SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  107
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนา
ในการทางานจิตอาสา
• คนทุกคนมีเมล็ดพันธ์แห่งความดี
อยู่ในหัวใจ ถ้าหากรดน้า พรวนดิน
ให้เหมาะสม ก็จะงอกงามเติบโต
ออกไปได้ เป็นพลังแห่งความ
กรุณาปรานีที่หลั่งไหลออกมา...
การเป็นอาสาสมัครเพื่อเพื่อน
มนุษย์ คือรูปธรรมของความ
เมตตา กรุณา เป็นการเชื่อมต่อ
ความเป็นมนุษย์เข้าด้วยกัน
และทาเกิดสิ่งดีงามขึ้นมากมาย
• การเป็นอาสาสมัคร จึงเป็นการพาตนมาเดินอยู่
บนเส้นทางแห่งการพัฒนาตนควบคู่ไปกับการ
ช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น ....การเป็นอาสาสมัครจึง
ไม่ควรจากัดอยู่ที่ช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต แต่เป็น
งานที่ทุกคนควรทาจนกว่าจะหมดลมหายใจ
เนื้อแท้ของการเป็นอาสาสมัครนั้นอยู่ที่
จิตใจ คือมี “จิตอาสา” ที่จะช่วยเหลือผู้อื่น
หรือนึกถึงส่วนรวม เราจาต้องตระหนักอยู่
เสมอว่า “อาสาสมัคร” นั้นไม่ใช่เป็นอาชีพ
หากคือสานึกที่สมควรมีอยู่คู่กับความเป็น
มนุษย์ของเราจนกว่าชีวิตจะหาไม่
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
• กระแสของการให้ หรือ การทาความดีเพื่อสังคมด้วยการเป็น
อาสาสมัคร/การทางานจิตอาสา เป็นปรากฏการณ์ระดับสากลที่เกิดขึ้น
ทั่วโลก
• คลื่นพลังแห่งความเสียสละ ด้วยมนุษยธรรมในการช่วยเหลือเพื่อน
มนุษย์/สรรพสัตว์/ธรรมชาติ ให้พ้นจากปัญหาและความทุกข์ที่ต้อง
ประสบ พบเจอ
• ภัยพิบัติ/ สงครามและความขัดแย้ง/ ปัญหาความยากจน/ ปัญหา
สิ่งแวดล้อม/ ปัญหาสังคม/
ความเป็นมา และความสาคัญของปัญหา
• UNV – United Nation Volunteer
• EDV – European Disaster Volunteer
• Volunteer Center in Canada
• VOSESA – Volunteer and Service Enquiry Southern Africa
• Volunteering Australia
• Tzu Chi Foundation
• เครือข่ายจิตอาสา, เครือข่ายพุทธิกา, มูลนิธิกระจกเงา, มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อ
สังคม, สานักบัณฑิตอาสาสมัคร ธรรมศาสตร์, มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง ฯลฯ
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
• ประเทศไทย>>> กระแสของ “จิตอาสา” ปรากฏอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อ
ครั้งเกิดเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิ เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗
มีผู้เสียชีวิตหลายพันคน >> เกิดการรวมน้าใจ+ให้ความช่วยเหลือ+เป็น
อาสาสมัคร นับหมื่นคน และ เกิดเป็นกลุ่มคนจิตอาสา ขยายเครือข่าย
และทางานเพื่อช่วยเหลือสังคมต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
• เช่น เหตุการณ์มหาอุทกภัย กรกฎาคม – พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
• ในวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรีมีมติให้ “การให้
และการอาสาช่วยเหลือสังคม” เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อ
ส่งเสริมและผลักดันความดีที่เป็นรูปธรรมให้เกิดขึ้นเต็มแผ่นดิน
โดยทุกภาคส่วนร่วมกัน ทั้งภาครัฐ ภาคสังคม และภาคธุรกิจ
• สอดคล้องกับกระแสที่เรียกว่า CSR: Coperate Social
Responsibility หรือ “ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
ระดับนานาชาติ”
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
• การทางานจิตอาสาจาเป็นต้องอาศัยคุณธรรมและวิธีการหลายๆ อย่าง
เพื่อใช้ขับเคลื่อนงาน+เป็นแนวปฏิบัติ+หลักยึดเหนี่ยวทางใจ+แก้ไข
ปัญหาและอุปสรรค+ส่งเสริมและพัฒนาจิตอาสา
• หลักการทางพระพุทธศาสนาในพระไตรปิฎก มีแนวคิดหลาย
ประการที่คล้ายคลึงกับแนวคิดจิตอาสา – พระพุทธจริยาของ
พระพุทธเจ้า, พระสาวก >> ประกอบไปด้วยความเมตตา กรุณา
เสียสละ >> ต้องการช่วยเหลือให้สรรพสัตว์พ้นจากความทุกข์
• พระพุทธเจ้าทรงส่งพระสาวกออกประกาศพระศาสนาเพื่อช่วยเหลือ
สรรพสัตว์
พระองค์ทรงตัดสินพระทัยเผยแผ่ธรรมด้วยพระมหา
กรุณาเพื่ออนุเคราะห์สรรพสัตว์ให้พ้นจากความทุกข์
• “ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วง (โลภะ) ทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์
ทั้งที่เป็นของมนุษย์ แม้พวกเราก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่เป็นของ
ทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไปเพื่อ
ประโยชน์สุขแก่ชนจานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อ
ประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ อย่าไปโดย
ทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความงามใน
ท่ามกลาง และมีความงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้ง
อรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน สัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีใน
ดวงตาน้อย มีอยู่ ย่อมเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม จักมีผู้รู้ธรรม ภิกษุ
ทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม”
• ผู้วิจัยมีความเห็นว่า >>> “หลักการในพระพุทธศาสนา” สามารถ
นามาประยุกต์ใช้ในการทางานจิตอาสา และการพัฒนาจิตอาสาได้
• (พระพุทธเจ้า+พระสาวก เป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิตเพื่อเป็น
ประโยชน์แก่ผู้อื่น // พระธรรม นามาพัฒนาจิตใจ ให้มีคุณธรรม สงบสุข
มีปัญญาและกรุณาที่พัฒนาขึ้น + แก้ไข ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น)
• บูรณาการ กับ “แนวคิดจิตอาสาในบริบทของสังคม
ปัจจุบัน” (สะท้อนแนวคิด/ค่านิยม/ปัญหา/สถานการณ์/ความต้องการ
ของคนในสังคมยุคปัจจุบัน)
• บูรณาการ กับ “การถอดบทเรียนจากประสบการณ์
จริงในการทางานจิตอาสาของอาสาสมัครกรณีตัวอย่าง”
• เพื่อเป็นการสังเคราะห์และเติมเต็มแนวคิดจิตอาสาให้
มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น + สามารถนามาประยุกต์เพื่อสร้าง
เสริมจิตอาสาให้แก่คนในสังคม และ สามารถนามา
แก้ปัญหาและอุปสรรคของการทางานจิตอาสาที่เกิดขึ้นใน
สังคมปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
• ๑) เพื่อศึกษาแนวคิด และทฤษฎีจิตอาสาในบริบทของสังคมปัจจุบัน
• ๒) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาตามหลักการทางพระพุทธศาสนา
• ๓) เพื่อศึกษาแนวคิดและการถอดบทเรียนในการทางานจิตอาสาของ
ตัวอย่างอาสาสมัครและองค์กรที่ทางานด้านจิตอาสาในประเทศไทย
• ๔) เพื่อบูรณาการแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาตามหลักการทาง
พระพุทธศาสนา กับ แนวคิด และทฤษฎีจิตอาสาในบริบทของสังคม
ปัจจุบัน รวมทั้งแนวคิดและการถอดบทเรียนในการทางานจิตอาสาของ
ตัวอย่างอาสาสมัครและองค์กรที่ทางานด้านจิตอาสาในประเทศไทย
วัตถุประสงค์ข้อที่ ๑
• ศึกษาแนวคิด และทฤษฎีจิตอาสาในบริบทของสังคม
ปัจจุบัน
• ทาการศึกษาข้อมูลจากเอกสาร (Document Rearch) ขั้น
ทุติยภูมิ เช่น หนังสือ สื่อ สิ่งพิมพ์ ที่เกี่ยวข้องกับจิตอาสา
รวมทั้งข้อมูลจากเทป วิดีโอ หรือแผ่นบันทึกเสียง และ
ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดจิตอาสา
• ในประเด็นต่อไปนี้
- ประวัติ ความเป็นมาของแนวคิดและการทางานจิตอาสา
- ความหมายของจิตอาสา
- ความสาคัญของจิตอาสา
- แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา
- ลักษณะและหลักการทางานจิตอาสา
- ปัญหาและอุปสรรคในการทางานจิตอาสา
- ประโยชน์และคุณค่าของการทางานจิตอาสา
- แนวทางการพัฒนาจิตอาสา
สรุปผลการวิจัย
๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา
ในบริบทของสังคมปัจจุบัน
๑. ความหมายของจิตอาสา (Volunteer Spirit)
- การมีจิตอาสาที่อาสาช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ในรูปแบบ
ต่างๆ โดยที่ไม่หวังสิ่งใดตอบแทน
- เป็นจิตที่ไม่นิ่งเฉย เมื่อพบปัญหาและความทุกข์เกิดขึ้นกับผู้อื่นและ
สังคม
- เป็นจิตที่พร้อมจะเสียสละเวลา กาลังทางกาย จิตใจ ทรัพย์สินหรือ
สติปัญญา เพื่อก่อให้เกิดสิ่งที่ดีแก่ผู้อื่นและเพื่อสาธารณประโยชน์ รวมไปถึง
การทาความดีเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา
ในบริบทของสังคมปัจจุบัน
• ๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา
• บุคคลมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ (Altruism) เห็นประโยชน์แก่ผู้อื่นเป็นที่ตั้ง
• มีพฤติกรรมเพื่อสังคม (Prosocial Behavior) คือ การกระทาที่เป็น
ประโยชน์ต่อผู้อื่น ต่อสังคมด้วยความสมัครใจและเสียสละ
• ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning View of Motivation)
• ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory)
• ๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา (ต่อ)
• ผลการวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งเสริมการเป็นอาสาสมัครของวัยรุ่นอเมริกัน
– ปัจจัย หรือแรงจูงใจภายนอก >> อิทธิพล หรือ การสนับสนุนของครอบครัว
/ ประสบการณ์ในการช่วยเหลือสังคม / ได้รับการชักชวน / เคยเรียนวิชา
เกี่ยวกับการบริการชุมชน / การเข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนาที่เชื่อมโยงกับ
การเป็นอาสาสมัคร / เชื่อว่าปัญหาสังคมแก้ไขได้ด้วยงานอาสาสมัคร
– ปัจจัย หรือ แรงจูงใจภายใน >> สงสาร เห็นใจผู้ตกทุกข์ได้ยาก / มี
ความคิดว่าการเป็นอาสาสมัครเป็นสิ่งสาคัญสาหรับตน / เชื่อว่าเมื่อช่วย
ผู้อื่น ผู้อื่นก็จะช่วยเหลือตน / สังคมจะดีขึ้นถ้าผู้คนใส่ใจกัน / รู้สึกดีขึ้นเมื่อ
ให้ความใส่ใจผู้อื่น
๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา
ในบริบทของสังคมปัจจุบัน
• ๓. ลักษณะของการทางานจิตอาสา
• - เป็นงานที่ทาเพื่อช่วยเหลือหรือเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นหรือส่วนรวม อัน
เกิดจากการเสียสละโดยสมัครใจของอาสาสมัครหรือผู้ที่มีจิตอาสา โดยไม่
หวังสิ่งตอบแทน
• - ลักษณะของงานงานจิตอาสา >> มีอยู่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับบทบาท
หน้าที่ที่ต้องการการช่วยเหลือจากอาสาสมัคร
• - ด้านสังคมสงเคราะห์, ด้านการแก้ปัญหาสังคม, ด้านการพัฒนาสังคม
, การช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย ฯลฯ >> การใช้ความคิด, การใช้
กาลังกายหรือแรงงาน และด้านกาลังทรัพย์
๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา
ในบริบทของสังคมปัจจุบัน
• ๔. หลักการทางาน
• อาสาสมัครควรต้องมีจิตวิญญาณของอาสาสมัคร อันเกิดจากความ
สานึกและความรับผิดชอบที่มีต่อผู้อื่นและสังคม
• สมัครใจเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน สังคม และประเทศชาติ โดยไม่หวัง
สิ่งตอบแทน
• เป็นผู้มีอุดมการณ์โดยถือประโยชน์ส่วนรวมเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตัว
ทางานด้วยความเสียสละ กระตือรือร้น เอื้ออาทร บริสุทธิ์ใจ มีศรัทธา
มุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือหรือบาเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่น
• ๔. หลักการทางาน (ต่อ)
• ทางานด้วยปัญญา มีทักษะ ความรู้ที่จาเป็นต่อการทางานอาสา ทั้ง
ความรู้ในหน้าที่และความรู้ทั่วไป
• ประพฤติตนอยู่ในจริยธรรมอันดี เคารพกฎระเบียบของหน่วยงาน
อาสาสมัครและของบ้านเมือง มีบุคลิก ลักษณะ การวางตนที่เหมาะสม
• มีสุขภาพที่ดีทั้งทางร่างกายและจิตใจรวมทั้งมีคุณธรรมที่สาคัญ คือ
พรหมวิหาร ๔, สังคหวัตถุ ๔ และ ความอดทนและตั้งใจจริง ฯลฯ
๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา
ในบริบทของสังคมปัจจุบัน
• ๕. ปัญหาและอุปสรรคของการทางานจิตอาสา
• อาสาสมัครขาดความรับผิดชอบ / ขาดจิตสานึก / ขาดความมั่นใจ / ท้อแท้
