SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
ปรัชญาตะวันตก :
บทที่๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
• ขอบข่ายเนื้อหา
• สานักเอเลีย
• เซโนฟาเนส
• ปาร์มีนิเดส
• เซโนแห่งเอเลีย
• เอมเปโดเคลส
• อานักซาโกรัส
• สานักปรมานูนิยม เดมอคริตุส
ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น
• . สมัยเริ่มต้น – นักปรัชญาธรรมชาติ – สนใจและสงสัย
เกี่ยวกับโลกภายนอกและธรรมชาติรอบตัว คิดค้นว่าอะไร คือ
“ปฐมธาตุ” หรือ ธาตุแท้ของสรรพสิ่ง และ ปัญหาการเปลี่ยนแปลง
ในธรรมชาติ
โลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ?
และเกิดมาจากไหน ?
สานักเอเลีย
เซโนฟาเนส (Xenophanes) เกิดก่อน ค.ศ.570-480
• เป็นนักปรัชญา โดยท่านชอบแต่งบท
กวีนิพนธ์ไว้เป็นมหากาพย์ เพลงโศลก
และกลอนเสียดสี ท่านไม่ได้เขียน
หนังสือเกี่ยวกับปรัชญาโดยตรง แต่
ปรัชญาของท่านมีสอดแทรกในบทกวีที่
ท่านนิพนธ์นั่นเอง คาสอนของท่านมุ่ง
แก้ไขศรัทธาในศาสนาของประชาชน
และเห็นว่าประชาชนในสมัยนั้น มี
ศรัทธาที่ผิดในพระเจ้า ท่านพยายาม
แสดงศรัทธาที่ถูกต้องแก่ประชาชน
โดยมุ่งปฏิรูปศาสนาใหม่
ความเชื่อเรื่องเทพเจ้า
• มนุษย์จะต้องไม่วาดภาพเทพเจ้าไปตามจินตนาการของตน มิฉะนั้นจะ
กลายเป็นว่า มนุษย์สร้างเทพเจ้าตามอาเภอใจ พระเจ้าในความจริงตาม
ทัศนะของท่าน คือเทพเจ้าไม่ได้มีมากมายหลายองค์ (God) และพระเจ้า
ไม่ได้มีรูปร่างหน้าตาเหมือนมนุษย์ พระเจ้ามีรูปทรงกลมมีตาทิพย์ และ
เป็นสัพพัญญู ทรงมีอยู่ชั่วนิรันดรกาล พระองค์ไม่มีการอุบัติและจุติ ไม่มี
ขอบเขตจากัด
ปรัชญาของเซโนฟาเนส
• พระเจ้าอยู่ในโลก เพราะพระเจ้าเป็นอันเดียวกันกับโลก
พระเจ้าคือโลก โลกคือพระเจ้า
• โลกโผล่ขึ้นจากทะเล และต่อไปจะกลับจมหายลงทะเลไปอีก
จากนั้นจะโผล่ขึ้นใหม่ สลับกันอย่างนี้เรื่อยไป
ปาร์มีนิเดส (Parenides พ.ศ. ๒๘-๙๓)
• ท่านประยุกต์คาสอนของอาจารย์
(เซโนฟาเนส) โดยได้แนวความคิดจาก
ข้อความที่ว่า”สรรพสิ่งในโลก คือ
พระเจ้ า” และ” พระเจ้ าไม่เคย
เปลี่ยนแปลง” จึงนามาสร้างหลัก
ปรัชญาที่ว่าด้วยความเที่ยงแท้คงที่ของ
โลก และท่านได้เขียนหนังสือปรัชญา
ไว้เป็นบทกวีแบ่งเป็นสองภาค ภาคแรก
ชื่อ “วิถีแห่งความจริง”(Way of truth)
ภาคสองชื่อ “วิถีแห่งความลวง”
(Way of seeming)
ปรัชญาของปาร์มีนิเดส
• ธาตุแท้หรือแก่นแท้ของสรรพสิ่งไม่เคยเปลี่ยนแปลงเลย ความ
เปลี่ยนแปลงเป็ นเพียงปรากฏการณ์หน้าฉากเท่านั้น แต่แก่นแท้
ของโลกไม่เคยเปลี่ยนแปลง
• ภาวะ (Being) เป็นแก่นแท้ของโลก เหตุนั้นภาวะจึงเป็นปฐมธาตุ
ของสรรพสิ่ง ภาวะไม่เคยเปลี่ยนแปลง ภาวะไม่มีการเกิด ภาวะไม่
