SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  65
การเข้ามาและพัฒนาการพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
บรรยายโดย
อ.สยาม ราชวัตร
เนื้ อหาการบรรยาย
1. ประวัติความเป็นมาพระพุทธศาสนาโดยย่อ
2. หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
3. พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยต่างๆ
4. อิทธิพลของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
5. พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยปัจจุบัน
1. ความเป็นมาของพระพุทธศาสนา
 พุทธศาสนาเกิดขึ้นในประเทศอินเดียก่อน พ.ศ. 45 ปี
 เป็นศาสนาหนึ่งที่สาคัญในโลกปัจจุบัน
 เป็นศาสนากลุ่ม อเทวนิยม (Atheism)
 มีผู้นับถือหลายร้อยล้านคนในกลุ่มประเทศเอเชียใต้
เอเชียตะวันออก และเอเชียอาคเนย์ (โดยเฉพาะใน
ประเทศไทย)
จานวนประชากรโลก 6000 ล้านคน แบ่งตามศาสนา
2. หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
 หลักความเชื่อ คือ หลักกรรม
 หลักความรู้ คือ ปัญญา 3 ระดับ
(สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา และ ภาวนามยปัญญา)
 หลักความจริง คือ ไตรลักษณ์ อริยสัจ 4
 หลักปฏิบัติ คือ ไตรสิกขา มรรคมีองค์ 8
 เป้ าหมายสูงสุด คือ นิพพาน
การเข้าและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเผยแผ่พุทธศาสนาสมัยพระเจ้าอโศก
สุวรรณภูมิ : หลักฐานการเผยแผ่ในประเทศไทย
พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยต่างๆ
การเผยแผ่พุทธศาสนาสมัยพระเจ้าอโศก
 พระเจ้าอโศกกับการอุปถัมภ์บารุงพระพุทธศาสนา
 การสังคายนาครั้งที่ 3 นโยบายเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ของพระเจ้าอโศกสู่ 9 สาย
 สายที่ 8 สู่ดินแดนสุวรรณภูมิ
 หัวหน้าสาย คือ พระโสณะ และ พระอุตตระ
สุวรรณภูมิ : หลักฐานการเผยแผ่ในประเทศไทย
 ดินแดนที่เรียกว่า สุวรรณภูมิ มีขอบเขตกว้างขวาง
 ประเทศที่รวมกันอยู่ในดินแดนนี้ มี 7 ประเทศในปัจจุบัน
คือ ไทย พม่า ศรีลังกา เวียดนาม เขมร ลาว มาเลเซีย
 สันนิษฐานว่า สุวรรณภูมิ มีใจกลางอยู่ที่ จ.นครปฐม
 หลักฐานทางโบราณสถานสาคัญ เช่น
 พระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบ เป็นหลักฐาน
 พม่าก็สันนิษฐานว่า มีใจกลางอยู่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของ
พม่า
พระปฐมเจดีย์ จ.นครปฐม
รูปธรรมจักรและกวางหมอบ
เจดีย์เมืองสะเทิม ประเทศพม่า
 พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยใน
ปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236
 สมัยที่พระเจ้าอโศกส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย
 สายที่ 8 คือ พระโสณะและพระอุตตระ ไปยังสุวรรณภูมิ
 สายที่ 9 คือ พระมหินทเถระและพระสังฆมิตตาเถรี
ไปยัง เกาะลังกา คือ ประเทศศรีลังกา ในปัจจุบัน
พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยต่างๆ
สมัยทวาราวดี ต้นพุทธศตวรรษที่ 6
สมัยอาณาจักรอ้ายลาว พุทธศตวรรษที่ 6
สมัยศรีวิชัย พ.ศ. 1300
สมัยลพบุรี พ.ศ. 1550
สมัยเถรวาท แบบพุกาม พุทธศตวรรษที่ 16
สมัยสุโขทัย พ.ศ. 1800
สมัยล้านนา พ.ศ. 1839
สมัยอยุธยา พุทธศตวรรษที่ 19
สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2310
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325
1.สมัยทวาราวดี ต้นศตวรรษที่ 6
 หลวงจีนเฮี่ยนจัง หรือ พระถังซาจั๋ง ได้จาริกมาดินแดน
แห่งนี้ ในศตวรรษที่ 12 กล่าวถึง อาณาจักรทวาราวดีว่า ชื่อ
โตโลโปติ (tolopoti) อยู่ทางตะวันตกของฟูนาน
 ทิศตะวันตกติดต่อกับอาณาจักรศรีเกษตร คือประเทศพม่า
ปัจจุบัน ส่วนตะวันออกติดต่อกับอาณาจักร อิสานปุระ
(อาณาจักรเขมร)
 อาณาจักรนี้ มีความเจริญรุ่งเรืองมากทางด้านการค้า และมี
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นหลัก
2. สมัยอาณาจักรอ้ายลาว พุทธศตวรรษที่ 6
 สมัยอาณาจักรอ้ายลาว ซึ่งเป็นอาณาจักรของบรรพบุรุษชาวไทยที่อาศัย
อยู่บริเวณลุ่มน้าแยงซีเกียง ซึ่งปัจจุบันอยู่ภายใต้การยึดครองของชาวจีน
ฮั่น
 พระพุทธศาสนาในยุคนี้ คาดว่าเป็นแบบมหายาน ในสมัยขุนหลวงม้าว
กษัตริย์ที่ทรงครองราชย์อยู่ในอาณาจักรอ้ายลาว ก่อนที่จะอพยพเข้ามาสู่
ดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน ได้รับเอาพระพุทธศาสนามหายาน โดย
การนาของพระสมณทูตชาวอินเดียมาเผยแผ่ ในคราวที่พระเจ้ากนิษกะ
มหาราชทรงอุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 4 ของฝ่ายมหายาน
 ทาให้หัวเมืองไทย เปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายานแทน
เถรวาท
3. สมัยศรีวิชัย พ.ศ. 1300
 อาณาจักรศรีวิชัยอยู่ในเกาะสุมาตรา เจริญรุ่งเรืองในช่วงพุทธ
ศตวรรษที่ 13 ได้แผ่อานาจคลุมมาถึงจังหวัดสุราษฏร์ธานี
 กษัตริย์ศรีวิชัย ทรงนับถือพุทธศาสนาแบบมหายาน
พระพุทธศาสนาแบบมหายานจึงได้แผ่เข้ามาสู่ภาคใต้ของ
ประเทศไทย
 หลักฐานที่ปรากฏ คือ เจดีย์พระบรมธาตุไชยา จ.สุราษฎร์ธานี
 หลักฐานที่ปรากฏ คือ พระบรมธาตุ จ. นครศรีธรรมราช
 รูปหล่อพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
4. สมัยลพบุรี พ.ศ. 1550
 ในสมัยกษัตริย์กัมพูชาราชวงศ์สุริยวรมันเรืองอานาจ
 ได้แผ่อาณาเขตขยายออกมาทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง
ของประเทศไทย ในราว พ.ศ. 1540
 ตั้งราชธานีอานวยการปกครองเมืองต่างๆ ในดินแดนดังกล่าวหลาย