ท้อถอย / ขาดความพร้อมทางเศรษฐกิจ (กรณีที่จาเป็น) / มีความเฉื่อยชาไม่
พัฒนาและปรับปรุงบทบาทของตนเอง / อาสาสมัครขาดความรู้ ความเข้าใจใน
บทบาทหน้าที่ และแนวทางการปฏิบัติงานของตน ฯลฯ
• งานอาสาสมัคร ขาดอุปกรณ์ในการทางาน / ขาดการประชาสัมพันธ์งาน /ขาด
ความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐและไม่ให้ความสาคัญกับผู้ปฏิบัติงาน
อาสาสมัคร / ประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจ และขาดความเชื่อมั่นในงาน
อาสาสมัคร / ไม่มีกฎหมายคุ้มครองและสวัสดิการเพื่อเป็นขวัญและกาลังใจ / ไม่มี
ศูนย์กลางในการประสานงานต่างๆ ของอาสาสมัคร เป็นต้น
๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา
ในบริบทของสังคมปัจจุบัน
• ๖. ประโยชน์และคุณค่าของการทางานจิตอาสา
• - ประโยชน์ต่อตัวอาสาสมัคร
–มีความสุข และภาคภูมิใจ / เกิดจิตสานึกต่อส่วนรวม / เกิดการ
พัฒนาจิตใจและอารมณ์ / รู้สึกว่าชีวิตมีคุณค่า มีประโยชน์ / เกิด
ความรู้สึกเชิงบวกต่อตนเอง / สร้างนิสัยที่อ่อนโยน นุ่มนวล ดีงาม
ชอบช่วยเหลือ / เคารพผู้อื่น / เข้าใจผู้อื่น / ได้เรียนรู้ และเพิ่ม
ศักยภาพ ความรู้ และทักษะต่างๆ / ได้รับประสบการณ์ใหม่ / ได้พบ
เพื่อนใหม่ / ขยายโลกทัศน์ / พัฒนาความเป็นผู้นา ฯลฯ
• ๖. ประโยชน์และคุณค่าของการทางานจิตอาสา
• - ประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติ
• ประเทศที่มีจานวนประชากรอาสาสมัครมาก แสดงให้เห็นว่า
ประเทศชาติมีประชากรที่มีคุณภาพที่เข้าใจถึงปัญหาของประเทศชาติ
และพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างจริงใจและจริงจัง >>
ประชาสังคม (Civil Society) ที่ผู้คนให้ความสาคัญในเรื่องสิทธิและ
หน้าที่ของการเป็นพลเมืองที่ดี
• อาสาสมัครเป็นทรัพยากรที่สาคัญของประเทศชาติในการพัฒนาด้าน
ต่างๆ ของสังคมโดยรวม ก่อให้เกิดบรรยากาศของความเอื้อเฟื้อ
ช่วยเหลือและความมีน้าใจ ทาให้สังคมน่าอยู่และสงบสุขตามสมควร
๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา
ในบริบทของสังคมปัจจุบัน
• ๗. การพัฒนาจิตอาสา
• อาศัยองค์ความรู้และกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการปลูกฝังและ
เสริมสร้าง บริหารจัดการ เพื่อพัฒนาจิตอาสาให้เกิดขึ้นแก่บุคคลทั่วไป
เยาวชน และอาสาสมัคร
• เช่น สถาบันการศึกษา หรือ องค์กร หรือสถาบันทางสังคมอื่นๆ ควรมี
บทบาทสนับสนุนและสร้างบรรยากาศให้เยาวชน หรือประชาชน เกิดการ
รวมตัวเพื่อทาประโยชน์แก่ส่วนรวม หรือมีการเปิดโอกาสให้ได้ทาความดี
หรือทาประโยชน์แก่ผู้อื่นหรือสังคม ได้สัมผัสปัญหาและความทุกข์
เดือดร้อนของคนในสังคม เห็นความสาคัญของส่วนรวม เกิดความเห็นใจ
เมตตา กรุณาและนาไปสู่การมีจิตอาสา
วัตถุประสงค์ข้อที่ ๒
• ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาตามหลักการทาง
พระพุทธศาสนา
• ทาการศึกษาข้อมูลจากเอกสารขั้นปฐมภูมิ คือ คัมภีร์
พระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาฯ และ จากเอกสารขั้น
ทุติยภูมิ คือ คัมภีร์อรรถกถา ฉบับ มหามกุฏฯ และ
หนังสือ สิ่งพิมพ์อื่นๆ ทางพระพุทธศาสนา
• ในประเด็นต่อไปนี้
• - ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาที่ปรากฏใน
พระไตรปิ ฎก
• - แรงจูงใจในการทางานจิตอาสาจากพระพุทธจริยา
• - ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสาจากพระพุทธจริยา
• - สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสาตามหลักการทาง
พระพุทธศาสนา
• - การพัฒนาจิตอาสาตามหลักการทางพระพุทธศาสนา
• - หลักพุทธธรรมที่สนับสนุนแนวคิดจิตอาสาและการประยุกต์ใช้
สรุปผลการผลการวิจัย
๒. แนวคิดเกี่ยวกับ จิตอาสาตามหลักการ
ทางพระพุทธศาสนา
สรุปผลการผลการวิจัย
๒. แนวคิดเรื่องจิตอาสาในพระไตรปิฎก
• ๑. ความหมายและแนวคิดจิตอาสาในพระไตรปิฎก
• - คาว่า จิตอาสา ไม่มีบัญญัติไว้ในพระไตรปิฎกโดยตรง
• - แนวคิดเรื่องจิตอาสา ปรากฏอยู่ในคาสอนในพระพุทธศาสนา รวมไป
ถึงพระพุทธพจน์และปรากฏผ่านพระพุทธจริยาและการบาเพ็ญ
พระพุทธกิจของพระพุทธเจ้าตลอดระยะเวลา ๔๕ พรรษา รวมทั้ง
อยู่ในพระจริยาของพระสาวกด้วย
• “ตราบเท่าที่พระผู้มีพระภาคองค์นี้ ทรงปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่คน
หมู่มาก เพื่อสุขแก่คนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์
เพื่อเกื้อกูล เพื่อสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เราไม่เคยเห็นพระ
ศาสดาผู้ประกอบด้วยองค์คุณแม้เช่นนี้...ในอดีตกาลเลย ถึงในบัดนี้ เรา
ก็ไม่เห็นใครอื่น นอกจากพระผู้มีพระภาค พระองค์นั้น” (ที.ม. (ไทย)
๑๐/๒๙๖-๒๙๙/๒๒๙-๒๓๓)
• เมื่อตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรง
ตัดสินพระทัยเผยแผ่พระธรรม
ด้วยพระมหากรุณา เพื่อ
อนุเคราะห์สรรพสัตว์ให้พ้นจาก
ความทุกข์ แม้ว่าจะทรงรู้สึกว่า
เป็นการยากลาบากเพียงใดก็
ตาม
• ทรงส่งพระสาวกออกประกาศ
พระศาสนาเพื่อช่วยเหลือสรรพ
สัตว์
• “ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วง (โลภะ) ทั้งปวง ทั้งที่เป็น
ของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ แม้พวกเราก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่
เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไป
เพื่อประโยชน์สุขแก่ชนจานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อ
ประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ อย่าไปโดย
ทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความงามใน
ท่ามกลาง และมีความงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้ง
อรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน สัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีใน
ดวงตาน้อย มีอยู่ ย่อมเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม จักมีผู้รู้ธรรม ภิกษุ
ทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม”
• ๑. ความหมายและแนวคิดจิตอาสาในพระไตรปิฎก (ต่อ)
• ความหมายของ “จิตอาสา” ตามหลักการทางพระพุทธศาสนา
>> การอาสาเข้าไปช่วยเหลือผู้อื่นด้วยจิตใจที่มีธรรมะ คือ ความ
เมตตา และกรุณา โดยไม่หวังผลตอบแทน
>> การมีจิตที่ประกอบไปด้วยความเมตตา และกรุณา และ
ปรารถนาจะช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความบริสุทธิ์ใจ และเสียสละโดย
ไม่หวังผลตอบแทนแก่ตน
- จิตอาสาในมิติของ “การให้” , “การเสียสละ” สอดคล้องกับ คาสอน
เรื่อง “ทาน” / “เวยยาวจมัย” เป็นข้อธรรมใน “บุญกิริยาวัตถุ ๑๐”
๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา
จากพระพุทธจริยา
• วิเคราะห์ตามแนวของพระพุทธประวัติแนวจารีต >> มาจากแรงจูงใจ
อันเกิดจากการตั้งปณิธาน หรือ การตั้งความปรารถนาที่จะเป็น
พระพุทธเจ้าเพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นจากความทุกข์และ
สังสารวัฏ ตั้งแต่เมื่อครั้งที่ยังทรงเป็นพระโพธิสัตว์
• โดยมีจุดเริ่มต้นมาจากการพิจารณาเห็นความทุกข์ของสรรพสัตว์และ
โทษภัยของกิเลสและสังสารวัฏ
• “เราตรัสรู้แล้ว จะให้ผู้อื่นตรัสรู้ด้วย เราพ้นแล้ว จะให้ผู้อื่นพ้นด้วย เรา
ข้ามได้แล้ว จะให้ผู้อื่นข้ามได้ด้วย” (สัมภารวิบาก)
๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา
จากพระพุทธจริยา (ต่อ)
• แรงจูงใจในการช่วยเหลือสรรพสัตว์ในครั้งที่เป็นพระพุทธเจ้าแล้วนั้น
>> เกิดจากพระพุทธคุณที่มีอยู่ในพระองค์ โดยเฉพาะพระปัญญา
คุณและพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งพระพุทธองค์สามารถละอวิชชา
ตัณหา และอุปาทานได้แล้ว จึงทรงมีปัญญาและกรุณาเป็นแรงจูงใจใน
การกระทากิจต่างๆ เพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นจากความทุกข์
๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา
จากพระพุทธจริยา (ต่อ)
• แรงจูงใจตามแนวพุทธธรรมกับการทางานจิตอาสา >>การ
ทางานจิตอาสาที่ถูกต้องหรือที่ควรจะเป็น จะต้องเกิดจาก
แรงจูงใจที่เป็นฉันทะ ที่มุ่งหวังประโยชน์และความอยู่ดีมีสุข
เพื่อผู้อื่นและสังคมด้วยจิตที่มีความเมตตา กรุณา และ
บริสุทธิ์ใจ อย่างปราศจากความเห็นแก่ตัว หรือปราศจาก
แรงจูงใจที่เกิดจากตัณหา ที่ปรารถนาเสพความสุขและ
อารมณ์ที่ชอบใจเพื่อตนเป็นสาคัญ
๒. แนวคิดเรื่องจิตอาสาในพระไตรปิฎก
• ๓. ลักษณะ และ วิธีการทางานจิตอาสา
• วิเคราะห์จาก พระพุทธจริยา และการบาเพ็ญ พระพุทธกิจ ของ
พระพุทธเจ้า
• พบว่า พระพุทธคุณ ๓ ประการ คือ พระปัญญาคุณ พระบริสุทธิ์
คุณ และพระมหากรุณาธิคุณ เป็นคุณสมบัติอันประเสริฐของสมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นที่มาของพระพุทธกิจ เพื่อช่วยเหลือ
สรรพสัตว์ให้พ้นจากปัญหาและความทุกข์
• ผ่านพระพุทธจริยา ๓ ประการ
พระพุทธจริยา ๓
๑. โลกัตถจริยา ทรงบาเพ็ญประโยชน์แก่โลก
ความสาเร็จในจริยาข้อนี้ทรงอาศัย
พุทธกิจประจาวัน ๕ ประการ คือ
๑) เวลาเช้าเสด็จออกบิณฑบาต เพื่อเป็นการโปรดสัตว์โลกผู้ต้องการบุญ
๒) ในเวลาเย็นทรงแสดงธรรมแก่คนผู้สนใจในการฟังธรรม
๓) ในเวลาค่าทรงประทานพระโอวาทให้กรรมฐานแก่ภิกษุทั้งหลาย
๔) ในเวลาเที่ยงคืน ทรงแสดงธรรม และตอบปัญหาแก่เทวดาทั้งหลาย
๕) ในเวลาใกล้รุ่ง ทรงตรวจดูสัตว์โลกที่อาจจะรู้ธรรมซึ่งพระองค์ทรงแสดง
แล้วได้รับผลตามสมควรแก่อุปนิสัยบารมีของคนเหล่านั้น
พระพุทธกิจ ๕ ประการ
พระพุทธจริยา ๓
• ๒. ญาตัตถจริยา ทรงบาเพ็ญประโยชน์แก่พระญาติ เช่น การที่
พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดพระญาติที่กรุงกบิลพัสดุ์ ทรงแนะนาให้พระ
ญาติซึ่งกาลังจะทาสงครามกันได้เข้าใจในเหตุผล สามารถปรองดองกัน
ได้ เป็นต้น
• ๓. พุทธัตถจริยา ทรงทาหน้าที่ของพระพุทธเจ้า เช่น ทรงวาง
สิกขาบทเป็นพุทธอาณา สาหรับควบคุมความประพฤติของผู้ที่เข้ามา
บวชในพระพุทธศาสนา / ทรงแนะนาให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ปฏิบัติให้
ถูกต้องตามหน้าที่ของตน เป็นต้น
พระพุทธคุณ ๓
• ๑. พระปัญญาธิคุณ คือ ทรงมีสติปัญญาเฉียบแหลม รู้แจ้งสัจธรรมทั้ง
ปวง รู้เรื่องทุกข์และความดับทุกข์ ทรงประกอบไปด้วยทศพลญาณและ
ปฏิสัมภิทา
• ๒. พระบริสุทธิคุณ คือ ทรงเป็นผู้ที่มีความบริสุทธิ์หมดจด หลุดพ้น
จาก อาสวะกิเลสทั้งปวง ไม่กระทาความชั่วทางกาย วาจา และใจ
• ๓. พระมหากรุณาธิคุณ คือ ทรงมีความเมตตาและกรุณาต่อสรรพ
สัตว์ จึงเสด็จออกประกาศศาสนา เผยแผ่พระธรรมและโปรดสรรพสัตว์
เพื่อช่วยเหลือให้สรรพสัตว์หลุดพ้นจากความทุกข์ผ่านพระพุทธกิจที่ทรง
บาเพ็ญตลอด ๔๕ พรรษา
๒. แนวคิดเรื่องจิตอาสาในพระไตรปิฎก
• ๓. ลักษณะ และ วิธีการทางานจิตอาสา
• ผลการวิจัย >> การบาเพ็ญพระพุทธกิจเพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์ของ
พระพุทธเจ้า สามารถจัดแบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ได้แก่
• ๑) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านกายภาพ
• ๒) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านสังคม
• ๓) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านจิตใจ
• ๔) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านปัญญา
๑) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านกายภาพ
• การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือผู้ประสบความทุกข์ยาก
เดือดร้อนทางกายภาพ หรือทรงช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมให้ความเป็นอยู่
ทางกายภาพดีขึ้น เป็นกระบวนการสร้างเสริมศักยภาพของร่างกาย
และวัตถุให้พร้อมที่จะช่วยเหลือตนเองได้และสามารถมีชีวิตต่อไปได้
ด้วยตนเอง
๒) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านสังคม
• การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือทางด้านสังคม โดยการสอน
ธรรมหรือเปลี่ยนแปลงทิฏฐิให้คนในสังคมเกิดสัมมาทิฏฐิ ประพฤติกุศล
กรรม ซึ่งจะส่งผลให้สังคมมีความสงบสุขและเกิดการเปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขึ้น
• การที่พระพุทธองค์ทรงเสด็จดาเนินไปให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย
ด้วยพระองค์เอง เช่น ในกรณีของชาวเมืองเวสาลี
• การที่พระพุทธองค์ทรงเข้าไประงับความขัดแย้งในหมู่พระญาติ
๓) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านจิตใจ
• การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจ แก่ผู้ประสบ
ปัญหาหรือความทุกข์ โดยเน้นการเยียวยาจิตใจ เพื่อให้บุคคลเหล่านั้น
พ้นจากความทุกข์ ความโศกเศร้า และมีคุณธรรมในจิตใจที่พัฒนาขึ้น
จนกระทั่งเกิดดวงตาเห็นธรรม เป็นอริยบุคคล หรือแม้แต่เข้าถึงซึ่งความ
พ้นทุกข์ เป็นพระอรหันต์
๔) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านปัญญา
• การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือโดยเน้นการส่งเสริมหรือ
พัฒนาจิตใจให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นจนกระทั่งเกิดปัญญา รู้แจ้งสัจธรรม เป็น
พระอริยบุคคล พ้นจากกิเลสและความทุกข์ไปโดยลาดับ
ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสาจากพระพุทธจริยา
๔. สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสาตามหลักการทาง
พระพุทธศาสนา
• การทางานจิตอาสาก่อให้เกิดประโยชน์ทั้ง (อรรถะ ๓)
– ประโยชน์ตน (อัตตัตถะ)
– ประโยชน์ท่าน (ปรัตถะ)
– ประโยชน์ทั้ง ๒ ฝ่าย (อุภยัตถะ)
• และก่อให้เกิดประโยชน์ใน ๓ มิติ
– ประโยชน์ในปัจจุบัน หรือ ทิฏฐธัมมิกัตถะ
– ประโยชน์เบื้องหน้า หรือ สัมปรายิกัตถะ
– ประโยชน์อย่างยิ่ง หรือ ปรมัตถะ คือ การถึงวิมุตติ หลุดพ้น หรือ สิ้น
กิเลสได้
๕. การพัฒนาจิตอาสาตามหลักการ
ทางพระพุทธศาสนา
• การประยุกต์หลัก “ไตรสิกขา” หรือ การฝึกอบรมพัฒนาชีวิตทั้ง ๓ ด้าน คือ
อธิสีลสิกขา หรือ ศีล, อธิจิตตสิกขา หรือ สมาธิ และอธิปัญญาสิกขา หรือ
ปัญญา
• เป็นการขัดเกลากิเลส และความเห็นแก่ตัว / อบรมจิตใจเพื่อพัฒนา
คุณธรรมให้เจริญขึ้น เช่น ความเมตตา กรุณา เพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตที่มี
ความเสียสละ หรือมีจิตอาสา
• การสร้างแรงจูงใจที่เป็นฉันทะ ปัญญาและกรุณา ซึ่งทาได้โดยการฝึกให้
บุคคลมี “โยนิโสมนสิการ” นั่นคือ การพิจารณาให้เห็นคุณค่าหรือ
คุณประโยชน์ที่แท้จริงของการทางานจิตอาสา และการสัมผัสความทุกข์
ของผู้อื่น
๖. หลักพุทธธรรมที่สนับสนุน
แนวคิดเรื่องจิตอาสา
• ๑) หมวดที่ว่าด้วยการพัฒนาตนเองของผู้ที่ทางานจิตอาสา
–หลักอริยสัจ ๔ และไตรสิกขา, ศีล ๕ และ กุศลกรรมบถ ๑๐
๒) หมวดที่ว่าด้วยการช่วยเหลือหรือการสงเคราะห์ด้วย
จิตอาสา
- พรหมวิหาร ๔, สังคหวัตถุ ๔, เวยยาวัจจมัย
๓) หมวดที่ว่าด้วยหลักการทางานจิตอาสา
- สติปัฏฐาน ๔, สาราณียธรรม ๖, สัปปุริสธรรม ๗, อิทธิบาท ๔ และ
ขันติธรรม
๖. หลักพุทธธรรมที่สนับสนุน
แนวคิดเรื่องจิตอาสา
๔) หมวดที่ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้ที่ทางานจิตอาสา
- บารมี ๑๐, กัลยาณมิตรธรรม ๗, พรหมวิหาร ๔ และ สังคหวัตถุ ๔
>> ปัญญา และ กรุณา
• หลักพุทธธรรมดังกล่าวสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการทางาน จิต
อาสา รวมทั้งสามารถนามาแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการทางานจิต
อาสาได้ ทั้งอุปสรรคภายในที่เกิดจากตัวของผู้ที่ทางานจิตอาสาเอง และ
อุปสรรคภายนอกอันเกิดจากการทางานและสภาพแวดล้อม
สรุปหลักการของจิตอาสาแนวพุทธ
- การทางานจิตอาสา ควรเริ่มจากจิตใจที่ประกอบไปด้วยความ
เมตตา กรุณา ไม่นิ่งดูดายต่อปัญหาและความทุกข์ของผู้อื่น
- การให้ความช่วยเหลือ กระทาได้ ๒ ประการโดยสรุป คือ สงเคราะห์
ในระดับโลกียสุข / สงเคราะห์ในระดับโลกุตตรสุข
- การสงเคราะห์ระดับโลกุตตรสุข โดยการให้ธรรมทาน เพื่อช่วยให้
ผู้อื่นหลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์โดยสิ้นเชิงเป็นเอกลักษณ์ของ
แนวคิดจิตอาสาในพระพุทธศาสนา ที่แตกต่างจากแนวคิดจิตอาสา
ทั่วไป ที่มุ่งให้ความช่วยเหลือในระดับโลกียะเท่านั้น
-การทางานจิตอาสา ควรเริ่มจากจิตใจที่ประกอบไปด้วยความ
เมตตา กรุณา ไม่นิ่งดูดายต่อปัญหาและความทุกข์ของผู้อื่น
-การให้ความช่วยเหลือ กระทาได้ ๒ ประการโดยสรุป คือ
สงเคราะห์ในระดับโลกียสุข / สงเคราะห์ในระดับโลกุตตรสุข
*** การสงเคราะห์ระดับโลกุตตรสุข โดยการให้ธรรมทาน
เพื่อช่วยให้ผู้อื่นหลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์โดย
สิ้นเชิงเป็นเอกลักษณ์ของแนวคิดจิตอาสาใน
พระพุทธศาสนา ที่แตกต่างจากแนวคิดจิตอาสาทั่วไป
ที่มุ่งให้ความช่วยเหลือในระดับโลกียะเท่านั้น
วัตถุประสงค์ข้อที่ ๓
• เพื่อศึกษาแนวคิด และการถอดบทเรียนในการทางานจิตอาสา
ของตัวอย่างอาสาสมัครและองค์กรที่ทางานด้านจิตอาสาใน
ประเทศไทย
• ๑) ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้าท่วมของมูลนิธิชัยพัฒนา ร.ร.
จิตลดา และ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
• ๒) โครงการพลังอาสาสมัครสร้างสุขให้เด็กในสถานสงเคราะห์
มูลนิธิสุขภาพไทย
• ๓) ครูข้างถนนดีเด่น ๒๕๕๔– ครูนาง น.ส. นริศราภรณ์ อสิพงษ์
• ทาการศึกษาข้อมูลภาคสนาม
• เก็บข้อมูลจากการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participate Observer)และ
การลงพื้นที่ภาคสนาม (On-site Survey)ในโครงการจิตอาสาที่
ทาการศึกษา โดยผู้วิจัยได้เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในโครงการดังกล่าว
• ทาการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ตัวอย่างอาสาสมัคร
รวมทั้งผู้บริหารหรือผู้ดูแลอาสาสมัครในโครงการหรือองค์กรที่ทางานด้าน
จิตอาสาในประเทศไทยที่เลือกศึกษา / เลือกตัวอย่างแบบ ยึด
จุดมุ่งหมายของการศึกษาเป็นหลัก (Key informant)
• แนวทางการศึกษาข้อมูลจากการสัมภาษณ์อาสาสมัคร ใช้หลักการแบบ
ปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology) ให้บุคคลอธิบายเรื่องราว
ความรู้สึกและประสบการณ์ที่ตนประสบมา
• ในประเด็นต่อไปนี้
• ๑) ภูมิหลังของอาสาสมัคร
• ๒) แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา
• ๓) ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสา
• ๔) ปัญหาและอุปสรรคในการทางานจิตอาสา
• ๕) สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสา
• ๖) ความคิดเห็นเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะ
• ความหมายและแนวคิดเรื่องจิตอาสาจากการถอดประสบการณ์ของ
ตัวอย่างอาสาสมัครขององค์กรที่ทางานด้านจิตอาสาในประเทศไทย ๓
องค์กรที่เป็นกรณีศึกษา
• พบว่าจิตอาสา หมายถึง การมีความปรารถนาดีและปรารถนาช่วยเหลือ
ผู้อื่น หรือการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น หรือ ผู้ที่มีความทุกข์หรือปัญหา
รวมไปถึง การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ด้วยความเสียสละจากจิตใจที่
บริสุทธิ์ และความสมัครใจโดยไม่หวังสิ่งใดตอบแทน
• วิธีการและหลักการในการทางานจิตอาสาจะมีความหลากหลาย โดย
ยึดถือประโยชน์และความสุขของผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือเป็นหลัก
ภาพบรรยากาศการทางานของอาสาสมัคร ศูนย์ช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยน้าท่วม มูลนิธิชัยพัฒนา โรงเรียนจิตลดา และ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ภาพบรรยากาศการทางานของอาสาสมัคร โครงการพลังอาสาสมัคร
สร้างสุขให้เด็กในสถานสงเคราะห์
ภาพบรรยากาศการทางานของครูข้างถนน – ครูนาง
นางสาวนริศราภรณ์ อสิพงษ์
วัตถุประสงค์ข้อที่ ๔
• เพื่อบูรณาการ แนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาตามหลักการทาง
พระพุทธศาสนากับ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสาในบริบท
ของสังคมปัจจุบัน รวมทั้งแนวคิดและการถอดบทเรียนในการ
ทางานจิตอาสาของตัวอย่างอาสาสมัครและองค์กรที่ทางานด้าน
จิตอาสาในประเทศไทย เพื่อประยุกต์ใช้ในการทางานจิตอาสา
• ขั้นประมวลผล เรียบเรียง วิเคราะห์ สรุป และเสนอแนะ
• นาทั้ง ๓ แนวคิด มาเทียบเคียง วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย และนามา
บูรณาการเข้าด้วยกัน
• เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ คือ “จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ”
• เพื่อประยุกต์ใช้ในการทางานจิตอาสา
สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ
• ๑. ความหมาย
• “จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ” หมายถึง จิตใจที่มีความเสียสละ อัน
ประกอบไปด้วยความเมตตาและกรุณา คือ มีความปรารถนาดี และ
ปรารถนาที่จะช่วยเหลือผู้อื่นหรือชีวิตอื่น ให้พ้นจากความทุกข์และความ
เดือดร้อน
• เป็นจิตที่ไม่นิ่งดูดาย เมื่อพบปัญหาและความทุกข์เกิดขึ้นกับผู้อื่นและสังคม
และพร้อมที่จะเสียสละกาลังกาย ใจ เวลา สติปัญญา หรือทรัพย์สิน เพื่อ
ช่วยเหลือผู้อื่นและเพื่อสาธารณประโยชน์ รวมไปถึงการทาความดีเพื่อสังคม
และสิ่งแวดล้อม ตามกาลังที่ตนจะกระทาได้ ด้วยความบริสุทธิ์ใจและสมัคร
ใจ โดยไม่หวังสิ่งใดตอบแทนเพื่อตน
สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ
• ๒. แรงจูงใจ และการสร้างแรงจูงใจในการทางานจิตอาสา
• ให้ความสาคัญแก่แรงจูงใจทั้งภายในและภายนอกควบคู่กัน
• แรงจูงใจภายใน ให้ความสาคัญในการสร้างเสริมคุณธรรมใน
จิตใจที่เป็นแรงผลักดันให้บุคคลเกิดความเห็นใจในความทุกข์ของผู้อื่น
เกิดความเสียสละและปรารถนาจะช่วยเหลือผู้อื่น ได้แก่ ฉันทะ,
ปัญญา, เมตตา และกรุณา + พิจารณาให้เห็นถึงประโยชน์อันเกิด
จากการทางานจิตอาสาที่จะเป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
• ๒. แรงจูงใจ และการสร้างแรงจูงใจในการทางานจิตอาสา (ต่อ)
• แรงจูงใจภายนอก เอื้อหรือสนับสนุนต่อการพัฒนาแรงจูงใจ
ภายใน ได้แก่ การส่งเสริมการมีจิตอาสาผ่านครอบครัว,
สถาบันการศึกษา, ศาสนา, สังคม, สื่อมวลชน เป็นต้น โดยการปลูกฝัง
อบรมสั่งสอน การเป็นต้นแบบที่ดี หรือ การสร้างบรรยากาศ หรือ
ค่านิยมในสังคมที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของการมีจิตอาสา
• คุณธรรมภายในที่มั่นคง + แรงจูงใจภายนอกอย่างรอบด้าน
= พฤติกรรมจิตอาสาอย่างยั่งยืน
สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ
• ๓. ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสา
• ๓.๑) หลักคิด
• เน้นสร้างความเข้าใจหรือสร้างคุณสมบัติภายในจิตใจให้เตรียมพร้อม
สาหรับการทางานที่ต้องเสียสละเพื่อผู้อื่นโดยอาศัยการประยุกต์
หลักการทางพระพุทธศาสนา พระพุทธคุณ พระพุทธจริยา และ
พุทธธรรม ควบคู่ไปกับการสร้างการเตรียมความพร้อมภายนอกใน
การลงภาคสนามของการทางานจิตอาสา ทั้งทางร่างกาย, จิตใจ,
ความคิด, ทักษะ ความรู้ และอุปกรณ์ต่างๆ
• ๓. ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสา
• ๓.๒) วิธีการ
• ให้ความช่วยเหลือผ่านการทางานจิตอาสาทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย,
ด้านจิตใจ, ด้านปัญญา และด้านสังคมแบบบูรณาการ
• ให้ความสนับสนุนและช่วยเหลือทั้งอามิสทาน หรือวัตถุ สิ่งของ หรือค่าใช่
จ่ายและเน้นการให้ธรรมทาน คือ วิชา ความรู้ ข้อคิด โดยเฉพาะความรู้
ทางธรรมะ หรือการรู้และเข้าใจในสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริงเพื่อเป็น
การให้ปัญญาในการแก้ปัญหาความทุกข์
• มีการประยุกต์หลักการการจัดการแบบสมัยใหม่เพื่อการบริหาร จัดการ
งานจิตอาสา เพื่อให้อาสาสมัครสามารถทางานได้อย่างราบรื่นและมี