มีการดับ เพราะมันจะต้องมีอยู่ตลอดไป
ข้อสังเกต
• ปรัชญาของท่านเป็นบ่อเกิดแห่งลัทธิจิตนิยม (Idealism) ที่เน้น
ความสาคัญของจิตเหนือวัตถุภายนอก ต่อมาพลาโต้ได้นาแนวคิดของ
ท่านไปพัฒนาเป็นโลกแห่งมโนคติ (World of ideas) และถ้ามองอีกมุม
หนึ่ง ภาวะในทัศนะของท่านเป็นสิ่งจากัด กินที่ มีรูปเป็นทรงกลม ทาให้
เข้าใจได้ว่า ภาวะเป็นวัตถุหรือสสาร เพราะเป็นสิ่งกินที่และมีรูปร่าง
ดังกล่าว แก่นแท้ของโลกจึงเป็นวัตถุ เมื่อมองมุมนี้ปรัชญาของท่านก็เป็น
วัตถุนิยม (Materialism) ที่ถือว่าความจริงแท้ของสรรพสิ่งเป็นวัตถุหรือ
สสาร
เซโนแห่งเอเลีย (Zeno of Elea พ.ศ. ๕๓-๑๑๓)
• ปฏิเสธการเคลื่อนไหว ความจริงแท้จะต้องไม่
เคลื่อนไหว สิ่งที่เคลื่อนไหวเป็นมายา
• สนับสนุนความเห็นของอาจารย์ปาร์มีนิเดส
ว่าความจริงมีเพียงสิ่งเดียว ความหลากหลาย
เป็นภาพลวงตา
• เป็นบิดาของระบบวิภาษวิธี เพราะใช้วิธีนี้ในการ
โต้ตอบทางปรัชญา
• สานักเอเลีย มีความเห็นขัดแย้งกับเฮราคริตุส
ยุทธวิธีของเซโนแห่งเอเลีย
• 1) ความเป็นจริงเป็นสิ่งเดียวหรือหลายสิ่ง
• 2) ความเป็นจริงเป็นสิ่งคงที่หรือเปลี่ยนแปลง
• เพื่อสนับสนุนมติว่า ความเป็นจริงเป็นสิ่งเดียวและคงที่ถาวร
ท่านอภิปรายว่า ความมากหลายและความเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่
เรายอมรับไม่ได้ จึงไม่มีอยู่จริง สังเกตว่า เซโนไม่ได้สนับสนุน
ทรรศนะของอาจารย์โดยตรง ท่านเพียงหักล้างมติของฝ่ายตรงข้าม
ลง เพื่อปกป้ องคาสอนของอาจารย์เท่านั้น นี่คือยุทธวิธีของเซโน
แทนที่จะทาตัวเป็ นฝ่ ายรับก็กลับเป็ นฝ่ ายรุก แทนที่จะรอเป็ น
จาเลย ท่านกลับฟ้ องโจทก์เสียเอง
บทสรุป
• นักปรัชญาทั้งสามของสานักเอเลียเสนอคาสอนที่สัมพันธ์กัน กล่าวคือ
• เซโนฟาเนสมีทรรศนะว่า “พระเจ้าคือสรรพสิ่งและสรรพสิ่งคือพระเจ้า”
พระเจ้าคือความเป็นจริงประการเดียวในโลก”
• ปาร์มีนิเดสเสนอใหม่ว่า “สรรพสิ่งคือสภาวะ (Beimg) และสภาวะคือ
สรรพสิ่ง” ความเป็นจริงในโลกมีสิ่งเดียว และสิ่งนั้นได้แก่ภาวะอันไม่รู้จัก
เปลี่ยนแปลง
• เซโนสนับสนุนปาร์มีนิเดสด้วยการพิสูจน์ว่า ภาวะหรือความเป็นจริงนั้นมี
อยู่อย่างเที่ยงแท้ถาวร ความเปลี่ยนแปลงเป็นแต่เพียงภาพลวงตา
• หลักใจความสาคัญของสานักเอเลียมีอยู่ว่า “เนื้อแท้หรือความเป็นจริงใน
โลกเป็นสิ่งคงที่ถาวร อันไม่มีวันเปลี่ยนแปลง”
เอมเปโดเคลส (Empedocles) พ.ศ.48-108
• เป็นชาวเมืองอะกรีเจนตุม ภาคใต้ของ
เกาะซิชิลี
• ปฐมธาตุ คือ ดิน น้า ลม ไฟ ที่มา
รวมตัวกันด้วยพลังแห่งความรัก และ
แยกตัวออกไปด้วยพลังแห่งการเกลียด
• เป็นนักประนีประนอม ระหว่างปรัชญา