แห่ง เช่น
 เมืองลพบุรี ปกครองเมืองที่อยู่ในอาณาเขตทวารวดี ส่วนข้างใต้
 เมืองสุโขทัย ปกครองเมืองที่อยู่ในอาณาเขตทวารวดี ส่วนข้างเหนือ
 เมืองศรีเทพ ปกครองหัวเมืองที่อยู่ตามลุ่มแม่น้าป่ าสัก
 เมืองพิมาย ปกครองเมืองที่อยู่ในที่ราบสูงตอนข้างเหนือ
 ประชาชนในสมัยนี้ นับถือพระพุทธศาสนาทั้งแบบเถรวาทที่สืบมาแต่
เดิม กับแบบมหายานและศาสนาพราหมณ์ที่เข้ามาใหม่ด้วย ทาให้มีผู้
นับถือพระพุทธศาสนาทั้ง 2 แบบ และมีพระสงฆ์ทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่าย
เถรวาท และฝ่ายมหายาน
 หลักฐานโบราณสถานในสมัยนี้ เช่น พระปรางค์สามยอดที่จังหวัดลพบุรี
ปราสาทหินพิมาย ที่จังหวัดนครราชสีมา และปราสาทหินเขาพนมรุ้งที่
จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นต้น
 ส่วนพระพุทธรูปที่สร้างในสมัยนั้นถือเป็นศิลปะอยู่ในกลุ่ม ศิลปสมัย
ลพบุรี
5. สมัยเถรวาทแบบพุกาม พุทธศตวรรษที่ 16
 สมัยที่พระเจ้าอนุรุทธมหาราช กษัตริย์พุกามเรืองอานาจ ทรง
รวบรวมเอาพม่ากับมอญเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกัน แล้วแผ่อาณาเขต
เข้ามาถึงอาณาจักรล้านนา อาณาจักรล้านช้าง ละโว้ และทวารวดี
 พระเจ้าอนุรุทธทรงนับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ทรงส่งเสริม
ทานุบารุงพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง
 เมื่ออาณาจักรพุกามของกษัตริย์พม่าเข้ามาครอบครองดินแดนแถบนี้
พบปูชนียสถานแบบพม่าหลายแห่ง และเจดีย์ที่มีฉัตรอยู่บนยอด
และฉัตรที่ 4 มุมของเจดีย์ ก็ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะพุกามแบบ
พม่า
6. สมัยสุโขทัย พ.ศ. 1800
 ประมาณ ปี พ.ศ. 1698 พระเจ้าปรักกรมพาหุ ได้ทรงฟื้ นฟู
พระพุทธศาสนาขึ้นในประเทศศรีลังกา กิตติศัพท์เกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้แพร่
มาถึงพม่า มอญ และไทย ภิกษุในประเทศเหล่านี้ เดินทางไปศึกษา
พระพุทธศาสนาในศรีลังกา เกิดความเลื่อมใส อุปสมบทใหม่เป็นนิกาย
ลังกาวงศ์ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์มาตั้งสานักอยู่ที่ จ.
นครศรีธรรมราช ประมาณ พ.ศ. 1820
 เมื่อพ่อขุนรามคาแหงมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงสดับกิตติศัพท์ของ
พระสงฆ์ลังกา จึงทรงอาราธนาพระมหาเถระสังฆราช ซึ่งเป็นพระเถระชาว
ลังกาที่มาเผยแผ่อยู่ที่นครศรีธรรมราช มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในกรุง
สุโขทัย
 ประมาณ ปี พ.ศ. 1897 พระยาลิไท ขึ้นครองราชย์ในกรุงสุโขทัย
พระองค์ได้ทรงส่งทูตไปอาราธนาพระมหาวาสี สังฆราชชาวลังกา ชื่อ
“สุมนะ” เข้ามายังกรุงสุโขทัย
 ด้วยพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระองค์ทรงได้เสด็จออกบวช
ชั่วคราว ณ วัดป่าม่วง ในเขตอรัญญิก
 พระยาลิไท ทรงนิพนธ์หนังสือ “เตภูมิกถา” หรือ “ไตรภูมิพระร่วง”
อันเป็นหนังสือที่ทรงอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ และวิถีปฏิบัติของ
ประชาชนทั่วไปในเรื่องนรก สวรรค์ และการทาความดีความชั่ว
 ในสมัยพระยาลิไท พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง
มาก นับเป็นการเริ่มศักราชแห่งรุ่งเรืองของ
พระพุทธศาสนาในประเทศไทยอย่างแท้จริง
 ศิลปะสมัยสุโขทัยได้รับการกล่าวขานว่างดงามมาก
โดยเฉพาะพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย มีลักษณะ
งดงาม ไม่มีศิลปะสมัยใดเหมือน
7. สมัยล้านนา พ.ศ. 1839
 ปี พ.ศ. 1839 พระยามังราย ทรงสร้างราชธานีขึ้น ชื่อว่า "นพบุรี
ศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ได้ตั้งถิ่นฐาน ณ ลุ่มแม่น้าปิง
 ทรงทานุบารุงพระพุทธศาสนา ได้สร้างวัดต่าง ๆ มากมาย ทั้งที่
เป็นฝ่ายคามวาสี และอรัญญวาสี จนพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง
 เมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรล้านนา เช่น เชียงราย ลาพูน ลาปาง
แพร่ น่าน พะเยา และ ศรีนพวงศ์ ต่างก็มีความเจริญรุ่งเรือง
 โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านพระพุทธศาสนา พิธีกรรมและความเชื่อ
ทางศาสนามีอิทธิพลต่อชาวล้านนาอย่างมาก
พระพุทธรูป
วัดสวนดอก
วัดพระธาตุดอยสุเทพ
 พ.ศ. 2020 ในรัชสมัยของพระเจ้าติโลกราชแห่งเชียงใหม่
ได้ทาการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรกในดินแดน
ประเทศไทยปัจจุบันขึ้น ณ วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด)
 ในสมัยล้านนา ได้เกิดมีพระเถระนักปราชญ์ชาวล้านนา
หลายรูป ท่านเหล่านั้นได้รจนาคัมภีร์สาคัญทาง
พระพุทธศาสนาไว้เป็นจานวนมาก ได้แก่ พระสิริมังคลา
จารย์ พระญาณกิตติเถระ พระรัตนปัญญา พระโพธิรังสี
พระนันทาจารย์ และ พระสุวรรณรังสี
วัดเจ็ดยอด จ.เชียงใหม่
8. สมัยอยุธยา พุทธศตวรรษที่ 19
 อาณาจักรอยุธยานับถือพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกา
วงศ์ โดยพระมหากษัตริย์หลายพระองค์ทรงเลื่อมใสใน
พระพุทธศาสนา เช่น สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้
เสด็จออกผนวชระหว่างครองราชย์ที่วัดจุฬามณี จังหวัด
ลพบุรี
 พ.ศ.2296 สมัยพระเจ้าบรมโกศ ทางกษัตริย์ลังกาได้ส่ง
คณะทูตมาของพระสงฆ์จากประเทศไทยเพื่อเดินทางไป
ฟื้ นฟูพระพุทธศาสนาที่ศรีลังกา
 ทรงส่งพระอุบาลีและพระอริยมุนี พร้อมพระสงฆ์อื่นๆ อีก 12 รูป