ประสิทธิภาพ
• ๓. ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสา
• ๓.๓) ผลที่มุ่งหวัง
• ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อบุคคลผู้ที่ทางานจิตอาสา, ประโยชน์ต่อผู้ที่ได้รับ
ความช่วยเหลือ และประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม
• ให้บรรลุถึงประโยชน์ทั้งในแง่ของการใช้ชีวิตประจาวันโดยทั่วไป และบรรลุถึง
ประโยชน์ในด้านคุณค่าทางจิตใจ ซึ่งเป็นประโยชน์ใน ระดับโลกียสุข
• ทั้งผู้ที่ทางานจิตอาสา และผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือยังสามารถพัฒนาตนเอง
ไปถึงประโยชน์ในขั้นสูงสุด คือ การพัฒนา ฝึกฝน ขัดเกลาตนเองจนกระทั่ง
เกิดปัญญา หลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์ไปได้โดยลาดับ หรือ เข้าถึง
โลกุตตรสุข
สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ
• ๔. แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการทางานจิตอาสา
• นาเอา หลักพุทธธรรม มาประยุกต์ ควบคู่กับแนวทางการแก้ปัญหาใน
บริบทของสังคมปัจจุบัน เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทั้ง
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากภายในตัวของอาสาสมัครเอง คือจาก
จิตใจและพฤติกรรมของอาสาสมัคร และ ปัญหาและอุปสรรคจาก
ภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล หรือปัจจัย หรือเหตุการณ์แวดล้อม
• ในการแก้ไขปัญหาจะเน้นให้ความสาคัญกับการแก้ไขหรือพัฒนาที่
จิตใจของอาสาสมัครก่อนเป็นสาคัญ
สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ
• ๕. สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสา
• การทางานจิตอาสาก่อให้เกิด
• ๑) ประโยชน์ต่อตัวของอาสาสมัครเอง (ประโยชน์ตน – อัตตัตถะ) ได้
พัฒนาจิตใจ ขัดเกลากิเลส มีความสุข ความภูมิใจในตนเอง
• ๒) เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่อาสาสมัครให้ความช่วยเหลือ (ประโยชน์ท่าน –
ปรัตถะ)
• ๓) เป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม (ประโยชน์ทั้ง ๒ ฝ่าย – อุภยัตถะ)
ก่อให้เกิดสังคมที่น่าอยู่และอบอุ่น มีความสงบสุขตามสมควร
• ๕. สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสา
• ในการทางานจิตอาสา ก็ควรเป็นไปเพื่อจุดมุ่งหมายที่ดีงามตามหลัก
ประโยชน์ ๓ ประการ คือ
• ประโยชน์ในปัจจุบัน หรือ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์
• ประโยชน์เบื้องหน้า หรือ สัมปรา-ยิกัตถประโยชน์
• ประโยชน์อย่างยิ่ง หรือ ปรมัตถประโยชน์
สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ
• ๖. แนวทางการพัฒนาจิตอาสา
• การสร้างสานึกที่ดีต่อสังคม ต้องอาศัยการส่งเสริมทั้ง ปัจจัยภายใน
หรือแรงจูงใจภายใน เพื่อให้เกิดสานึกที่ดีด้วยตนเอง เช่น
• การพัฒนาตนเองตามหลักไตรสิกขา
• การสร้างฉันทะ หรือ ความรัก ความสนใจในงานจิตอาสา อัน
เนื่องมาจากการเห็นคุณค่าของงานจิตอาสานั้น
• การสร้างแรงจูงใจที่ประกอบไปด้วยปัญญาและกรุณา เป็นต้น
• ๖. แนวทางการพัฒนาจิตอาสา
• การสร้างแรงจูงใจภายนอก
• จากครอบครัว ญาติ เพื่อน ครู สื่อมวลชน คนในสังคม รวมไปถึงสถาบันทาง
สังคม และกลุ่ม องค์กรต่างๆ ที่เป็นแบบอย่างที่ดีและให้การสั่งสอน อบรม
ปลูกฝังส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการสร้างกิจกรรมหรือโครงการที่จะนาไปสู่
การสร้างจิตสานึกที่ดี หรือการมีพฤติกรรมจิตอาสา และ
• เมื่อบุคคลได้มีโอกาสทางานจิตอาสา+ ได้สัมผัสถึงคุณค่าของการมี จิต
อาสา รวมทั้งได้รับความสุข ความภาคภูมิใจจากการปฏิบัติงานจิตอาสา ก็
จะเกิดแรงบันดาลใจในการหาโอกาสช่วยเหลือผู้อื่นและสร้างประโยชน์ต่อไป
ได้
การประยุกต์ใช้หลักการทางานจิตอาสาแนวพุทธ
เชิงบูรณาการ
• บุคคล หรือกลุ่มองค์กรที่ทางานด้านจิตอาสา สามารถนาเอารูปแบบ หรือ Model
มาต่อยอดหรือปรับประยุกต์ใช้ในการทางานจิตอาสาให้เหมาะสมกับลักษณะงาน
หรือกลุ่ม องค์กรของตนได้
• โดยสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการทางานจิตอาสาได้อย่างหลากหลายตาม
ความเหมาะสมของแต่ละประเภทงาน และยังสามารถนามาประยุกต์เพื่อสร้าง
เสริมหรือพัฒนาจิตอาสาให้แก่คนในสังคมหรือในองค์กร และสามารถนามาแก้ไข
ปัญหาและอุปสรรคของการทางานจิตอาสาที่เกิดขึ้นได้
• เพื่อเป็นการวางรากฐานและสร้างสรรค์การดาเนินชีวิตที่ดีงามและมีความสุขในตัว
บุคคล และมีส่วนในการจรรโลงสังคมให้เป็นสังคมแห่งน้าใจและความเอื้อเฟื้อ มี
ความสงบสุขและสันติที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
๕. การประยุกต์แนวคิดเรื่องจิตอาสาในพระไตรปิฎก
กับการทางานจิตอาสาในปัจจุบัน
• แบ่งเป็น “หลักคิด” / “วิธีการ” / “ผลที่มุ่งหวัง”
• ๕.๑ หลักคิด
– ประยุกต์หลัก “พระพุทธคุณ ๓” >> พัฒนา ปัญญา / ความ
บริสุทธิ์ใจ / ความกรุณา ให้เกิดมีขึ้นในตน เป็นคุณสมบัติสาคัญ
– ประยุกต์หลัก “พระพุทธจริยา ๓” >> ทาหน้าที่อย่างสมดุล
ระหว่าง การทางานจิตอาสา / การดูแลครอบครัว ญาติมิตร / การ
รับผิดชอบอาชีพ การงานของตน
แบ่งเป็น “หลักคิด” / “วิธีการ” / “ผลที่มุ่งหวัง”
๕.๑ หลักคิด
ประยุกต์หลัก “พระพุทธคุณ ๓” >> พัฒนา ปัญญา / ความบริสุทธิ์ใจ /
ความกรุณา ให้เกิดมีขึ้นในตน เป็นคุณสมบัติสาคัญ
ประยุกต์หลัก “พระพุทธจริยา ๓” >> ทาหน้าที่อย่างสมดุล ระหว่าง การ
ทางานจิตอาสา / การดูแลครอบครัว ญาติมิตร / การรับผิดชอบอาชีพ การ
งานของตน
• ๕.๑ หลักคิด (ต่อ)
– ควรสร้าง “ฉันทะ” หรือ (การรักในงานอันเกิดจากการเห็นคุณค่า
ของงาน) ให้เกิดขึ้นในการทางานจิตอาสา
–ควรทาการพัฒนา ฝึกฝน และขัดเกลาตนเองไปพร้อมกับการ
ช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม >> การทางาน คือ การปฏิบัติธรรม >>
ตามหลัก “อรรถะ ๓” (ประโยชน์ตน,ประโยชน์ผู้อื่น,ประโยชน์ทั้ง ๒
ฝ่าย)
–ควรมีคุณธรรม หรือ ประยุกต์หลักพุทธธรรมในการทางาน จิต
อาสาทั้ง ๔ หมวด
–ประยุกต์หลักการทางานจากพระพุทธดารัสเมื่อครั้งส่งพระสาวก
ออกประกาศพระศาสนา
๕.๑ หลักคิด (ต่อ)
- ควรสร้าง “ฉันทะ” หรือ (การรักในงานอันเกิดจากการเห็นคุณค่าของ
งาน) ให้เกิดขึ้นในการทางานจิตอาสา
- ควรทาการพัฒนา ฝึกฝน และขัดเกลาตนเองไปพร้อมกับการช่วยเหลือ
ผู้อื่นและสังคม >> การทางาน คือ การปฏิบัติธรรม >> ตามหลัก
“อรรถะ ๓” (ประโยชน์ตน,ประโยชน์ผู้อื่น,ประโยชน์ทั้ง ๒ ฝ่าย)
- ควรมีคุณธรรม หรือ ประยุกต์หลักพุทธธรรมในการทางานจิตอาสาทั้ง
๔ หมวด
- ประยุกต์หลักการทางานจากพระพุทธดารัสเมื่อครั้งส่งพระสาวกออก
ประกาศพระศาสนา
• “ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วง (โลภะ) ทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่
เป็นของมนุษย์ แม้พวกเราก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่
เป็นของมนุษย์
• ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไปเพื่อประโยชน์สุขแก่ชนจานวนมาก เพื่อ
อนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์
• อย่าไปโดยทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความ
งามในท่ามกลาง และมีความงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้ง
อรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน
• สัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีในดวงตาน้อย มีอยู่ ย่อมเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม จักมี
ผู้รู้ธรรม
• ภิกษุทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม”
๕.๒ วิธีการ
• ๑) ช่วยใคร
๑.๑) การช่วยแบบเจาะจง / กรณีพิเศษ ที่เห็นสมควรช่วยเหลือ
– ผู้ที่ประสบความทุกข์ หรือ ปัญหาชีวิตในด้านต่างๆ
–ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือ ร้องขอความช่วยเหลือ
–ผู้ที่กาลังเดือดร้อน หรือ ประสบความหายนะ หรือ จะเสียประโยชน์
อันพึงได้ (เช่น การตรัสรู้ธรรม) ถ้า พระพุทธเจ้าไม่เสด็จไปโปรด
–ผู้ที่มีอุปนิสัย หรือ โอกาสที่จะบรรลุธรรม
๑) ช่วยใคร
๑.๑) การช่วยแบบเจาะจง / กรณีพิเศษ ที่เห็นสมควรช่วยเหลือ
ผู้ที่ประสบความทุกข์ หรือ ปัญหาชีวิตในด้านต่างๆ
ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือ ร้องขอความช่วยเหลือ
ผู้ที่กาลังเดือดร้อน หรือ ประสบความหายนะ หรือ จะเสียประโยชน์
อันพึงได้ (เช่น การตรัสรู้ธรรม) ถ้า พระพุทธเจ้าไม่เสด็จไปโปรด
ผู้ที่มีอุปนิสัย หรือ โอกาสที่จะบรรลุธรรม
๕.๒ วิธีการ
• ๑) ช่วยใคร (ต่อ)
๑.๑) การช่วยแบบไม่เจาะจง >> พระพุทธกิจ
- ทรงช่วยเหลือสรรพสัตว์อย่างไม่จากัด ผ่านการแสดงพระธรรม
เทศนา เพื่อประโยชน์และความสุขแก่สรรพสัตว์ทั้งหลายอย่าง
ต่อเนื่องตลอดระยะเวลา ๔๕ พรรษา
- ทรงประทานสติปัญญา และโอกาสในการตรัสรู้ธรรม รวมทั้ง การ
หลุดพ้นจากความทุกข์ในสังสารวัฏแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย
๑) ช่วยใคร (ต่อ)
๑.๑) การช่วยแบบไม่เจาะจง >> พระพุทธกิจ
-ทรงช่วยเหลือสรรพสัตว์อย่างไม่จากัด ผ่านการแสดงพระธรรมเทศนา
เพื่อประโยชน์และความสุขแก่สรรพสัตว์ทั้งหลายอย่างต่อเนื่องตลอด
ระยะเวลา ๔๕ พรรษา
-ทรงประทานสติปัญญา และโอกาสในการตรัสรู้ธรรม รวมทั้ง การหลุด
พ้นจากความทุกข์ในสังสารวัฏแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย
๕.๒ วิธีการ
• ๒) ช่วยอย่างไร
๑. พระพุทธองค์ทรงพิจารณาและเล็งเห็นปัญหาและความทุกข์
รวมทั้ง อุปนิสัยในการบรรลุมรรคผลของบุคคลนั้น จึงเสด็จไป
ช่วยเหลือด้วยพระองค์เอง (มิได้มีการทูลขอ)
๒. พระพุทธองค์ได้รับการกราบทูลขอความช่วยเหลือ จากบุคคล
ผู้ประสบปัญหาและต้องการความช่วยเหลือ จึงทรงประทาน
ความช่วยเหลือ
๒) ช่วยอย่างไร (ต่อ)
๑. พระพุทธเจ้าทรงลงมือช่วยเหลือ หรือ สงเคราะห์สรรพสัตว์ด้วย
พระองค์เอง
๒. พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พระสาวก หรือ พุทธบริษัทมีจิตใจที่มี
ความเมตตา กรุณา เสียสละ ละคลายความเห็นแก่ประโยชน์ส่วน
ตน เพื่อกระทาประโยชน์ หรือ ช่วยเหลือผู้อื่นอย่างไร้เงื่อนไข
๓. พระพุทธเจ้าทรงส่งพระสาวกออกไปประกาศพระศาสนา หรือ เผย
แผ่พระธรรม เพื่อเป็นการช่วยเหลือ สงเคราะห์ด้วยการให้ธรรม
ทาน
๒) ช่วยอย่างไร (ต่อ)
ลักษณะของการให้ความช่วยเหลือ หรือ สงเคราะห์สรรพสัตว์
ของพระพุทธเจ้า
ก. ด้านกายภาพ
ข. ด้านสังคม
ค. ด้านจิตใจ
ง. ด้านปัญญา
** สรุป
(๑) ช่วยเหลือ หรือ สงเคราะห์ระดับ “โลกียสุข”
(๒) ช่วยเหลือ หรือ สงเคราะห์ระดับ “โลกุตตรสุข”
๕.๓ ผลที่มุ่งหวัง
• มุ่งหวังประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือ
อย่างแท้จริง
- ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ >>ความสุขกาย สบายใจ ไม่เดือดร้อน
- สัมปรายิกัตถประโยชน์ >> สุข สงบในจิตใจ มีคุณธรรมและ
สภาวะจิตใจที่เจริญงอกงามขึ้น
- ปรมัตถประโยชน์ >> รู้แจ้งสัจธรรม มีสติ ปัญญาที่พัฒนา จิตใจ
เป็นอิสระ ผ่องใส เบิกบาน ปราศจากกิเลส และความทุกข์ >> บรรลุ
มรรค ผล นิพพาน
๕.๓ ผลที่มุ่งหวัง (ต่อ)
• พระพุทธเจ้าทรงให้ความสงเคราะห์ หรือ ช่วยเหลือให้ผู้ที่ได้รับ
ความช่วยเหลือ ประสบความสุขทั้งในระดับ “โลกียสุข” และ
“โลกุตตรสุข”
– ๑) โลกียสุข (ความสุขในทางโลก) >> สุขกาย สบายใจ พ้นจาก
ปัญหา หรือ ความลาบากเดือดร้อน
– ๒) โลกุตตรสุข (ความสุขเหนือโลก) >> การบรรลุ มรรค ผล
นิพพาน หรือ เป็นพระอริยบุคคล *** เป็นอุดมคติสูงสุดใน
พระพุทธศาสนา
เอกสารอ้างอิง
• สรณีย์ สายศร. “การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาใน
การทางานจิตอาสา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๕๖.
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวkai kk
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 

