต้องการควบคุม
ธรรมชาติ
ประเด็น ปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
สิ่งที่ศึกษา โลกวัตถุและจิตใจ จิตใจ โลกวัตถุ
วิธีการ นิรนัยและอุปนัย
ประสบการณ์ทาง
ศาสนาขัดเกลาจิตใจ
นิรนัย การลดทอน
เน้นวิธีการวิเคราะห์
เป้ าหมาย ความรู้ ความจริง
เข้าถึงความจริงสูงสุด
อยู่กับพระเจ้านิพพาน
อธิบายทานายและ
ควบคุมธรรมชาติ
ข้อจากัด
โลกภายในของ
มนุษย์ พิสูจน์
ตรวจสอบได้ยาก
บางลัทธิเน้นศรัทธา
ที่ขาดสมดุลทางปัญญา
สนใจเฉพาะโลกวัตถุ
 ข้อจากัดบางประการของศาสตร์แต่ละสาขา โดยเฉพาะวิธีการทางปรัชญาและ
วิทยาศาสตร์มักจะมีประสิทธิภาพในการเข้าใจโลกของสสาร แต่ไม่อาจจะใช้ได้
กับโลกของสิ่งมีชีวิต
 แม้ความเจริญก้างหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยี จะเป็นเชิงบวก
แต่ก็แฝงผลลบในระยะเวลาต่อมา เช่น การทาลายสภาพแวดล้อมมากขึ้น
 ๑. ศาสตร์แห่งองค์รวม เริ่มจากนักฟิ สิกส์ควันตัม ที่จะเข้าใจปรากฏการณ์บาง
ประการ เช่น แสง ว่าเป็นคลื่นหรืออนุภาค
 ๒. ศาสตร์แห่งบูรณาการ ปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์ว่า ศาสตร์ทั้งหลายแม้จะเข้า ใจ
สรรพสิ่ง แต่ก็มีฐานอยู่ที่มนุษย์ธรรมชาติของมนุษย์มีความเป็นองค์รวมและ
บูรณาการในตัว
 ๓. แนวคิดดุลยภาพ การปรากฏชัดเจนในหลักคาสอนทางศาสนา โดยเฉพาะ
พระพุทธศาสนา ดุลยภาพเกิดจากการพัฒนาองค์ประกอบแห่งบูรณาการให้ไปสู่
จุดหมายปลายทางพร้อมกันทุกด้าน
โรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธ คือ โรงเรียนระบบปกติทั่วไปที่นาหลักธรรมพระพุทธศาสนา
มาใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการบริหารและการพัฒนาผู้เรียนโดยรวมของสถานศึกษา เน้น
กรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขาอย่างบูรณาการ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
Padvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Tendances (20)

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 

Similaire à ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
Wataustin Austin
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
roh1109
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
BeeBee ComEdu
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บรรพต แคไธสง
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
CUPress
 

Similaire à ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ (20)

จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนาในทัศนะของนักวิทยาศาสตร์
 
02
0202
02
 
111
111111
111
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์