เดินทางไปลังกาเพื่อไปสืบอายุพระพุทธศาสนา จนพระพุทธศาสนาใน
ลังการุ่งเรืองเรียก เรียกนิกายนี้ ว่า นิกายสยามวงศ์ หรือ นิกายอุบาลี
วงศ์ ซึ่งปรากฏอยู่ในประเทศศรีลังกาจนถึงปัจจุบัน
 พระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยาได้รับอิทธิพลของพราหมณ์เข้ามามาก
พิธีกรรมต่างๆ ได้ปะปนพิธีของพราหมณ์ เน้นความขลังความศักดิ์สิทธิ์
และอิทธิปาฎิหาริย์ มีเรื่องไสยศาสตร์เข้ามาปะปนอยู่มาก
 ประชาชนมุ่งเรื่องการบุญการกุศล สร้างวัดวาอาราม สร้างปูชนียวัตถุ
บารุงศาสนาเป็นส่วนมาก
9. สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2310
 พ.ศ. 2310 พระเจ้าตากสินมหาราช สถาปนา กรุงธนบุรี ได้ทรงฟื้ นฟู
พระพุทธศาสนาที่เสื่อมโทรมไปเพราะสงครามกับพม่า
 พระองค์ทรงให้นิมนต์พระสงฆ์จากทั่วประเทศ มาประชุมกันที่วัดบาง
หว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆสิตาราม กทม.) เพื่อคัดเลือกพระสงฆ์ที่ทรง
คุณสมบัติขึ้นเป็นพระสังฆราช
 ได้พระอาจารย์ศรี วัดประดู่ กรุงศรีอยุธยา เป็น สมเด็จพระสังฆราช
เพื่อรับผิดชอบการฟื้ นฟูพระพุทธศาสนาให้กลับคืนสู่ความรุ่งเรือง
ดังเดิม
 พ.ศ. 2322 กองทัพไทยได้อัญเชิญ พระแก้วมรกต จากเวียงจันทร์
มายังประเทศไทย
10. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325
 สมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช เสด็จขึ้น
ครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2325 ต่อจากพระเจ้าตากสิน ได้ทรงย้ายราชธานีจากกรุง
ธนบุรี มาตั้งราชธานีใหม่ เรียกชื่อว่า “กรุงเทพมหานคร”
 ทรงสร้างและปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ เช่น การสร้าง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัด
สุทัศน์เทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นต้น
 พ.ศ. 2331 ได้ทรงอาราธนาพระสงฆ์ผู้เชี่ยวชาญพระไตรปิฎก 218 รูป กับราช
บัณฑิต 32 คน ทาการสังคายนาขึ้นที่ “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์” ในกรุงเทพ
ใช้เวลาทาอยู่ 5 เดือน สาเร็จ
 พ.ศ. 2332 โปรดให้สร้าง “หอมณเฑียรธรรม” ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อเป็น
ที่เก็บรักษาและให้คัดลอกไปไว้ตามพระอารามหลวงต่างๆ อีกหลายวัด
 สมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จขึ้น
ครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2352 เป็นทรงทานุบารุงส่งเสริม
พระพุทธศาสนาเหมือนอย่างพระมหากษัตริย์ไทยแต่โบราณ
 ในรัชสมัยของพระองค์ได้ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชถึง 3
พระองค์ คือ สมเด็จพระสังฆราช (มี) ,สมเด็จพระสังฆราช (สุก),
และสมเด็จพระสังฆราช (สอน)
 ได้จัดให้มีการจัดงานวันวิสาขบูชาขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยกรุง
รัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2360 ซึ่งแต่เดิมก็เคยปฏิบัติถือกันมาเมื่อ
ครั้งกรุงสุโขทัย แต่ได้ขาดตอนไปตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า
 สมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้
มีการสร้างพระไตรปิฎกฉบับหลวงเพิ่มจานวนขึ้นไว้อีกหลาย
ฉบับครบถ้วนกว่ารัชกาลก่อนๆ โปรดให้แปลพระไตรปิฎกเป็น
ภาษาไทย
 ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามหลายแห่ง และสร้างวัดใหม่
คือ วัดเทพธิดาราม วัดราชราชนัดดา และวัดเฉลิมพระเกียรติ
 มีการตั้งคณะสงฆ์ “ธรรมยุติกนิกาย” ขึ้นโดยพระภิกษุเจ้าฟ้ า
มงกุฎ (พระบาสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4)
ขณะทรงผนวช ณ วัดสมอราย (วัดราชาธิวาส)
 สมัยราชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อทรงเป็น
เจ้าฟ้ ามงกุฎได้ผนวช 27 พรรษาแล้วได้ลาสิกขาขึ้นครองราชย์เมื่อ
พระชนมายุ 57 พรรษา พ.ศ. 2239
 ด้านการพระศาสนา ทรงพระราชศรัทธาสร้างวัดใหม่ขึ้นหลายวัด เช่น
วัดปทุมวนาราม วัดโสมนัสวิหาร วัดมกุฎกษัตริยาราม วัดราชประดิษฐ์
สถิตมหาสีมาราม และวัดราชบพิตร เป็นต้น ตลอดจนบูรณะวัดต่าง ๆ
อีกมาก
 โปรดให้มีพระราชพิธี "มาฆบูชา" ขึ้นเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2394 ณ ที่
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนได้ถือปฏิบัติสืบมาจนถึงทุกวันนี้
 สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้น
ครองราชย์ เมื่อ พ.ศ. 2411 ทรงมีศรัทธาเลื่อมใสเสด็จออกผนวชใน
ระหว่างการครองราชย์ เป็นเวลา 15 วัน
 ทรงสร้างวัดใหม่ขึ้น คือ วัดราชบพิตร วัดเทพศิรินทราวาส วัดเบญจม
บพิตร วัดอัษฎางนิมิตร วัดจุฑาทิศราชธรรมสภา และวัดนิเวศน์ธรรม
ประวัติ ทรงบูรณะวัดมหาธาตุ และวัดอื่นๆ อีก
 ทรงให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกบาลีเป็นอักษรไทยครั้งแรก จานวน1000 ชุด
 ทรงสถาปนามหาวิทยาลัยสงฆ์ 2 แห่ง คือ มหามกุฏราชวิทยาลัย และ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
 สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชย์
ทรงพระปรีชาปราดเปรื่องในความรู้ทางพระศาสนามาก ทรงนิพนธ์หนังสือ
แสดงคาสอนในพระพุทธศาสนาหลายเรื่อง เช่น เทศนาเสือป่ า พระพุทธเจ้าตรัส
รู้อะไร เป็นต้น ถึงกับทรงอบรมสั่งสอนอบรมข้าราชการด้วยพระองค์เอง
 ทรงโปรดให้ใช้ พุทธศักราช (พ.ศ.) แทน ร.ศ. เมื่อ พ.ศ. 2456 ให้เปลี่ยน
กระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ
 พ.ศ. 2454 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเปลี่ยน
วิธีการสอบบาลีสนามหลวงจากปากเปล่ามาเป็นข้อเขียน เป็นครั้งแรก
 พ.ศ. 2462 ถึง พ.ศ. 2463 โปรดให้พิมพ์คัมภีร์อรรถกถาแห่งพระไตรปิฎกและ
อรรถกถาชาดก และคัมภีร์อื่นๆ เช่น วิสุทธิมรรค คัมภีร์มิลินทปัญหา เป็นต้น
 สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงโปรดให้มีการทาสังคายนาพระไตรปิฎกขึ้ น ตั้งแต่
พ.ศ. 2468 - 2473 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นการ
สังคายนาครั้งที่ 3 ในเมืองไทย
 ทรงจัดให้พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ ชุดละ 45 เล่ม
จานวน 1,500 ชุด และพระราชทานแก่ประเทศต่าง ๆ
ประมาณ 500 ชุด
 สมัยรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จขึ้น
ครองราชย์เป็นรัชกาลที่ 8 ในขณะพระพระชนมายุ เพียง 9 พรรษา
เท่านั้น
 ในด้านการศาสนาได้มีการแปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาไทย แบ่งเป็น 2
ประเภท คือ
 พระไตรปิฎก แปลโดยอรรถ พิมพ์เป็นเล่มสมุด 80 เล่ม เรียกว่า
พระไตรปิฎกภาษาไทย แต่ไม่เสร็จสมบูรณ์ และได้ทาต่อจนเสร็จเมื่อ
งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เมื่อปี พ.ศ. 2500
 พระไตรปิฎก แปลโดยสานวนเทศนา พิมพ์ใบลาน แบ่งเป็น 1250
กัณฑ์ เรียกว่า พระไตรปิฎกฉบับหลวง เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2492
 สมัยรัชกาลที่ 9 พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ
ดุลยเดช ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นรัชกาลที่ 9 สืบต่อมา ทรงมีพระราช
ศรัทธาในพระพุทธศาสนา และทรงเป็นศาสนูปถัมภก ทรงให้การ
อุปถัมภ์แก่ทุกศาสนา
 ทรงสร้างวัด วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร วัดประจารัชกาล ที่
จังหวัดชลบุรี
 ทรงปกครองบ้านเมืองโดยสงบร่มเย็น ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในรัชสมัยรัชกาลปัจจุบันได้มีการ
ส่งเสริมพุทธศาสนาด้านต่าง ๆ มากมาย
 ในปี พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นปีครบรอบ 2,500 ปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปริ
นิพพาน วันที่ 12-18 พฤษภาคม 2500 รัฐบาลได้จัดงานฉลอง 25 พุทธ
ศตวรรษขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งอินเดียและลังกาเรียกว่า "พุทธชยันตี"
 ในปี พ.ศ. 2500 นี้ รัฐบาลได้กาหนดพิธีเฉลิมฉลองทั่วประเทศ มีการ
จัดสร้าง “พุทธมณฑล” ขึ้น ณ ที่ดิน 2,500 ไร่ อ.นครชัยศรี จ. นครปฐม
แล้วสร้างพระมหาพุทธปฏิมาปางประทับยืนลีลาสูง 2500 นิ้ ว
 จัดสร้างวัดไทยขึ้นที่ ต.พุทธคยา ประเทศอินเดีย เรียกว่า “วัดไทยพุทธคยา”
 คณะสงฆ์และชาวพุทธ ได้สร้างวัดไทยในตะวันตก ชื่อว่า “วัดพุทธประทีป”
ณ กรุงลอนดอน พ.ศ. 2509
 สร้างวัดไทยที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
เรียกว่า “วัดเชตะวัน”
 มีวัดไทยในสหรัฐอเมริกา ประมาณ 94 วัด อยู่ตามรัฐ
ต่างๆ
 มีวัดไทยในต่างประเทศ เกือบทุกทวีป มากกว่า 162 วัด
 จัดตั้งโรงเรียน “พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์” ในวัดต่างๆ
ทั่วประเทศ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
ด้านภาษา
ด้านวรรณกรรม
ด้านศิลปกรรม
ด้านการศึกษา
ด้านสังคมสงเคราะห์
กาเนิดพิธีกรรมและวันสาคัญต่างๆ
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติไทย
ด้านการเมืองการปกครอง
พระมหากษัตริย์ไทย ทรงปกครองบ้านเมืองโดยธรรม
ทศพิธราชธรรม
ธรรมาธิปไตย
ราชสังคหธรรม
โครงการตามพระราชดาริ/โครงการรัฐบาล
 ด้านเศรษฐกิจ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
 พระพุทธศาสนามีหลักคาสอนเกี่ยวกับการดารงชีวิต
ประกอบการงานอาชีพที่สุจริต และประพฤติตามหลักธรรม
ที่ทาให้ประสบความสาเร็จในกิจกรรมดังกล่าว เช่น
หลักการรู้จักประมาณในการบริโภค (โภชเนมัตตัญญุตา)
หลักการสร้างฐานะทางเศรษฐกิจ (ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์)
หลักประสบความสาเร็จในงาน (อิทธิบาท)
หลักการหาและใช้สอยทรัพย์ (โภคาทิยธรรม)
พระพุทธศาสนาในประเทศไทยปัจจุบัน
 พระพุทธศาสนาเป็น “ศาสนาหลักของชาติไทย” ตามบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
 พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขของชาติ ทรงเป็น “พุทธมามกะ”
และ “อัครศาสนูปถัมภ์”
 พระมหากษัตริย์และรัฐ ร่วมกันอุปถัมภ์บารุงกิจการคณะสงฆ์ และ
ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
 ประชาชนชาวไทย ประมาณร้อยละ 95 นับถือพระพุทธศาสนา
 มีวัดอยู่ในประเทศไทย ประมาณ 32,000 วัด
 มีพระภิกษุประมาณ 300,000 รูป สามเณรประมาณ
80,000 รูป
 มีสถาบันแม่ชีไทย
 มีพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ไทย
 ในประเทศ มี 2 นิกายฝ่ายเถรวาท คือ (1) มหานิกาย (2)
ธรรมยุตนิกาย
 ส่วนนิกายมหายาน คือ จีนนิกาย และ อนัมนิกาย
ประเพณีและพิธีกรรมในศาสนาพุทธไทย
พิธีทอดกฐิน ทอดผ้าป่ า
พิธีเทศมหาชาติ
พิธีบรรพชาอุปสมบท
ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสารทไทย ฯลฯ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfssuser6a0d4f
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 

Tendances (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 