Tendances (20)

กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
A msci60 key
A msci60 keyA msci60 key
A msci60 key
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนว
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 

En vedette

ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายPadvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโลPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงานยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงานPadvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษPadvee Academy
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)Padvee Academy
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะPadvee Academy
 
พุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีพุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีPadvee Academy
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) Padvee Academy
 

En vedette (20)

ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงานยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
 
พุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีพุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธี
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 

Similaire à การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา

จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5Moo Ect
 
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่โรงพยาบาลสารภี
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมnorrasweb
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดkeanwoo
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษาsaengpet
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
เล่มที่ 5
เล่มที่ 5เล่มที่ 5
เล่มที่ 5disk1412
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 

Similaire à การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
ตามรอยยุคลบาท
ตามรอยยุคลบาทตามรอยยุคลบาท
ตามรอยยุคลบาท
 
Volunteer.spirit.MU2011
Volunteer.spirit.MU2011Volunteer.spirit.MU2011
Volunteer.spirit.MU2011
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5
 
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
 
Shared magazine 3
Shared magazine 3Shared magazine 3
Shared magazine 3
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรม
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาด
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เล่มที่ 5
เล่มที่ 5เล่มที่ 5
เล่มที่ 5
 
The good buddhist
The good buddhistThe good buddhist
The good buddhist
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา

  • 2.
  • 3.
  • 4. • คนทุกคนมีเมล็ดพันธ์แห่งความดี อยู่ในหัวใจ ถ้าหากรดน้า พรวนดิน ให้เหมาะสม ก็จะงอกงามเติบโต ออกไปได้ เป็นพลังแห่งความ กรุณาปรานีที่หลั่งไหลออกมา... การเป็นอาสาสมัครเพื่อเพื่อน มนุษย์ คือรูปธรรมของความ เมตตา กรุณา เป็นการเชื่อมต่อ ความเป็นมนุษย์เข้าด้วยกัน และทาเกิดสิ่งดีงามขึ้นมากมาย
  • 5. • การเป็นอาสาสมัคร จึงเป็นการพาตนมาเดินอยู่ บนเส้นทางแห่งการพัฒนาตนควบคู่ไปกับการ ช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น ....การเป็นอาสาสมัครจึง ไม่ควรจากัดอยู่ที่ช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต แต่เป็น งานที่ทุกคนควรทาจนกว่าจะหมดลมหายใจ เนื้อแท้ของการเป็นอาสาสมัครนั้นอยู่ที่ จิตใจ คือมี “จิตอาสา” ที่จะช่วยเหลือผู้อื่น หรือนึกถึงส่วนรวม เราจาต้องตระหนักอยู่ เสมอว่า “อาสาสมัคร” นั้นไม่ใช่เป็นอาชีพ หากคือสานึกที่สมควรมีอยู่คู่กับความเป็น มนุษย์ของเราจนกว่าชีวิตจะหาไม่
  • 6. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา • กระแสของการให้ หรือ การทาความดีเพื่อสังคมด้วยการเป็น อาสาสมัคร/การทางานจิตอาสา เป็นปรากฏการณ์ระดับสากลที่เกิดขึ้น ทั่วโลก • คลื่นพลังแห่งความเสียสละ ด้วยมนุษยธรรมในการช่วยเหลือเพื่อน มนุษย์/สรรพสัตว์/ธรรมชาติ ให้พ้นจากปัญหาและความทุกข์ที่ต้อง ประสบ พบเจอ • ภัยพิบัติ/ สงครามและความขัดแย้ง/ ปัญหาความยากจน/ ปัญหา สิ่งแวดล้อม/ ปัญหาสังคม/
  • 7. ความเป็นมา และความสาคัญของปัญหา • UNV – United Nation Volunteer • EDV – European Disaster Volunteer • Volunteer Center in Canada • VOSESA – Volunteer and Service Enquiry Southern Africa • Volunteering Australia • Tzu Chi Foundation • เครือข่ายจิตอาสา, เครือข่ายพุทธิกา, มูลนิธิกระจกเงา, มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อ สังคม, สานักบัณฑิตอาสาสมัคร ธรรมศาสตร์, มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง ฯลฯ
  • 8.
  • 9. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา • ประเทศไทย>>> กระแสของ “จิตอาสา” ปรากฏอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อ ครั้งเกิดเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิ เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ มีผู้เสียชีวิตหลายพันคน >> เกิดการรวมน้าใจ+ให้ความช่วยเหลือ+เป็น อาสาสมัคร นับหมื่นคน และ เกิดเป็นกลุ่มคนจิตอาสา ขยายเครือข่าย และทางานเพื่อช่วยเหลือสังคมต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน • เช่น เหตุการณ์มหาอุทกภัย กรกฎาคม – พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
  • 10. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา • ในวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรีมีมติให้ “การให้ และการอาสาช่วยเหลือสังคม” เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อ ส่งเสริมและผลักดันความดีที่เป็นรูปธรรมให้เกิดขึ้นเต็มแผ่นดิน โดยทุกภาคส่วนร่วมกัน ทั้งภาครัฐ ภาคสังคม และภาคธุรกิจ • สอดคล้องกับกระแสที่เรียกว่า CSR: Coperate Social Responsibility หรือ “ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ ระดับนานาชาติ”
  • 11. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา • การทางานจิตอาสาจาเป็นต้องอาศัยคุณธรรมและวิธีการหลายๆ อย่าง เพื่อใช้ขับเคลื่อนงาน+เป็นแนวปฏิบัติ+หลักยึดเหนี่ยวทางใจ+แก้ไข ปัญหาและอุปสรรค+ส่งเสริมและพัฒนาจิตอาสา • หลักการทางพระพุทธศาสนาในพระไตรปิฎก มีแนวคิดหลาย ประการที่คล้ายคลึงกับแนวคิดจิตอาสา – พระพุทธจริยาของ พระพุทธเจ้า, พระสาวก >> ประกอบไปด้วยความเมตตา กรุณา เสียสละ >> ต้องการช่วยเหลือให้สรรพสัตว์พ้นจากความทุกข์ • พระพุทธเจ้าทรงส่งพระสาวกออกประกาศพระศาสนาเพื่อช่วยเหลือ สรรพสัตว์
  • 13.
  • 14. • “ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วง (โลภะ) ทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ แม้พวกเราก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่เป็นของ ทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไปเพื่อ ประโยชน์สุขแก่ชนจานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อ ประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ อย่าไปโดย ทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความงามใน ท่ามกลาง และมีความงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้ง อรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน สัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีใน ดวงตาน้อย มีอยู่ ย่อมเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม จักมีผู้รู้ธรรม ภิกษุ ทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม”
  • 15. • ผู้วิจัยมีความเห็นว่า >>> “หลักการในพระพุทธศาสนา” สามารถ นามาประยุกต์ใช้ในการทางานจิตอาสา และการพัฒนาจิตอาสาได้ • (พระพุทธเจ้า+พระสาวก เป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิตเพื่อเป็น ประโยชน์แก่ผู้อื่น // พระธรรม นามาพัฒนาจิตใจ ให้มีคุณธรรม สงบสุข มีปัญญาและกรุณาที่พัฒนาขึ้น + แก้ไข ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น) • บูรณาการ กับ “แนวคิดจิตอาสาในบริบทของสังคม ปัจจุบัน” (สะท้อนแนวคิด/ค่านิยม/ปัญหา/สถานการณ์/ความต้องการ ของคนในสังคมยุคปัจจุบัน) • บูรณาการ กับ “การถอดบทเรียนจากประสบการณ์ จริงในการทางานจิตอาสาของอาสาสมัครกรณีตัวอย่าง”
  • 16. • เพื่อเป็นการสังเคราะห์และเติมเต็มแนวคิดจิตอาสาให้ มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น + สามารถนามาประยุกต์เพื่อสร้าง เสริมจิตอาสาให้แก่คนในสังคม และ สามารถนามา แก้ปัญหาและอุปสรรคของการทางานจิตอาสาที่เกิดขึ้นใน สังคมปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 17. วัตถุประสงค์ของการวิจัย • ๑) เพื่อศึกษาแนวคิด และทฤษฎีจิตอาสาในบริบทของสังคมปัจจุบัน • ๒) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาตามหลักการทางพระพุทธศาสนา • ๓) เพื่อศึกษาแนวคิดและการถอดบทเรียนในการทางานจิตอาสาของ ตัวอย่างอาสาสมัครและองค์กรที่ทางานด้านจิตอาสาในประเทศไทย • ๔) เพื่อบูรณาการแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาตามหลักการทาง พระพุทธศาสนา กับ แนวคิด และทฤษฎีจิตอาสาในบริบทของสังคม ปัจจุบัน รวมทั้งแนวคิดและการถอดบทเรียนในการทางานจิตอาสาของ ตัวอย่างอาสาสมัครและองค์กรที่ทางานด้านจิตอาสาในประเทศไทย
  • 18. วัตถุประสงค์ข้อที่ ๑ • ศึกษาแนวคิด และทฤษฎีจิตอาสาในบริบทของสังคม ปัจจุบัน • ทาการศึกษาข้อมูลจากเอกสาร (Document Rearch) ขั้น ทุติยภูมิ เช่น หนังสือ สื่อ สิ่งพิมพ์ ที่เกี่ยวข้องกับจิตอาสา รวมทั้งข้อมูลจากเทป วิดีโอ หรือแผ่นบันทึกเสียง และ ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดจิตอาสา
  • 19. • ในประเด็นต่อไปนี้ - ประวัติ ความเป็นมาของแนวคิดและการทางานจิตอาสา - ความหมายของจิตอาสา - ความสาคัญของจิตอาสา - แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา - ลักษณะและหลักการทางานจิตอาสา - ปัญหาและอุปสรรคในการทางานจิตอาสา - ประโยชน์และคุณค่าของการทางานจิตอาสา - แนวทางการพัฒนาจิตอาสา
  • 20. สรุปผลการวิจัย ๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา ในบริบทของสังคมปัจจุบัน ๑. ความหมายของจิตอาสา (Volunteer Spirit) - การมีจิตอาสาที่อาสาช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ในรูปแบบ ต่างๆ โดยที่ไม่หวังสิ่งใดตอบแทน - เป็นจิตที่ไม่นิ่งเฉย เมื่อพบปัญหาและความทุกข์เกิดขึ้นกับผู้อื่นและ สังคม - เป็นจิตที่พร้อมจะเสียสละเวลา กาลังทางกาย จิตใจ ทรัพย์สินหรือ สติปัญญา เพื่อก่อให้เกิดสิ่งที่ดีแก่ผู้อื่นและเพื่อสาธารณประโยชน์ รวมไปถึง การทาความดีเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
  • 21. ๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา ในบริบทของสังคมปัจจุบัน • ๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา • บุคคลมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ (Altruism) เห็นประโยชน์แก่ผู้อื่นเป็นที่ตั้ง • มีพฤติกรรมเพื่อสังคม (Prosocial Behavior) คือ การกระทาที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้อื่น ต่อสังคมด้วยความสมัครใจและเสียสละ • ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning View of Motivation) • ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory)
  • 22. • ๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา (ต่อ) • ผลการวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งเสริมการเป็นอาสาสมัครของวัยรุ่นอเมริกัน – ปัจจัย หรือแรงจูงใจภายนอก >> อิทธิพล หรือ การสนับสนุนของครอบครัว / ประสบการณ์ในการช่วยเหลือสังคม / ได้รับการชักชวน / เคยเรียนวิชา เกี่ยวกับการบริการชุมชน / การเข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนาที่เชื่อมโยงกับ การเป็นอาสาสมัคร / เชื่อว่าปัญหาสังคมแก้ไขได้ด้วยงานอาสาสมัคร – ปัจจัย หรือ แรงจูงใจภายใน >> สงสาร เห็นใจผู้ตกทุกข์ได้ยาก / มี ความคิดว่าการเป็นอาสาสมัครเป็นสิ่งสาคัญสาหรับตน / เชื่อว่าเมื่อช่วย ผู้อื่น ผู้อื่นก็จะช่วยเหลือตน / สังคมจะดีขึ้นถ้าผู้คนใส่ใจกัน / รู้สึกดีขึ้นเมื่อ ให้ความใส่ใจผู้อื่น
  • 23. ๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา ในบริบทของสังคมปัจจุบัน • ๓. ลักษณะของการทางานจิตอาสา • - เป็นงานที่ทาเพื่อช่วยเหลือหรือเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นหรือส่วนรวม อัน เกิดจากการเสียสละโดยสมัครใจของอาสาสมัครหรือผู้ที่มีจิตอาสา โดยไม่ หวังสิ่งตอบแทน • - ลักษณะของงานงานจิตอาสา >> มีอยู่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับบทบาท หน้าที่ที่ต้องการการช่วยเหลือจากอาสาสมัคร • - ด้านสังคมสงเคราะห์, ด้านการแก้ปัญหาสังคม, ด้านการพัฒนาสังคม , การช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย ฯลฯ >> การใช้ความคิด, การใช้ กาลังกายหรือแรงงาน และด้านกาลังทรัพย์
  • 24. ๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา ในบริบทของสังคมปัจจุบัน • ๔. หลักการทางาน • อาสาสมัครควรต้องมีจิตวิญญาณของอาสาสมัคร อันเกิดจากความ สานึกและความรับผิดชอบที่มีต่อผู้อื่นและสังคม • สมัครใจเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน สังคม และประเทศชาติ โดยไม่หวัง สิ่งตอบแทน • เป็นผู้มีอุดมการณ์โดยถือประโยชน์ส่วนรวมเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตัว ทางานด้วยความเสียสละ กระตือรือร้น เอื้ออาทร บริสุทธิ์ใจ มีศรัทธา มุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือหรือบาเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่น
  • 25. • ๔. หลักการทางาน (ต่อ) • ทางานด้วยปัญญา มีทักษะ ความรู้ที่จาเป็นต่อการทางานอาสา ทั้ง ความรู้ในหน้าที่และความรู้ทั่วไป • ประพฤติตนอยู่ในจริยธรรมอันดี เคารพกฎระเบียบของหน่วยงาน อาสาสมัครและของบ้านเมือง มีบุคลิก ลักษณะ การวางตนที่เหมาะสม • มีสุขภาพที่ดีทั้งทางร่างกายและจิตใจรวมทั้งมีคุณธรรมที่สาคัญ คือ พรหมวิหาร ๔, สังคหวัตถุ ๔ และ ความอดทนและตั้งใจจริง ฯลฯ
  • 26. ๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา ในบริบทของสังคมปัจจุบัน • ๕. ปัญหาและอุปสรรคของการทางานจิตอาสา • อาสาสมัครขาดความรับผิดชอบ / ขาดจิตสานึก / ขาดความมั่นใจ / ท้อแท้ ท้อถอย / ขาดความพร้อมทางเศรษฐกิจ (กรณีที่จาเป็น) / มีความเฉื่อยชาไม่ พัฒนาและปรับปรุงบทบาทของตนเอง / อาสาสมัครขาดความรู้ ความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ และแนวทางการปฏิบัติงานของตน ฯลฯ • งานอาสาสมัคร ขาดอุปกรณ์ในการทางาน / ขาดการประชาสัมพันธ์งาน /ขาด ความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐและไม่ให้ความสาคัญกับผู้ปฏิบัติงาน อาสาสมัคร / ประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจ และขาดความเชื่อมั่นในงาน อาสาสมัคร / ไม่มีกฎหมายคุ้มครองและสวัสดิการเพื่อเป็นขวัญและกาลังใจ / ไม่มี ศูนย์กลางในการประสานงานต่างๆ ของอาสาสมัคร เป็นต้น
  • 27. ๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา ในบริบทของสังคมปัจจุบัน • ๖. ประโยชน์และคุณค่าของการทางานจิตอาสา • - ประโยชน์ต่อตัวอาสาสมัคร –มีความสุข และภาคภูมิใจ / เกิดจิตสานึกต่อส่วนรวม / เกิดการ พัฒนาจิตใจและอารมณ์ / รู้สึกว่าชีวิตมีคุณค่า มีประโยชน์ / เกิด ความรู้สึกเชิงบวกต่อตนเอง / สร้างนิสัยที่อ่อนโยน นุ่มนวล ดีงาม ชอบช่วยเหลือ / เคารพผู้อื่น / เข้าใจผู้อื่น / ได้เรียนรู้ และเพิ่ม ศักยภาพ ความรู้ และทักษะต่างๆ / ได้รับประสบการณ์ใหม่ / ได้พบ เพื่อนใหม่ / ขยายโลกทัศน์ / พัฒนาความเป็นผู้นา ฯลฯ
  • 28. • ๖. ประโยชน์และคุณค่าของการทางานจิตอาสา • - ประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติ • ประเทศที่มีจานวนประชากรอาสาสมัครมาก แสดงให้เห็นว่า ประเทศชาติมีประชากรที่มีคุณภาพที่เข้าใจถึงปัญหาของประเทศชาติ และพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างจริงใจและจริงจัง >> ประชาสังคม (Civil Society) ที่ผู้คนให้ความสาคัญในเรื่องสิทธิและ หน้าที่ของการเป็นพลเมืองที่ดี • อาสาสมัครเป็นทรัพยากรที่สาคัญของประเทศชาติในการพัฒนาด้าน ต่างๆ ของสังคมโดยรวม ก่อให้เกิดบรรยากาศของความเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือและความมีน้าใจ ทาให้สังคมน่าอยู่และสงบสุขตามสมควร
  • 29. ๑. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสา ในบริบทของสังคมปัจจุบัน • ๗. การพัฒนาจิตอาสา • อาศัยองค์ความรู้และกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการปลูกฝังและ เสริมสร้าง บริหารจัดการ เพื่อพัฒนาจิตอาสาให้เกิดขึ้นแก่บุคคลทั่วไป เยาวชน และอาสาสมัคร • เช่น สถาบันการศึกษา หรือ องค์กร หรือสถาบันทางสังคมอื่นๆ ควรมี บทบาทสนับสนุนและสร้างบรรยากาศให้เยาวชน หรือประชาชน เกิดการ รวมตัวเพื่อทาประโยชน์แก่ส่วนรวม หรือมีการเปิดโอกาสให้ได้ทาความดี หรือทาประโยชน์แก่ผู้อื่นหรือสังคม ได้สัมผัสปัญหาและความทุกข์ เดือดร้อนของคนในสังคม เห็นความสาคัญของส่วนรวม เกิดความเห็นใจ เมตตา กรุณาและนาไปสู่การมีจิตอาสา
  • 30. วัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ • ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาตามหลักการทาง พระพุทธศาสนา • ทาการศึกษาข้อมูลจากเอกสารขั้นปฐมภูมิ คือ คัมภีร์ พระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาฯ และ จากเอกสารขั้น ทุติยภูมิ คือ คัมภีร์อรรถกถา ฉบับ มหามกุฏฯ และ หนังสือ สิ่งพิมพ์อื่นๆ ทางพระพุทธศาสนา
  • 31. • ในประเด็นต่อไปนี้ • - ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาที่ปรากฏใน พระไตรปิ ฎก • - แรงจูงใจในการทางานจิตอาสาจากพระพุทธจริยา • - ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสาจากพระพุทธจริยา • - สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสาตามหลักการทาง พระพุทธศาสนา • - การพัฒนาจิตอาสาตามหลักการทางพระพุทธศาสนา • - หลักพุทธธรรมที่สนับสนุนแนวคิดจิตอาสาและการประยุกต์ใช้