ของเฮราคริตุสกับ สานักเอเลีย
จึงเสนอความคิดข้างต้น
ปรัชญาเอมเปโดเคลส
• โลกทั้งเปลี่ยนแปลง และไม่เปลี่ยนแปลงในเวลาเดียวกัน
• เมื่อมองไปที่ปฐมฐาตุ เราจะพบความเที่ยงแท้คงที่ แต่เมื่อมองไปที่สิ่ง
ต่างๆ อันเกิดจากการผสมของปฐมธาตุ เราจะพบความเปลี่ยนแปลงของ
โลก ดังนั้นโลกจึงทั้งเปลี่ยนแปลงและไม่เปลี่ยนแปลง
• ปฐมฐาตุมีอยู่ ๔ อย่าง คือ ดิน น้า ลม ไฟ
ความรักและความเกลียด
• โลกและสรรพสิ่งแตกสลายเพราะธาตุทั้งสี่แยกตัวออกจากกัน เหตุเพราะ
ความรัก ธาตุทั้งสี่รวมตัวกันเหตุเพราะความเกลียด ดังนั้นโลกและสรรพ
สิ่งจะมีขึ้นหรือแยกตัวกันก็เพราะความรักและความเกลียด
ข้อเปรียบเทียบ
• ธาตุสี่ของเอมเปโดเคลส เป็นสิ่งคงที่ถาวรไม่เปลี่ยนแปลง สามารถ
แยกอยู่เป็นอิสระจากกัน
• ธาตุสี่ในพระพุทธศาสนาเป็นขณิกะ คือเกิดดับทุกขณะไม่มีธาตุใด
ดารงอยู่คงที่ถาวร ธาตุเหล่านี้เป็ นสหุปปันธรรมคือเกิดร่วมกัน
ตลอดเวลา
อานักซาโกรัส (Anaxagoras) เกิดเมื่อ พ.ศ. 43-115
• เป็นคนแรกที่นาปรัชญาไปเผยแพร่ในเอเธนส์
• อานาซากอรัสถูกกล่าวหาว่าเป็ นผู้หลบหลู่ศาสนา เพราะเขามี
ความเห็นว่า ดวงอาทิตย์คือหินไฟสีแดง ที่มีขนาดใหญ่กว่ า
อาณาจักรกรีก และดวงจันทร์คือสิ่งที่มีลักษณะเหมือนโลก มีแสง
เป็นแสงสะท้อนจากดวงอาทิตย์
ปรัชญาของอานักซาโกรัส
• “สิ่งทั้งหลายไม่อาจเกิดขึ้นจากความว่างเปล่า” โลกนี้ไม่ได้เกิดขึ้นปัจจุบัน
ทันที แต่เนื่องจากผลแห่งการรวมตัวของวัตถุดิบที่มีอยู่ก่อนแล้ว และเรียก
วัตถุดิบสาหรับสร้างโลกว่า”ปฐมธาตุ”
• ปฐมธาตุ ควรมีมากกว่า ดิน น้า ลม ไฟ
• “สถาปนิกผู้วางแปลนและควบคุมการสร้างโลกนั้นคือ “จิต หรือ มโน”
(Mind or Nous)
จุดเด่นของอานักซาโกรัส
• ท่านเป็นนักปรัชญากรีกคนแรกที่พูดถึง “จิต” ไว้ชัดเจน โดยได้แยก
จิตออกจากสสารอย่างเด็ดขาด
• นักปรัชญายุคต่อมาจับประเด็นแห่งความแตกต่างนี้เป็นจุดแยกไป
สร้างปรัชญาจิตนิยม (Idealism)
• เป็นนักปรัชญาคนแรกที่นาปรัชญาไปเผยแพร่แก่ชาวเอเธนส์ จน
ทาให้เอเธนส์กลายเป็นศูนย์กลางปรัชญาในกาลต่อมา
เดมอคริตุส (Democritus พ.ศ. 83 – 173)
• เป็นแบบฉบับแห่งปรัชญาสานัก
ปรมาณูนิยม
• เป็นนักปรัชญาผู้อุทิศชีวิตแก่การศึกษา
และการคิดคานึง ท่านได้กล่าวว่า
• “ข้าพเจ้าพอใจที่จะค้นพบการพิสูจน์
ทฤษฎีทางเรขาคณิตแม้เพียงข้อเดียว
มากกว่าที่จะพิชิตราชบัลลังก์เสียอีก”
ปรัชญาของเดมอคริตุส
• ท่านยอมรับระหว่างความเที่ยงแท้ถาวรกับการเปลี่ยนแปลง
• การเปลี่ยนแปลงในโลกเป็นเรื่องที่ไม่อาจปฏิสธ แต่การ
เปลี่ยนแปลงนั้นไม่กระทบกระเทือนต่อปฐมธาตุ
• ปฐมธาตุคือ ปรมาณู หรือ อะตอม
ปรมาณู (Atom) คืออะไร ??