En vedette

ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาPadvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกPadvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)Padvee Academy
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 

En vedette (20)

ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 

Similaire à การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยRung Kru
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกchaichaichaiyoyoyo
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdfmaruay songtanin
 

Similaire à การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย

  • 2. เนื้ อหาการบรรยาย 1. ประวัติความเป็นมาพระพุทธศาสนาโดยย่อ 2. หลักธรรมของพระพุทธศาสนา 3. พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยต่างๆ 4. อิทธิพลของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย 5. พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยปัจจุบัน
  • 3. 1. ความเป็นมาของพระพุทธศาสนา  พุทธศาสนาเกิดขึ้นในประเทศอินเดียก่อน พ.ศ. 45 ปี  เป็นศาสนาหนึ่งที่สาคัญในโลกปัจจุบัน  เป็นศาสนากลุ่ม อเทวนิยม (Atheism)  มีผู้นับถือหลายร้อยล้านคนในกลุ่มประเทศเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก และเอเชียอาคเนย์ (โดยเฉพาะใน ประเทศไทย)
  • 5. 2. หลักธรรมของพระพุทธศาสนา  หลักความเชื่อ คือ หลักกรรม  หลักความรู้ คือ ปัญญา 3 ระดับ (สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา และ ภาวนามยปัญญา)  หลักความจริง คือ ไตรลักษณ์ อริยสัจ 4  หลักปฏิบัติ คือ ไตรสิกขา มรรคมีองค์ 8  เป้ าหมายสูงสุด คือ นิพพาน
  • 7. การเผยแผ่พุทธศาสนาสมัยพระเจ้าอโศก  พระเจ้าอโศกกับการอุปถัมภ์บารุงพระพุทธศาสนา  การสังคายนาครั้งที่ 3 นโยบายเผยแผ่พระพุทธศาสนา ของพระเจ้าอโศกสู่ 9 สาย  สายที่ 8 สู่ดินแดนสุวรรณภูมิ  หัวหน้าสาย คือ พระโสณะ และ พระอุตตระ
  • 8.
  • 9.
  • 10. สุวรรณภูมิ : หลักฐานการเผยแผ่ในประเทศไทย  ดินแดนที่เรียกว่า สุวรรณภูมิ มีขอบเขตกว้างขวาง  ประเทศที่รวมกันอยู่ในดินแดนนี้ มี 7 ประเทศในปัจจุบัน คือ ไทย พม่า ศรีลังกา เวียดนาม เขมร ลาว มาเลเซีย  สันนิษฐานว่า สุวรรณภูมิ มีใจกลางอยู่ที่ จ.นครปฐม  หลักฐานทางโบราณสถานสาคัญ เช่น  พระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบ เป็นหลักฐาน  พม่าก็สันนิษฐานว่า มีใจกลางอยู่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของ พม่า
  • 14.  พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยใน ปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236  สมัยที่พระเจ้าอโศกส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย  สายที่ 8 คือ พระโสณะและพระอุตตระ ไปยังสุวรรณภูมิ  สายที่ 9 คือ พระมหินทเถระและพระสังฆมิตตาเถรี ไปยัง เกาะลังกา คือ ประเทศศรีลังกา ในปัจจุบัน
  • 15.
  • 16. พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยต่างๆ สมัยทวาราวดี ต้นพุทธศตวรรษที่ 6 สมัยอาณาจักรอ้ายลาว พุทธศตวรรษที่ 6 สมัยศรีวิชัย พ.ศ. 1300 สมัยลพบุรี พ.ศ. 1550 สมัยเถรวาท แบบพุกาม พุทธศตวรรษที่ 16
  • 17. สมัยสุโขทัย พ.ศ. 1800 สมัยล้านนา พ.ศ. 1839 สมัยอยุธยา พุทธศตวรรษที่ 19 สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2310 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325
  • 18. 1.สมัยทวาราวดี ต้นศตวรรษที่ 6  หลวงจีนเฮี่ยนจัง หรือ พระถังซาจั๋ง ได้จาริกมาดินแดน แห่งนี้ ในศตวรรษที่ 12 กล่าวถึง อาณาจักรทวาราวดีว่า ชื่อ โตโลโปติ (tolopoti) อยู่ทางตะวันตกของฟูนาน  ทิศตะวันตกติดต่อกับอาณาจักรศรีเกษตร คือประเทศพม่า ปัจจุบัน ส่วนตะวันออกติดต่อกับอาณาจักร อิสานปุระ (อาณาจักรเขมร)  อาณาจักรนี้ มีความเจริญรุ่งเรืองมากทางด้านการค้า และมี ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นหลัก
  • 19.
  • 20. 2. สมัยอาณาจักรอ้ายลาว พุทธศตวรรษที่ 6  สมัยอาณาจักรอ้ายลาว ซึ่งเป็นอาณาจักรของบรรพบุรุษชาวไทยที่อาศัย อยู่บริเวณลุ่มน้าแยงซีเกียง ซึ่งปัจจุบันอยู่ภายใต้การยึดครองของชาวจีน ฮั่น  พระพุทธศาสนาในยุคนี้ คาดว่าเป็นแบบมหายาน ในสมัยขุนหลวงม้าว กษัตริย์ที่ทรงครองราชย์อยู่ในอาณาจักรอ้ายลาว ก่อนที่จะอพยพเข้ามาสู่ ดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน ได้รับเอาพระพุทธศาสนามหายาน โดย การนาของพระสมณทูตชาวอินเดียมาเผยแผ่ ในคราวที่พระเจ้ากนิษกะ มหาราชทรงอุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 4 ของฝ่ายมหายาน  ทาให้หัวเมืองไทย เปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายานแทน เถรวาท
  • 21. 3. สมัยศรีวิชัย พ.ศ. 1300  อาณาจักรศรีวิชัยอยู่ในเกาะสุมาตรา เจริญรุ่งเรืองในช่วงพุทธ ศตวรรษที่ 13 ได้แผ่อานาจคลุมมาถึงจังหวัดสุราษฏร์ธานี  กษัตริย์ศรีวิชัย ทรงนับถือพุทธศาสนาแบบมหายาน พระพุทธศาสนาแบบมหายานจึงได้แผ่เข้ามาสู่ภาคใต้ของ ประเทศไทย  หลักฐานที่ปรากฏ คือ เจดีย์พระบรมธาตุไชยา จ.สุราษฎร์ธานี  หลักฐานที่ปรากฏ คือ พระบรมธาตุ จ. นครศรีธรรมราช  รูปหล่อพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
  • 22.