  • 33. สรุปผลการผลการวิจัย ๒. แนวคิดเรื่องจิตอาสาในพระไตรปิฎก • ๑. ความหมายและแนวคิดจิตอาสาในพระไตรปิฎก • - คาว่า จิตอาสา ไม่มีบัญญัติไว้ในพระไตรปิฎกโดยตรง • - แนวคิดเรื่องจิตอาสา ปรากฏอยู่ในคาสอนในพระพุทธศาสนา รวมไป ถึงพระพุทธพจน์และปรากฏผ่านพระพุทธจริยาและการบาเพ็ญ พระพุทธกิจของพระพุทธเจ้าตลอดระยะเวลา ๔๕ พรรษา รวมทั้ง อยู่ในพระจริยาของพระสาวกด้วย
  • 34. • “ตราบเท่าที่พระผู้มีพระภาคองค์นี้ ทรงปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่คน หมู่มาก เพื่อสุขแก่คนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เราไม่เคยเห็นพระ ศาสดาผู้ประกอบด้วยองค์คุณแม้เช่นนี้...ในอดีตกาลเลย ถึงในบัดนี้ เรา ก็ไม่เห็นใครอื่น นอกจากพระผู้มีพระภาค พระองค์นั้น” (ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๙๖-๒๙๙/๒๒๙-๒๓๓)
  • 35. • เมื่อตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรง ตัดสินพระทัยเผยแผ่พระธรรม ด้วยพระมหากรุณา เพื่อ อนุเคราะห์สรรพสัตว์ให้พ้นจาก ความทุกข์ แม้ว่าจะทรงรู้สึกว่า เป็นการยากลาบากเพียงใดก็ ตาม • ทรงส่งพระสาวกออกประกาศ พระศาสนาเพื่อช่วยเหลือสรรพ สัตว์
  • 36. • “ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วง (โลภะ) ทั้งปวง ทั้งที่เป็น ของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ แม้พวกเราก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่ เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไป เพื่อประโยชน์สุขแก่ชนจานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อ ประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ อย่าไปโดย ทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความงามใน ท่ามกลาง และมีความงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้ง อรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน สัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีใน ดวงตาน้อย มีอยู่ ย่อมเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม จักมีผู้รู้ธรรม ภิกษุ ทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม”
  • 37.
  • 38. • ๑. ความหมายและแนวคิดจิตอาสาในพระไตรปิฎก (ต่อ) • ความหมายของ “จิตอาสา” ตามหลักการทางพระพุทธศาสนา >> การอาสาเข้าไปช่วยเหลือผู้อื่นด้วยจิตใจที่มีธรรมะ คือ ความ เมตตา และกรุณา โดยไม่หวังผลตอบแทน >> การมีจิตที่ประกอบไปด้วยความเมตตา และกรุณา และ ปรารถนาจะช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความบริสุทธิ์ใจ และเสียสละโดย ไม่หวังผลตอบแทนแก่ตน - จิตอาสาในมิติของ “การให้” , “การเสียสละ” สอดคล้องกับ คาสอน เรื่อง “ทาน” / “เวยยาวจมัย” เป็นข้อธรรมใน “บุญกิริยาวัตถุ ๑๐”
  • 39. ๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา จากพระพุทธจริยา • วิเคราะห์ตามแนวของพระพุทธประวัติแนวจารีต >> มาจากแรงจูงใจ อันเกิดจากการตั้งปณิธาน หรือ การตั้งความปรารถนาที่จะเป็น พระพุทธเจ้าเพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นจากความทุกข์และ สังสารวัฏ ตั้งแต่เมื่อครั้งที่ยังทรงเป็นพระโพธิสัตว์ • โดยมีจุดเริ่มต้นมาจากการพิจารณาเห็นความทุกข์ของสรรพสัตว์และ โทษภัยของกิเลสและสังสารวัฏ • “เราตรัสรู้แล้ว จะให้ผู้อื่นตรัสรู้ด้วย เราพ้นแล้ว จะให้ผู้อื่นพ้นด้วย เรา ข้ามได้แล้ว จะให้ผู้อื่นข้ามได้ด้วย” (สัมภารวิบาก)
  • 40. ๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา จากพระพุทธจริยา (ต่อ) • แรงจูงใจในการช่วยเหลือสรรพสัตว์ในครั้งที่เป็นพระพุทธเจ้าแล้วนั้น >> เกิดจากพระพุทธคุณที่มีอยู่ในพระองค์ โดยเฉพาะพระปัญญา คุณและพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งพระพุทธองค์สามารถละอวิชชา ตัณหา และอุปาทานได้แล้ว จึงทรงมีปัญญาและกรุณาเป็นแรงจูงใจใน การกระทากิจต่างๆ เพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นจากความทุกข์
  • 41. ๒. แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา จากพระพุทธจริยา (ต่อ) • แรงจูงใจตามแนวพุทธธรรมกับการทางานจิตอาสา >>การ ทางานจิตอาสาที่ถูกต้องหรือที่ควรจะเป็น จะต้องเกิดจาก แรงจูงใจที่เป็นฉันทะ ที่มุ่งหวังประโยชน์และความอยู่ดีมีสุข เพื่อผู้อื่นและสังคมด้วยจิตที่มีความเมตตา กรุณา และ บริสุทธิ์ใจ อย่างปราศจากความเห็นแก่ตัว หรือปราศจาก แรงจูงใจที่เกิดจากตัณหา ที่ปรารถนาเสพความสุขและ อารมณ์ที่ชอบใจเพื่อตนเป็นสาคัญ
  • 42. ๒. แนวคิดเรื่องจิตอาสาในพระไตรปิฎก • ๓. ลักษณะ และ วิธีการทางานจิตอาสา • วิเคราะห์จาก พระพุทธจริยา และการบาเพ็ญ พระพุทธกิจ ของ พระพุทธเจ้า • พบว่า พระพุทธคุณ ๓ ประการ คือ พระปัญญาคุณ พระบริสุทธิ์ คุณ และพระมหากรุณาธิคุณ เป็นคุณสมบัติอันประเสริฐของสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นที่มาของพระพุทธกิจ เพื่อช่วยเหลือ สรรพสัตว์ให้พ้นจากปัญหาและความทุกข์ • ผ่านพระพุทธจริยา ๓ ประการ
  • 43. พระพุทธจริยา ๓ ๑. โลกัตถจริยา ทรงบาเพ็ญประโยชน์แก่โลก ความสาเร็จในจริยาข้อนี้ทรงอาศัย พุทธกิจประจาวัน ๕ ประการ คือ ๑) เวลาเช้าเสด็จออกบิณฑบาต เพื่อเป็นการโปรดสัตว์โลกผู้ต้องการบุญ ๒) ในเวลาเย็นทรงแสดงธรรมแก่คนผู้สนใจในการฟังธรรม ๓) ในเวลาค่าทรงประทานพระโอวาทให้กรรมฐานแก่ภิกษุทั้งหลาย ๔) ในเวลาเที่ยงคืน ทรงแสดงธรรม และตอบปัญหาแก่เทวดาทั้งหลาย ๕) ในเวลาใกล้รุ่ง ทรงตรวจดูสัตว์โลกที่อาจจะรู้ธรรมซึ่งพระองค์ทรงแสดง แล้วได้รับผลตามสมควรแก่อุปนิสัยบารมีของคนเหล่านั้น
  • 45. พระพุทธจริยา ๓ • ๒. ญาตัตถจริยา ทรงบาเพ็ญประโยชน์แก่พระญาติ เช่น การที่ พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดพระญาติที่กรุงกบิลพัสดุ์ ทรงแนะนาให้พระ ญาติซึ่งกาลังจะทาสงครามกันได้เข้าใจในเหตุผล สามารถปรองดองกัน ได้ เป็นต้น • ๓. พุทธัตถจริยา ทรงทาหน้าที่ของพระพุทธเจ้า เช่น ทรงวาง สิกขาบทเป็นพุทธอาณา สาหรับควบคุมความประพฤติของผู้ที่เข้ามา บวชในพระพุทธศาสนา / ทรงแนะนาให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ปฏิบัติให้ ถูกต้องตามหน้าที่ของตน เป็นต้น
  • 46. พระพุทธคุณ ๓ • ๑. พระปัญญาธิคุณ คือ ทรงมีสติปัญญาเฉียบแหลม รู้แจ้งสัจธรรมทั้ง ปวง รู้เรื่องทุกข์และความดับทุกข์ ทรงประกอบไปด้วยทศพลญาณและ ปฏิสัมภิทา • ๒. พระบริสุทธิคุณ คือ ทรงเป็นผู้ที่มีความบริสุทธิ์หมดจด หลุดพ้น จาก อาสวะกิเลสทั้งปวง ไม่กระทาความชั่วทางกาย วาจา และใจ • ๓. พระมหากรุณาธิคุณ คือ ทรงมีความเมตตาและกรุณาต่อสรรพ สัตว์ จึงเสด็จออกประกาศศาสนา เผยแผ่พระธรรมและโปรดสรรพสัตว์ เพื่อช่วยเหลือให้สรรพสัตว์หลุดพ้นจากความทุกข์ผ่านพระพุทธกิจที่ทรง บาเพ็ญตลอด ๔๕ พรรษา
  • 47.
  • 48. ๒. แนวคิดเรื่องจิตอาสาในพระไตรปิฎก • ๓. ลักษณะ และ วิธีการทางานจิตอาสา • ผลการวิจัย >> การบาเพ็ญพระพุทธกิจเพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์ของ พระพุทธเจ้า สามารถจัดแบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ • ๑) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านกายภาพ • ๒) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านสังคม • ๓) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านจิตใจ • ๔) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านปัญญา
  • 49. ๑) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านกายภาพ • การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือผู้ประสบความทุกข์ยาก เดือดร้อนทางกายภาพ หรือทรงช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมให้ความเป็นอยู่ ทางกายภาพดีขึ้น เป็นกระบวนการสร้างเสริมศักยภาพของร่างกาย และวัตถุให้พร้อมที่จะช่วยเหลือตนเองได้และสามารถมีชีวิตต่อไปได้ ด้วยตนเอง
  • 50. ๒) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านสังคม • การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือทางด้านสังคม โดยการสอน ธรรมหรือเปลี่ยนแปลงทิฏฐิให้คนในสังคมเกิดสัมมาทิฏฐิ ประพฤติกุศล กรรม ซึ่งจะส่งผลให้สังคมมีความสงบสุขและเกิดการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้น • การที่พระพุทธองค์ทรงเสด็จดาเนินไปให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ด้วยพระองค์เอง เช่น ในกรณีของชาวเมืองเวสาลี • การที่พระพุทธองค์ทรงเข้าไประงับความขัดแย้งในหมู่พระญาติ
  • 51.
  • 52. ๓) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านจิตใจ • การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจ แก่ผู้ประสบ ปัญหาหรือความทุกข์ โดยเน้นการเยียวยาจิตใจ เพื่อให้บุคคลเหล่านั้น พ้นจากความทุกข์ ความโศกเศร้า และมีคุณธรรมในจิตใจที่พัฒนาขึ้น จนกระทั่งเกิดดวงตาเห็นธรรม เป็นอริยบุคคล หรือแม้แต่เข้าถึงซึ่งความ พ้นทุกข์ เป็นพระอรหันต์
  • 53. ๔) การบาเพ็ญพระพุทธกิจทางด้านปัญญา • การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือโดยเน้นการส่งเสริมหรือ พัฒนาจิตใจให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นจนกระทั่งเกิดปัญญา รู้แจ้งสัจธรรม เป็น พระอริยบุคคล พ้นจากกิเลสและความทุกข์ไปโดยลาดับ
  • 54.
  • 56. ๔. สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสาตามหลักการทาง พระพุทธศาสนา • การทางานจิตอาสาก่อให้เกิดประโยชน์ทั้ง (อรรถะ ๓) – ประโยชน์ตน (อัตตัตถะ) – ประโยชน์ท่าน (ปรัตถะ) – ประโยชน์ทั้ง ๒ ฝ่าย (อุภยัตถะ) • และก่อให้เกิดประโยชน์ใน ๓ มิติ – ประโยชน์ในปัจจุบัน หรือ ทิฏฐธัมมิกัตถะ – ประโยชน์เบื้องหน้า หรือ สัมปรายิกัตถะ – ประโยชน์อย่างยิ่ง หรือ ปรมัตถะ คือ การถึงวิมุตติ หลุดพ้น หรือ สิ้น กิเลสได้
  • 57. ๕. การพัฒนาจิตอาสาตามหลักการ ทางพระพุทธศาสนา • การประยุกต์หลัก “ไตรสิกขา” หรือ การฝึกอบรมพัฒนาชีวิตทั้ง ๓ ด้าน คือ อธิสีลสิกขา หรือ ศีล, อธิจิตตสิกขา หรือ สมาธิ และอธิปัญญาสิกขา หรือ ปัญญา • เป็นการขัดเกลากิเลส และความเห็นแก่ตัว / อบรมจิตใจเพื่อพัฒนา คุณธรรมให้เจริญขึ้น เช่น ความเมตตา กรุณา เพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตที่มี ความเสียสละ หรือมีจิตอาสา • การสร้างแรงจูงใจที่เป็นฉันทะ ปัญญาและกรุณา ซึ่งทาได้โดยการฝึกให้ บุคคลมี “โยนิโสมนสิการ” นั่นคือ การพิจารณาให้เห็นคุณค่าหรือ คุณประโยชน์ที่แท้จริงของการทางานจิตอาสา และการสัมผัสความทุกข์ ของผู้อื่น
  • 58. ๖. หลักพุทธธรรมที่สนับสนุน แนวคิดเรื่องจิตอาสา • ๑) หมวดที่ว่าด้วยการพัฒนาตนเองของผู้ที่ทางานจิตอาสา –หลักอริยสัจ ๔ และไตรสิกขา, ศีล ๕ และ กุศลกรรมบถ ๑๐ ๒) หมวดที่ว่าด้วยการช่วยเหลือหรือการสงเคราะห์ด้วย จิตอาสา - พรหมวิหาร ๔, สังคหวัตถุ ๔, เวยยาวัจจมัย ๓) หมวดที่ว่าด้วยหลักการทางานจิตอาสา - สติปัฏฐาน ๔, สาราณียธรรม ๖, สัปปุริสธรรม ๗, อิทธิบาท ๔ และ ขันติธรรม
  • 59. ๖. หลักพุทธธรรมที่สนับสนุน แนวคิดเรื่องจิตอาสา ๔) หมวดที่ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้ที่ทางานจิตอาสา - บารมี ๑๐, กัลยาณมิตรธรรม ๗, พรหมวิหาร ๔ และ สังคหวัตถุ ๔ >> ปัญญา และ กรุณา • หลักพุทธธรรมดังกล่าวสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการทางาน จิต อาสา รวมทั้งสามารถนามาแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการทางานจิต อาสาได้ ทั้งอุปสรรคภายในที่เกิดจากตัวของผู้ที่ทางานจิตอาสาเอง และ อุปสรรคภายนอกอันเกิดจากการทางานและสภาพแวดล้อม
  • 60. สรุปหลักการของจิตอาสาแนวพุทธ - การทางานจิตอาสา ควรเริ่มจากจิตใจที่ประกอบไปด้วยความ เมตตา กรุณา ไม่นิ่งดูดายต่อปัญหาและความทุกข์ของผู้อื่น - การให้ความช่วยเหลือ กระทาได้ ๒ ประการโดยสรุป คือ สงเคราะห์ ในระดับโลกียสุข / สงเคราะห์ในระดับโลกุตตรสุข - การสงเคราะห์ระดับโลกุตตรสุข โดยการให้ธรรมทาน เพื่อช่วยให้ ผู้อื่นหลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์โดยสิ้นเชิงเป็นเอกลักษณ์ของ แนวคิดจิตอาสาในพระพุทธศาสนา ที่แตกต่างจากแนวคิดจิตอาสา ทั่วไป ที่มุ่งให้ความช่วยเหลือในระดับโลกียะเท่านั้น -การทางานจิตอาสา ควรเริ่มจากจิตใจที่ประกอบไปด้วยความ เมตตา กรุณา ไม่นิ่งดูดายต่อปัญหาและความทุกข์ของผู้อื่น -การให้ความช่วยเหลือ กระทาได้ ๒ ประการโดยสรุป คือ สงเคราะห์ในระดับโลกียสุข / สงเคราะห์ในระดับโลกุตตรสุข *** การสงเคราะห์ระดับโลกุตตรสุข โดยการให้ธรรมทาน เพื่อช่วยให้ผู้อื่นหลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์โดย สิ้นเชิงเป็นเอกลักษณ์ของแนวคิดจิตอาสาใน พระพุทธศาสนา ที่แตกต่างจากแนวคิดจิตอาสาทั่วไป ที่มุ่งให้ความช่วยเหลือในระดับโลกียะเท่านั้น
  • 61. วัตถุประสงค์ข้อที่ ๓ • เพื่อศึกษาแนวคิด และการถอดบทเรียนในการทางานจิตอาสา ของตัวอย่างอาสาสมัครและองค์กรที่ทางานด้านจิตอาสาใน ประเทศไทย • ๑) ศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้าท่วมของมูลนิธิชัยพัฒนา ร.ร. จิตลดา และ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • ๒) โครงการพลังอาสาสมัครสร้างสุขให้เด็กในสถานสงเคราะห์ มูลนิธิสุขภาพไทย • ๓) ครูข้างถนนดีเด่น ๒๕๕๔– ครูนาง น.ส. นริศราภรณ์ อสิพงษ์
  • 62. • ทาการศึกษาข้อมูลภาคสนาม • เก็บข้อมูลจากการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participate Observer)และ การลงพื้นที่ภาคสนาม (On-site Survey)ในโครงการจิตอาสาที่ ทาการศึกษา โดยผู้วิจัยได้เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในโครงการดังกล่าว • ทาการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ตัวอย่างอาสาสมัคร รวมทั้งผู้บริหารหรือผู้ดูแลอาสาสมัครในโครงการหรือองค์กรที่ทางานด้าน จิตอาสาในประเทศไทยที่เลือกศึกษา / เลือกตัวอย่างแบบ ยึด จุดมุ่งหมายของการศึกษาเป็นหลัก (Key informant) • แนวทางการศึกษาข้อมูลจากการสัมภาษณ์อาสาสมัคร ใช้หลักการแบบ ปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology) ให้บุคคลอธิบายเรื่องราว ความรู้สึกและประสบการณ์ที่ตนประสบมา
  • 63. • ในประเด็นต่อไปนี้ • ๑) ภูมิหลังของอาสาสมัคร • ๒) แรงจูงใจในการทางานจิตอาสา • ๓) ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสา • ๔) ปัญหาและอุปสรรคในการทางานจิตอาสา • ๕) สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสา • ๖) ความคิดเห็นเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะ
  • 64. • ความหมายและแนวคิดเรื่องจิตอาสาจากการถอดประสบการณ์ของ ตัวอย่างอาสาสมัครขององค์กรที่ทางานด้านจิตอาสาในประเทศไทย ๓ องค์กรที่เป็นกรณีศึกษา • พบว่าจิตอาสา หมายถึง การมีความปรารถนาดีและปรารถนาช่วยเหลือ ผู้อื่น หรือการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น หรือ ผู้ที่มีความทุกข์หรือปัญหา รวมไปถึง การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ด้วยความเสียสละจากจิตใจที่ บริสุทธิ์ และความสมัครใจโดยไม่หวังสิ่งใดตอบแทน • วิธีการและหลักการในการทางานจิตอาสาจะมีความหลากหลาย โดย ยึดถือประโยชน์และความสุขของผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือเป็นหลัก
  • 65. ภาพบรรยากาศการทางานของอาสาสมัคร ศูนย์ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยน้าท่วม มูลนิธิชัยพัฒนา โรงเรียนจิตลดา และ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 74.
  • 75.
  • 77.
  • 78.