• หมายถึง “วัตถุที่มีขนาดเล็กที่สุดไม่สามารถจะแบ่งย่อยได้อีกแล้ว”
• ปรมาณูมีอยู่ก่อนกาเนิดของโลก ปรมาณูไม่มีการเกิดดับ
• ปรมาณูไม่มีวันเปลี่ยนแปลง
• ปรมาณูแตกต่างกันที่ปริมาณ ไม่ใช่คุณภาพ
กาเนิดจักรวาล
• ปรมาณูภายในวงวนจะรวมตัวกันโดยปรมาณูที่มีรูปร่างและขนาด
คล้ายคลึงกัน จะเกาะตัวกันเป็นดิน น้า ลม ไฟ และสิ่งต่าง ๆ จน
เป็นโลกนี้และดวงดาวในจักรวาล
• การเคลื่อนที่ของปรมาณูดาเนินตาามกฏกลศาสตร์ (Mechanical
Law) อันตายตัว “ไม่มีอะไรเกิดขึ้นอย่างไร้เหตุผล สรรพสิ่งเกิดขึ้น
ตามเหตุผลและความจาเป็น”
ทัศนะเรื่องวิญญาณ
• วิญญาณของคนเราเกิดจากการรวมกลุ่มของปรมาณูที่กลมที่สุด
ประณีตที่ สุด คล่ องแคล่ วที่ สุด เรียกปรมาณูพวกนี้ว่า
“ปรมาณูวิญญาณ.” (Soul Atom) มันแผ่ซ่านไปทั่วสรรพางค์
ทาหน้าที่อานวยการความเคลื่อนไหวของอวัยวะในร่างกาย ทา
หน้าที่ต่างกันไป เช่น ปรมาณูส่วนสมองทาหน้าที่คิด ปรมาณูส่วน
หัวใจทาหน้าที่โกรธ
ทฤษฎีความรู้
• ได้ถูกแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ความรู้เทียมกับความรู้แท้ ความรู้
อย่างแรกเกิดจากประสาทสัมผัส ความรู้ระดับสัมผัสนี้เป็นควมรู้
เทียม เพราผัสสะบิดเบือนโลกภายนอก
• ความรู้ที่แท้ต้องเป็นความรู้เกี่ยวกับปรมาณูตามที่เป็นจริง คือรู้ตัว
คุณภาพปฐมภูมิของปรมาณูว่า มันมีรูปร่าง ขนาด และน้าหนัก
เท่านั้น
• ความรู้แท้เป็นความรู้ระดับเหตุผล ไม่ใช่ระดับสัมผัส เดมอคริตุส
จึงให้ความสาคัญแก่เหตุผลมากกว่าสัมผัส นักปรัชญาเรียกท่านว่า
“เป็นนักเหตุผลนิยม” (Ratoinalist)
เทววิทยา
• เทพเจ้าเกิดจากการรวมตัวของปรมาณูที่ประณีตมาก จึงมีอานาจ
และเหตุผลเหนือมนุษย์ เทพเจ้ามีอายุยืนยาวกว่ามนุษย์ แต่ไม่เป็น
อมตะ เทพเจ้ามีวันตายเหมือนกัน ท่านบอกว่า เทพเจ้าไม่นิยมมา
แทรกแซงกิจการภายในของมนุษย์ ดังนั้น มนุษย์ไม่จาเป็นต้อง
กลัวเกรงหรือเซ่นไหว้เทพเจ้าแต่ประการใด
จริยศาสตร์
• ชีวิตทุกชีวิตมีจุดหมายคือ ความสุข ความสุขคือความสบายใจ
เนื่องจากความสงบราบเรียบภายในดวงใจ ไม่ใช่ความสุขทางเนื้อ
หนังประเภทนี้เกิดชั่วครึ่งชั่วยาม ท่านบอกว่า คนเรายิ่งลดความ
ทะยานอยากลงได้มากเท่าใด โอสาศที่เขาจะชอกช้าใจ เพราะ
ความผิดหวังก็มีน้อยลงเท่านั้น.
สรุป
• เดมอคริตุส เป็นนักวัตถุนิยม (Materialist) เพราะเชื่อว่าความจริง
สูงสุด เป็นอนุภาคของสสารหรือปรมาณู วิญญาณในทัศนะของ
ท่านก็เป็นปรมาณู
• เดมอคริตุสกล่าวว่า ปรมาณูหรืออะตอมเป็นสิ่งที่แบ่งแยกไม่ได้
แต่นักวิทยาศาสตร์ได้แยกส่วนประกอบของปรมาณูออกเป็นประจุ
ไฟฟ้ าอีเลคตรอน โปรตรอน และนิวตรอน นับว่าปรัชญาของท่าน
มีอิทธิพลต่อแนวความคิดของนักปรัชญายุคต่อมา และได้รับการ
กล่าวถึงเรื่อยมาถึงปัจจุบัน เป็นการสิ้นสุดปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น
จบบทที่ ๔
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
Anchalee BuddhaBucha
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 

Tendances (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)