  • 23. 4. สมัยลพบุรี พ.ศ. 1550  ในสมัยกษัตริย์กัมพูชาราชวงศ์สุริยวรมันเรืองอานาจ  ได้แผ่อาณาเขตขยายออกมาทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง ของประเทศไทย ในราว พ.ศ. 1540  ตั้งราชธานีอานวยการปกครองเมืองต่างๆ ในดินแดนดังกล่าวหลาย แห่ง เช่น  เมืองลพบุรี ปกครองเมืองที่อยู่ในอาณาเขตทวารวดี ส่วนข้างใต้  เมืองสุโขทัย ปกครองเมืองที่อยู่ในอาณาเขตทวารวดี ส่วนข้างเหนือ  เมืองศรีเทพ ปกครองหัวเมืองที่อยู่ตามลุ่มแม่น้าป่ าสัก  เมืองพิมาย ปกครองเมืองที่อยู่ในที่ราบสูงตอนข้างเหนือ
  • 24.
  • 25.  ประชาชนในสมัยนี้ นับถือพระพุทธศาสนาทั้งแบบเถรวาทที่สืบมาแต่ เดิม กับแบบมหายานและศาสนาพราหมณ์ที่เข้ามาใหม่ด้วย ทาให้มีผู้ นับถือพระพุทธศาสนาทั้ง 2 แบบ และมีพระสงฆ์ทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่าย เถรวาท และฝ่ายมหายาน  หลักฐานโบราณสถานในสมัยนี้ เช่น พระปรางค์สามยอดที่จังหวัดลพบุรี ปราสาทหินพิมาย ที่จังหวัดนครราชสีมา และปราสาทหินเขาพนมรุ้งที่ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นต้น  ส่วนพระพุทธรูปที่สร้างในสมัยนั้นถือเป็นศิลปะอยู่ในกลุ่ม ศิลปสมัย ลพบุรี
  • 26. 5. สมัยเถรวาทแบบพุกาม พุทธศตวรรษที่ 16  สมัยที่พระเจ้าอนุรุทธมหาราช กษัตริย์พุกามเรืองอานาจ ทรง รวบรวมเอาพม่ากับมอญเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกัน แล้วแผ่อาณาเขต เข้ามาถึงอาณาจักรล้านนา อาณาจักรล้านช้าง ละโว้ และทวารวดี  พระเจ้าอนุรุทธทรงนับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ทรงส่งเสริม ทานุบารุงพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง  เมื่ออาณาจักรพุกามของกษัตริย์พม่าเข้ามาครอบครองดินแดนแถบนี้ พบปูชนียสถานแบบพม่าหลายแห่ง และเจดีย์ที่มีฉัตรอยู่บนยอด และฉัตรที่ 4 มุมของเจดีย์ ก็ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะพุกามแบบ พม่า
  • 27. 6. สมัยสุโขทัย พ.ศ. 1800  ประมาณ ปี พ.ศ. 1698 พระเจ้าปรักกรมพาหุ ได้ทรงฟื้ นฟู พระพุทธศาสนาขึ้นในประเทศศรีลังกา กิตติศัพท์เกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้แพร่ มาถึงพม่า มอญ และไทย ภิกษุในประเทศเหล่านี้ เดินทางไปศึกษา พระพุทธศาสนาในศรีลังกา เกิดความเลื่อมใส อุปสมบทใหม่เป็นนิกาย ลังกาวงศ์ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์มาตั้งสานักอยู่ที่ จ. นครศรีธรรมราช ประมาณ พ.ศ. 1820  เมื่อพ่อขุนรามคาแหงมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงสดับกิตติศัพท์ของ พระสงฆ์ลังกา จึงทรงอาราธนาพระมหาเถระสังฆราช ซึ่งเป็นพระเถระชาว ลังกาที่มาเผยแผ่อยู่ที่นครศรีธรรมราช มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในกรุง สุโขทัย
  • 28.  ประมาณ ปี พ.ศ. 1897 พระยาลิไท ขึ้นครองราชย์ในกรุงสุโขทัย พระองค์ได้ทรงส่งทูตไปอาราธนาพระมหาวาสี สังฆราชชาวลังกา ชื่อ “สุมนะ” เข้ามายังกรุงสุโขทัย  ด้วยพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระองค์ทรงได้เสด็จออกบวช ชั่วคราว ณ วัดป่าม่วง ในเขตอรัญญิก  พระยาลิไท ทรงนิพนธ์หนังสือ “เตภูมิกถา” หรือ “ไตรภูมิพระร่วง” อันเป็นหนังสือที่ทรงอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ และวิถีปฏิบัติของ ประชาชนทั่วไปในเรื่องนรก สวรรค์ และการทาความดีความชั่ว
  • 29.  ในสมัยพระยาลิไท พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง มาก นับเป็นการเริ่มศักราชแห่งรุ่งเรืองของ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยอย่างแท้จริง  ศิลปะสมัยสุโขทัยได้รับการกล่าวขานว่างดงามมาก โดยเฉพาะพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย มีลักษณะ งดงาม ไม่มีศิลปะสมัยใดเหมือน
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35. 7. สมัยล้านนา พ.ศ. 1839  ปี พ.ศ. 1839 พระยามังราย ทรงสร้างราชธานีขึ้น ชื่อว่า "นพบุรี ศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ได้ตั้งถิ่นฐาน ณ ลุ่มแม่น้าปิง  ทรงทานุบารุงพระพุทธศาสนา ได้สร้างวัดต่าง ๆ มากมาย ทั้งที่ เป็นฝ่ายคามวาสี และอรัญญวาสี จนพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง  เมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรล้านนา เช่น เชียงราย ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน พะเยา และ ศรีนพวงศ์ ต่างก็มีความเจริญรุ่งเรือง  โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านพระพุทธศาสนา พิธีกรรมและความเชื่อ ทางศาสนามีอิทธิพลต่อชาวล้านนาอย่างมาก
  • 38.  พ.ศ. 2020 ในรัชสมัยของพระเจ้าติโลกราชแห่งเชียงใหม่ ได้ทาการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรกในดินแดน ประเทศไทยปัจจุบันขึ้น ณ วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด)  ในสมัยล้านนา ได้เกิดมีพระเถระนักปราชญ์ชาวล้านนา หลายรูป ท่านเหล่านั้นได้รจนาคัมภีร์สาคัญทาง พระพุทธศาสนาไว้เป็นจานวนมาก ได้แก่ พระสิริมังคลา จารย์ พระญาณกิตติเถระ พระรัตนปัญญา พระโพธิรังสี พระนันทาจารย์ และ พระสุวรรณรังสี