  • 79. วัตถุประสงค์ข้อที่ ๔ • เพื่อบูรณาการ แนวคิดเกี่ยวกับจิตอาสาตามหลักการทาง พระพุทธศาสนากับ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตอาสาในบริบท ของสังคมปัจจุบัน รวมทั้งแนวคิดและการถอดบทเรียนในการ ทางานจิตอาสาของตัวอย่างอาสาสมัครและองค์กรที่ทางานด้าน จิตอาสาในประเทศไทย เพื่อประยุกต์ใช้ในการทางานจิตอาสา
  • 80. • ขั้นประมวลผล เรียบเรียง วิเคราะห์ สรุป และเสนอแนะ • นาทั้ง ๓ แนวคิด มาเทียบเคียง วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย และนามา บูรณาการเข้าด้วยกัน • เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ คือ “จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ” • เพื่อประยุกต์ใช้ในการทางานจิตอาสา
  • 81. สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ • ๑. ความหมาย • “จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ” หมายถึง จิตใจที่มีความเสียสละ อัน ประกอบไปด้วยความเมตตาและกรุณา คือ มีความปรารถนาดี และ ปรารถนาที่จะช่วยเหลือผู้อื่นหรือชีวิตอื่น ให้พ้นจากความทุกข์และความ เดือดร้อน • เป็นจิตที่ไม่นิ่งดูดาย เมื่อพบปัญหาและความทุกข์เกิดขึ้นกับผู้อื่นและสังคม และพร้อมที่จะเสียสละกาลังกาย ใจ เวลา สติปัญญา หรือทรัพย์สิน เพื่อ ช่วยเหลือผู้อื่นและเพื่อสาธารณประโยชน์ รวมไปถึงการทาความดีเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ตามกาลังที่ตนจะกระทาได้ ด้วยความบริสุทธิ์ใจและสมัคร ใจ โดยไม่หวังสิ่งใดตอบแทนเพื่อตน
  • 82. สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ • ๒. แรงจูงใจ และการสร้างแรงจูงใจในการทางานจิตอาสา • ให้ความสาคัญแก่แรงจูงใจทั้งภายในและภายนอกควบคู่กัน • แรงจูงใจภายใน ให้ความสาคัญในการสร้างเสริมคุณธรรมใน จิตใจที่เป็นแรงผลักดันให้บุคคลเกิดความเห็นใจในความทุกข์ของผู้อื่น เกิดความเสียสละและปรารถนาจะช่วยเหลือผู้อื่น ได้แก่ ฉันทะ, ปัญญา, เมตตา และกรุณา + พิจารณาให้เห็นถึงประโยชน์อันเกิด จากการทางานจิตอาสาที่จะเป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
  • 83. • ๒. แรงจูงใจ และการสร้างแรงจูงใจในการทางานจิตอาสา (ต่อ) • แรงจูงใจภายนอก เอื้อหรือสนับสนุนต่อการพัฒนาแรงจูงใจ ภายใน ได้แก่ การส่งเสริมการมีจิตอาสาผ่านครอบครัว, สถาบันการศึกษา, ศาสนา, สังคม, สื่อมวลชน เป็นต้น โดยการปลูกฝัง อบรมสั่งสอน การเป็นต้นแบบที่ดี หรือ การสร้างบรรยากาศ หรือ ค่านิยมในสังคมที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของการมีจิตอาสา • คุณธรรมภายในที่มั่นคง + แรงจูงใจภายนอกอย่างรอบด้าน = พฤติกรรมจิตอาสาอย่างยั่งยืน
  • 84. สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ • ๓. ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสา • ๓.๑) หลักคิด • เน้นสร้างความเข้าใจหรือสร้างคุณสมบัติภายในจิตใจให้เตรียมพร้อม สาหรับการทางานที่ต้องเสียสละเพื่อผู้อื่นโดยอาศัยการประยุกต์ หลักการทางพระพุทธศาสนา พระพุทธคุณ พระพุทธจริยา และ พุทธธรรม ควบคู่ไปกับการสร้างการเตรียมความพร้อมภายนอกใน การลงภาคสนามของการทางานจิตอาสา ทั้งทางร่างกาย, จิตใจ, ความคิด, ทักษะ ความรู้ และอุปกรณ์ต่างๆ
  • 85. • ๓. ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสา • ๓.๒) วิธีการ • ให้ความช่วยเหลือผ่านการทางานจิตอาสาทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย, ด้านจิตใจ, ด้านปัญญา และด้านสังคมแบบบูรณาการ • ให้ความสนับสนุนและช่วยเหลือทั้งอามิสทาน หรือวัตถุ สิ่งของ หรือค่าใช่ จ่ายและเน้นการให้ธรรมทาน คือ วิชา ความรู้ ข้อคิด โดยเฉพาะความรู้ ทางธรรมะ หรือการรู้และเข้าใจในสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริงเพื่อเป็น การให้ปัญญาในการแก้ปัญหาความทุกข์ • มีการประยุกต์หลักการการจัดการแบบสมัยใหม่เพื่อการบริหาร จัดการ งานจิตอาสา เพื่อให้อาสาสมัครสามารถทางานได้อย่างราบรื่นและมี ประสิทธิภาพ
  • 86. • ๓. ลักษณะและวิธีการทางานจิตอาสา • ๓.๓) ผลที่มุ่งหวัง • ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อบุคคลผู้ที่ทางานจิตอาสา, ประโยชน์ต่อผู้ที่ได้รับ ความช่วยเหลือ และประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม • ให้บรรลุถึงประโยชน์ทั้งในแง่ของการใช้ชีวิตประจาวันโดยทั่วไป และบรรลุถึง ประโยชน์ในด้านคุณค่าทางจิตใจ ซึ่งเป็นประโยชน์ใน ระดับโลกียสุข • ทั้งผู้ที่ทางานจิตอาสา และผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือยังสามารถพัฒนาตนเอง ไปถึงประโยชน์ในขั้นสูงสุด คือ การพัฒนา ฝึกฝน ขัดเกลาตนเองจนกระทั่ง เกิดปัญญา หลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์ไปได้โดยลาดับ หรือ เข้าถึง โลกุตตรสุข
  • 87. สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ • ๔. แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการทางานจิตอาสา • นาเอา หลักพุทธธรรม มาประยุกต์ ควบคู่กับแนวทางการแก้ปัญหาใน บริบทของสังคมปัจจุบัน เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทั้ง ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากภายในตัวของอาสาสมัครเอง คือจาก จิตใจและพฤติกรรมของอาสาสมัคร และ ปัญหาและอุปสรรคจาก ภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล หรือปัจจัย หรือเหตุการณ์แวดล้อม • ในการแก้ไขปัญหาจะเน้นให้ความสาคัญกับการแก้ไขหรือพัฒนาที่ จิตใจของอาสาสมัครก่อนเป็นสาคัญ
  • 88. สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ • ๕. สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสา • การทางานจิตอาสาก่อให้เกิด • ๑) ประโยชน์ต่อตัวของอาสาสมัครเอง (ประโยชน์ตน – อัตตัตถะ) ได้ พัฒนาจิตใจ ขัดเกลากิเลส มีความสุข ความภูมิใจในตนเอง • ๒) เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่อาสาสมัครให้ความช่วยเหลือ (ประโยชน์ท่าน – ปรัตถะ) • ๓) เป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม (ประโยชน์ทั้ง ๒ ฝ่าย – อุภยัตถะ) ก่อให้เกิดสังคมที่น่าอยู่และอบอุ่น มีความสงบสุขตามสมควร
  • 89. • ๕. สิ่งที่ได้รับจากการทางานจิตอาสา • ในการทางานจิตอาสา ก็ควรเป็นไปเพื่อจุดมุ่งหมายที่ดีงามตามหลัก ประโยชน์ ๓ ประการ คือ • ประโยชน์ในปัจจุบัน หรือ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ • ประโยชน์เบื้องหน้า หรือ สัมปรา-ยิกัตถประโยชน์ • ประโยชน์อย่างยิ่ง หรือ ปรมัตถประโยชน์
  • 90. สรุปผลการวิจัย - จิตอาสาแนวพุทธเชิงบูรณาการ • ๖. แนวทางการพัฒนาจิตอาสา • การสร้างสานึกที่ดีต่อสังคม ต้องอาศัยการส่งเสริมทั้ง ปัจจัยภายใน หรือแรงจูงใจภายใน เพื่อให้เกิดสานึกที่ดีด้วยตนเอง เช่น • การพัฒนาตนเองตามหลักไตรสิกขา • การสร้างฉันทะ หรือ ความรัก ความสนใจในงานจิตอาสา อัน เนื่องมาจากการเห็นคุณค่าของงานจิตอาสานั้น • การสร้างแรงจูงใจที่ประกอบไปด้วยปัญญาและกรุณา เป็นต้น
  • 91. • ๖. แนวทางการพัฒนาจิตอาสา • การสร้างแรงจูงใจภายนอก • จากครอบครัว ญาติ เพื่อน ครู สื่อมวลชน คนในสังคม รวมไปถึงสถาบันทาง สังคม และกลุ่ม องค์กรต่างๆ ที่เป็นแบบอย่างที่ดีและให้การสั่งสอน อบรม ปลูกฝังส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการสร้างกิจกรรมหรือโครงการที่จะนาไปสู่ การสร้างจิตสานึกที่ดี หรือการมีพฤติกรรมจิตอาสา และ • เมื่อบุคคลได้มีโอกาสทางานจิตอาสา+ ได้สัมผัสถึงคุณค่าของการมี จิต อาสา รวมทั้งได้รับความสุข ความภาคภูมิใจจากการปฏิบัติงานจิตอาสา ก็ จะเกิดแรงบันดาลใจในการหาโอกาสช่วยเหลือผู้อื่นและสร้างประโยชน์ต่อไป ได้
  • 92.
  • 93.
  • 94. การประยุกต์ใช้หลักการทางานจิตอาสาแนวพุทธ เชิงบูรณาการ • บุคคล หรือกลุ่มองค์กรที่ทางานด้านจิตอาสา สามารถนาเอารูปแบบ หรือ Model มาต่อยอดหรือปรับประยุกต์ใช้ในการทางานจิตอาสาให้เหมาะสมกับลักษณะงาน หรือกลุ่ม องค์กรของตนได้ • โดยสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการทางานจิตอาสาได้อย่างหลากหลายตาม ความเหมาะสมของแต่ละประเภทงาน และยังสามารถนามาประยุกต์เพื่อสร้าง เสริมหรือพัฒนาจิตอาสาให้แก่คนในสังคมหรือในองค์กร และสามารถนามาแก้ไข ปัญหาและอุปสรรคของการทางานจิตอาสาที่เกิดขึ้นได้ • เพื่อเป็นการวางรากฐานและสร้างสรรค์การดาเนินชีวิตที่ดีงามและมีความสุขในตัว บุคคล และมีส่วนในการจรรโลงสังคมให้เป็นสังคมแห่งน้าใจและความเอื้อเฟื้อ มี ความสงบสุขและสันติที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
  • 95. ๕. การประยุกต์แนวคิดเรื่องจิตอาสาในพระไตรปิฎก กับการทางานจิตอาสาในปัจจุบัน • แบ่งเป็น “หลักคิด” / “วิธีการ” / “ผลที่มุ่งหวัง” • ๕.๑ หลักคิด – ประยุกต์หลัก “พระพุทธคุณ ๓” >> พัฒนา ปัญญา / ความ บริสุทธิ์ใจ / ความกรุณา ให้เกิดมีขึ้นในตน เป็นคุณสมบัติสาคัญ – ประยุกต์หลัก “พระพุทธจริยา ๓” >> ทาหน้าที่อย่างสมดุล ระหว่าง การทางานจิตอาสา / การดูแลครอบครัว ญาติมิตร / การ รับผิดชอบอาชีพ การงานของตน แบ่งเป็น “หลักคิด” / “วิธีการ” / “ผลที่มุ่งหวัง” ๕.๑ หลักคิด ประยุกต์หลัก “พระพุทธคุณ ๓” >> พัฒนา ปัญญา / ความบริสุทธิ์ใจ / ความกรุณา ให้เกิดมีขึ้นในตน เป็นคุณสมบัติสาคัญ ประยุกต์หลัก “พระพุทธจริยา ๓” >> ทาหน้าที่อย่างสมดุล ระหว่าง การ ทางานจิตอาสา / การดูแลครอบครัว ญาติมิตร / การรับผิดชอบอาชีพ การ งานของตน
  • 96. • ๕.๑ หลักคิด (ต่อ) – ควรสร้าง “ฉันทะ” หรือ (การรักในงานอันเกิดจากการเห็นคุณค่า ของงาน) ให้เกิดขึ้นในการทางานจิตอาสา –ควรทาการพัฒนา ฝึกฝน และขัดเกลาตนเองไปพร้อมกับการ ช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม >> การทางาน คือ การปฏิบัติธรรม >> ตามหลัก “อรรถะ ๓” (ประโยชน์ตน,ประโยชน์ผู้อื่น,ประโยชน์ทั้ง ๒ ฝ่าย) –ควรมีคุณธรรม หรือ ประยุกต์หลักพุทธธรรมในการทางาน จิต อาสาทั้ง ๔ หมวด –ประยุกต์หลักการทางานจากพระพุทธดารัสเมื่อครั้งส่งพระสาวก ออกประกาศพระศาสนา ๕.๑ หลักคิด (ต่อ) - ควรสร้าง “ฉันทะ” หรือ (การรักในงานอันเกิดจากการเห็นคุณค่าของ งาน) ให้เกิดขึ้นในการทางานจิตอาสา - ควรทาการพัฒนา ฝึกฝน และขัดเกลาตนเองไปพร้อมกับการช่วยเหลือ ผู้อื่นและสังคม >> การทางาน คือ การปฏิบัติธรรม >> ตามหลัก “อรรถะ ๓” (ประโยชน์ตน,ประโยชน์ผู้อื่น,ประโยชน์ทั้ง ๒ ฝ่าย) - ควรมีคุณธรรม หรือ ประยุกต์หลักพุทธธรรมในการทางานจิตอาสาทั้ง ๔ หมวด - ประยุกต์หลักการทางานจากพระพุทธดารัสเมื่อครั้งส่งพระสาวกออก ประกาศพระศาสนา
  • 97. • “ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากบ่วง (โลภะ) ทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่ เป็นของมนุษย์ แม้พวกเราก็พ้นแล้วจากบ่วงทั้งปวงทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่ เป็นของมนุษย์ • ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริกไปเพื่อประโยชน์สุขแก่ชนจานวนมาก เพื่อ อนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ • อย่าไปโดยทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมมีความงามในเบื้องต้น มีความ งามในท่ามกลาง และมีความงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้ง อรรถและพยัญชนะบริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน • สัตว์ทั้งหลายที่มีธุลีในดวงตาน้อย มีอยู่ ย่อมเสื่อมเพราะไม่ได้ฟังธรรม จักมี ผู้รู้ธรรม • ภิกษุทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม”
  • 98. ๕.๒ วิธีการ • ๑) ช่วยใคร ๑.๑) การช่วยแบบเจาะจง / กรณีพิเศษ ที่เห็นสมควรช่วยเหลือ – ผู้ที่ประสบความทุกข์ หรือ ปัญหาชีวิตในด้านต่างๆ –ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือ ร้องขอความช่วยเหลือ –ผู้ที่กาลังเดือดร้อน หรือ ประสบความหายนะ หรือ จะเสียประโยชน์ อันพึงได้ (เช่น การตรัสรู้ธรรม) ถ้า พระพุทธเจ้าไม่เสด็จไปโปรด –ผู้ที่มีอุปนิสัย หรือ โอกาสที่จะบรรลุธรรม ๑) ช่วยใคร ๑.๑) การช่วยแบบเจาะจง / กรณีพิเศษ ที่เห็นสมควรช่วยเหลือ ผู้ที่ประสบความทุกข์ หรือ ปัญหาชีวิตในด้านต่างๆ ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือ ร้องขอความช่วยเหลือ ผู้ที่กาลังเดือดร้อน หรือ ประสบความหายนะ หรือ จะเสียประโยชน์ อันพึงได้ (เช่น การตรัสรู้ธรรม) ถ้า พระพุทธเจ้าไม่เสด็จไปโปรด ผู้ที่มีอุปนิสัย หรือ โอกาสที่จะบรรลุธรรม
  • 99. ๕.๒ วิธีการ • ๑) ช่วยใคร (ต่อ) ๑.๑) การช่วยแบบไม่เจาะจง >> พระพุทธกิจ - ทรงช่วยเหลือสรรพสัตว์อย่างไม่จากัด ผ่านการแสดงพระธรรม เทศนา เพื่อประโยชน์และความสุขแก่สรรพสัตว์ทั้งหลายอย่าง ต่อเนื่องตลอดระยะเวลา ๔๕ พรรษา - ทรงประทานสติปัญญา และโอกาสในการตรัสรู้ธรรม รวมทั้ง การ หลุดพ้นจากความทุกข์ในสังสารวัฏแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ๑) ช่วยใคร (ต่อ) ๑.๑) การช่วยแบบไม่เจาะจง >> พระพุทธกิจ -ทรงช่วยเหลือสรรพสัตว์อย่างไม่จากัด ผ่านการแสดงพระธรรมเทศนา เพื่อประโยชน์และความสุขแก่สรรพสัตว์ทั้งหลายอย่างต่อเนื่องตลอด ระยะเวลา ๔๕ พรรษา -ทรงประทานสติปัญญา และโอกาสในการตรัสรู้ธรรม รวมทั้ง การหลุด พ้นจากความทุกข์ในสังสารวัฏแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย
  • 100. ๕.๒ วิธีการ • ๒) ช่วยอย่างไร ๑. พระพุทธองค์ทรงพิจารณาและเล็งเห็นปัญหาและความทุกข์ รวมทั้ง อุปนิสัยในการบรรลุมรรคผลของบุคคลนั้น จึงเสด็จไป ช่วยเหลือด้วยพระองค์เอง (มิได้มีการทูลขอ) ๒. พระพุทธองค์ได้รับการกราบทูลขอความช่วยเหลือ จากบุคคล ผู้ประสบปัญหาและต้องการความช่วยเหลือ จึงทรงประทาน ความช่วยเหลือ
  • 101. ๒) ช่วยอย่างไร (ต่อ) ๑. พระพุทธเจ้าทรงลงมือช่วยเหลือ หรือ สงเคราะห์สรรพสัตว์ด้วย พระองค์เอง ๒. พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พระสาวก หรือ พุทธบริษัทมีจิตใจที่มี ความเมตตา กรุณา เสียสละ ละคลายความเห็นแก่ประโยชน์ส่วน ตน เพื่อกระทาประโยชน์ หรือ ช่วยเหลือผู้อื่นอย่างไร้เงื่อนไข ๓. พระพุทธเจ้าทรงส่งพระสาวกออกไปประกาศพระศาสนา หรือ เผย แผ่พระธรรม เพื่อเป็นการช่วยเหลือ สงเคราะห์ด้วยการให้ธรรม ทาน
  • 102. ๒) ช่วยอย่างไร (ต่อ) ลักษณะของการให้ความช่วยเหลือ หรือ สงเคราะห์สรรพสัตว์ ของพระพุทธเจ้า ก. ด้านกายภาพ ข. ด้านสังคม ค. ด้านจิตใจ ง. ด้านปัญญา ** สรุป (๑) ช่วยเหลือ หรือ สงเคราะห์ระดับ “โลกียสุข” (๒) ช่วยเหลือ หรือ สงเคราะห์ระดับ “โลกุตตรสุข”
  • 103. ๕.๓ ผลที่มุ่งหวัง • มุ่งหวังประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือ อย่างแท้จริง - ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ >>ความสุขกาย สบายใจ ไม่เดือดร้อน - สัมปรายิกัตถประโยชน์ >> สุข สงบในจิตใจ มีคุณธรรมและ สภาวะจิตใจที่เจริญงอกงามขึ้น - ปรมัตถประโยชน์ >> รู้แจ้งสัจธรรม มีสติ ปัญญาที่พัฒนา จิตใจ เป็นอิสระ ผ่องใส เบิกบาน ปราศจากกิเลส และความทุกข์ >> บรรลุ มรรค ผล นิพพาน
  • 104. ๕.๓ ผลที่มุ่งหวัง (ต่อ) • พระพุทธเจ้าทรงให้ความสงเคราะห์ หรือ ช่วยเหลือให้ผู้ที่ได้รับ ความช่วยเหลือ ประสบความสุขทั้งในระดับ “โลกียสุข” และ “โลกุตตรสุข” – ๑) โลกียสุข (ความสุขในทางโลก) >> สุขกาย สบายใจ พ้นจาก ปัญหา หรือ ความลาบากเดือดร้อน – ๒) โลกุตตรสุข (ความสุขเหนือโลก) >> การบรรลุ มรรค ผล นิพพาน หรือ เป็นพระอริยบุคคล *** เป็นอุดมคติสูงสุดใน พระพุทธศาสนา
  • 105. เอกสารอ้างอิง • สรณีย์ สายศร. “การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาใน การทางานจิตอาสา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖.
  • 106.