  • 40. 8. สมัยอยุธยา พุทธศตวรรษที่ 19  อาณาจักรอยุธยานับถือพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกา วงศ์ โดยพระมหากษัตริย์หลายพระองค์ทรงเลื่อมใสใน พระพุทธศาสนา เช่น สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ เสด็จออกผนวชระหว่างครองราชย์ที่วัดจุฬามณี จังหวัด ลพบุรี  พ.ศ.2296 สมัยพระเจ้าบรมโกศ ทางกษัตริย์ลังกาได้ส่ง คณะทูตมาของพระสงฆ์จากประเทศไทยเพื่อเดินทางไป ฟื้ นฟูพระพุทธศาสนาที่ศรีลังกา
  • 41.  ทรงส่งพระอุบาลีและพระอริยมุนี พร้อมพระสงฆ์อื่นๆ อีก 12 รูป เดินทางไปลังกาเพื่อไปสืบอายุพระพุทธศาสนา จนพระพุทธศาสนาใน ลังการุ่งเรืองเรียก เรียกนิกายนี้ ว่า นิกายสยามวงศ์ หรือ นิกายอุบาลี วงศ์ ซึ่งปรากฏอยู่ในประเทศศรีลังกาจนถึงปัจจุบัน  พระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยาได้รับอิทธิพลของพราหมณ์เข้ามามาก พิธีกรรมต่างๆ ได้ปะปนพิธีของพราหมณ์ เน้นความขลังความศักดิ์สิทธิ์ และอิทธิปาฎิหาริย์ มีเรื่องไสยศาสตร์เข้ามาปะปนอยู่มาก  ประชาชนมุ่งเรื่องการบุญการกุศล สร้างวัดวาอาราม สร้างปูชนียวัตถุ บารุงศาสนาเป็นส่วนมาก
  • 42.
  • 43. 9. สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2310  พ.ศ. 2310 พระเจ้าตากสินมหาราช สถาปนา กรุงธนบุรี ได้ทรงฟื้ นฟู พระพุทธศาสนาที่เสื่อมโทรมไปเพราะสงครามกับพม่า  พระองค์ทรงให้นิมนต์พระสงฆ์จากทั่วประเทศ มาประชุมกันที่วัดบาง หว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆสิตาราม กทม.) เพื่อคัดเลือกพระสงฆ์ที่ทรง คุณสมบัติขึ้นเป็นพระสังฆราช  ได้พระอาจารย์ศรี วัดประดู่ กรุงศรีอยุธยา เป็น สมเด็จพระสังฆราช เพื่อรับผิดชอบการฟื้ นฟูพระพุทธศาสนาให้กลับคืนสู่ความรุ่งเรือง ดังเดิม  พ.ศ. 2322 กองทัพไทยได้อัญเชิญ พระแก้วมรกต จากเวียงจันทร์ มายังประเทศไทย
  • 44.
  • 45. 10. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325  สมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช เสด็จขึ้น ครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2325 ต่อจากพระเจ้าตากสิน ได้ทรงย้ายราชธานีจากกรุง ธนบุรี มาตั้งราชธานีใหม่ เรียกชื่อว่า “กรุงเทพมหานคร”  ทรงสร้างและปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ เช่น การสร้าง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัด สุทัศน์เทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นต้น  พ.ศ. 2331 ได้ทรงอาราธนาพระสงฆ์ผู้เชี่ยวชาญพระไตรปิฎก 218 รูป กับราช บัณฑิต 32 คน ทาการสังคายนาขึ้นที่ “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์” ในกรุงเทพ ใช้เวลาทาอยู่ 5 เดือน สาเร็จ  พ.ศ. 2332 โปรดให้สร้าง “หอมณเฑียรธรรม” ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อเป็น ที่เก็บรักษาและให้คัดลอกไปไว้ตามพระอารามหลวงต่างๆ อีกหลายวัด
  • 46.
  • 47.
  • 48.  สมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จขึ้น ครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2352 เป็นทรงทานุบารุงส่งเสริม พระพุทธศาสนาเหมือนอย่างพระมหากษัตริย์ไทยแต่โบราณ  ในรัชสมัยของพระองค์ได้ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชถึง 3 พระองค์ คือ สมเด็จพระสังฆราช (มี) ,สมเด็จพระสังฆราช (สุก), และสมเด็จพระสังฆราช (สอน)  ได้จัดให้มีการจัดงานวันวิสาขบูชาขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2360 ซึ่งแต่เดิมก็เคยปฏิบัติถือกันมาเมื่อ ครั้งกรุงสุโขทัย แต่ได้ขาดตอนไปตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า
  • 49.  สมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ มีการสร้างพระไตรปิฎกฉบับหลวงเพิ่มจานวนขึ้นไว้อีกหลาย ฉบับครบถ้วนกว่ารัชกาลก่อนๆ โปรดให้แปลพระไตรปิฎกเป็น ภาษาไทย  ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามหลายแห่ง และสร้างวัดใหม่ คือ วัดเทพธิดาราม วัดราชราชนัดดา และวัดเฉลิมพระเกียรติ  มีการตั้งคณะสงฆ์ “ธรรมยุติกนิกาย” ขึ้นโดยพระภิกษุเจ้าฟ้ า มงกุฎ (พระบาสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ขณะทรงผนวช ณ วัดสมอราย (วัดราชาธิวาส)
  • 50.  สมัยราชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อทรงเป็น เจ้าฟ้ ามงกุฎได้ผนวช 27 พรรษาแล้วได้ลาสิกขาขึ้นครองราชย์เมื่อ พระชนมายุ 57 พรรษา พ.ศ. 2239  ด้านการพระศาสนา ทรงพระราชศรัทธาสร้างวัดใหม่ขึ้นหลายวัด เช่น วัดปทุมวนาราม วัดโสมนัสวิหาร วัดมกุฎกษัตริยาราม วัดราชประดิษฐ์ สถิตมหาสีมาราม และวัดราชบพิตร เป็นต้น ตลอดจนบูรณะวัดต่าง ๆ อีกมาก  โปรดให้มีพระราชพิธี "มาฆบูชา" ขึ้นเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2394 ณ ที่ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนได้ถือปฏิบัติสืบมาจนถึงทุกวันนี้
  • 51.  สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้น ครองราชย์ เมื่อ พ.ศ. 2411 ทรงมีศรัทธาเลื่อมใสเสด็จออกผนวชใน ระหว่างการครองราชย์ เป็นเวลา 15 วัน  ทรงสร้างวัดใหม่ขึ้น คือ วัดราชบพิตร วัดเทพศิรินทราวาส วัดเบญจม บพิตร วัดอัษฎางนิมิตร วัดจุฑาทิศราชธรรมสภา และวัดนิเวศน์ธรรม ประวัติ ทรงบูรณะวัดมหาธาตุ และวัดอื่นๆ อีก  ทรงให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกบาลีเป็นอักษรไทยครั้งแรก จานวน1000 ชุด  ทรงสถาปนามหาวิทยาลัยสงฆ์ 2 แห่ง คือ มหามกุฏราชวิทยาลัย และ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • 52.  สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงพระปรีชาปราดเปรื่องในความรู้ทางพระศาสนามาก ทรงนิพนธ์หนังสือ แสดงคาสอนในพระพุทธศาสนาหลายเรื่อง เช่น เทศนาเสือป่ า พระพุทธเจ้าตรัส รู้อะไร เป็นต้น ถึงกับทรงอบรมสั่งสอนอบรมข้าราชการด้วยพระองค์เอง  ทรงโปรดให้ใช้ พุทธศักราช (พ.ศ.) แทน ร.ศ. เมื่อ พ.ศ. 2456 ให้เปลี่ยน กระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ. 2454 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเปลี่ยน วิธีการสอบบาลีสนามหลวงจากปากเปล่ามาเป็นข้อเขียน เป็นครั้งแรก  พ.ศ. 2462 ถึง พ.ศ. 2463 โปรดให้พิมพ์คัมภีร์อรรถกถาแห่งพระไตรปิฎกและ อรรถกถาชาดก และคัมภีร์อื่นๆ เช่น วิสุทธิมรรค คัมภีร์มิลินทปัญหา เป็นต้น
  • 53.  สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดให้มีการทาสังคายนาพระไตรปิฎกขึ้ น ตั้งแต่ พ.ศ. 2468 - 2473 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นการ สังคายนาครั้งที่ 3 ในเมืองไทย  ทรงจัดให้พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ ชุดละ 45 เล่ม จานวน 1,500 ชุด และพระราชทานแก่ประเทศต่าง ๆ ประมาณ 500 ชุด
  • 54.  สมัยรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จขึ้น ครองราชย์เป็นรัชกาลที่ 8 ในขณะพระพระชนมายุ เพียง 9 พรรษา เท่านั้น  ในด้านการศาสนาได้มีการแปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาไทย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ  พระไตรปิฎก แปลโดยอรรถ พิมพ์เป็นเล่มสมุด 80 เล่ม เรียกว่า พระไตรปิฎกภาษาไทย แต่ไม่เสร็จสมบูรณ์ และได้ทาต่อจนเสร็จเมื่อ งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เมื่อปี พ.ศ. 2500  พระไตรปิฎก แปลโดยสานวนเทศนา พิมพ์ใบลาน แบ่งเป็น 1250 กัณฑ์ เรียกว่า พระไตรปิฎกฉบับหลวง เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2492
  • 55.  สมัยรัชกาลที่ 9 พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ ดุลยเดช ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นรัชกาลที่ 9 สืบต่อมา ทรงมีพระราช ศรัทธาในพระพุทธศาสนา และทรงเป็นศาสนูปถัมภก ทรงให้การ อุปถัมภ์แก่ทุกศาสนา  ทรงสร้างวัด วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร วัดประจารัชกาล ที่ จังหวัดชลบุรี  ทรงปกครองบ้านเมืองโดยสงบร่มเย็น ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในรัชสมัยรัชกาลปัจจุบันได้มีการ ส่งเสริมพุทธศาสนาด้านต่าง ๆ มากมาย
  • 56.  ในปี พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นปีครบรอบ 2,500 ปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปริ นิพพาน วันที่ 12-18 พฤษภาคม 2500 รัฐบาลได้จัดงานฉลอง 25 พุทธ ศตวรรษขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งอินเดียและลังกาเรียกว่า "พุทธชยันตี"  ในปี พ.ศ. 2500 นี้ รัฐบาลได้กาหนดพิธีเฉลิมฉลองทั่วประเทศ มีการ จัดสร้าง “พุทธมณฑล” ขึ้น ณ ที่ดิน 2,500 ไร่ อ.นครชัยศรี จ. นครปฐม แล้วสร้างพระมหาพุทธปฏิมาปางประทับยืนลีลาสูง 2500 นิ้ ว  จัดสร้างวัดไทยขึ้นที่ ต.พุทธคยา ประเทศอินเดีย เรียกว่า “วัดไทยพุทธคยา”  คณะสงฆ์และชาวพุทธ ได้สร้างวัดไทยในตะวันตก ชื่อว่า “วัดพุทธประทีป” ณ กรุงลอนดอน พ.ศ. 2509
  • 57.  สร้างวัดไทยที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เรียกว่า “วัดเชตะวัน”  มีวัดไทยในสหรัฐอเมริกา ประมาณ 94 วัด อยู่ตามรัฐ ต่างๆ  มีวัดไทยในต่างประเทศ เกือบทุกทวีป มากกว่า 162 วัด  จัดตั้งโรงเรียน “พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์” ในวัดต่างๆ ทั่วประเทศ
  • 60.  ด้านเศรษฐกิจ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)  พระพุทธศาสนามีหลักคาสอนเกี่ยวกับการดารงชีวิต ประกอบการงานอาชีพที่สุจริต และประพฤติตามหลักธรรม ที่ทาให้ประสบความสาเร็จในกิจกรรมดังกล่าว เช่น หลักการรู้จักประมาณในการบริโภค (โภชเนมัตตัญญุตา) หลักการสร้างฐานะทางเศรษฐกิจ (ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์) หลักประสบความสาเร็จในงาน (อิทธิบาท) หลักการหาและใช้สอยทรัพย์ (โภคาทิยธรรม)
  • 61. พระพุทธศาสนาในประเทศไทยปัจจุบัน  พระพุทธศาสนาเป็น “ศาสนาหลักของชาติไทย” ตามบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550  พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขของชาติ ทรงเป็น “พุทธมามกะ” และ “อัครศาสนูปถัมภ์”  พระมหากษัตริย์และรัฐ ร่วมกันอุปถัมภ์บารุงกิจการคณะสงฆ์ และ ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา  ประชาชนชาวไทย ประมาณร้อยละ 95 นับถือพระพุทธศาสนา  มีวัดอยู่ในประเทศไทย ประมาณ 32,000 วัด
  • 62.  มีพระภิกษุประมาณ 300,000 รูป สามเณรประมาณ 80,000 รูป  มีสถาบันแม่ชีไทย  มีพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ไทย  ในประเทศ มี 2 นิกายฝ่ายเถรวาท คือ (1) มหานิกาย (2) ธรรมยุตนิกาย  ส่วนนิกายมหายาน คือ จีนนิกาย และ อนัมนิกาย
  • 64.