SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  44
สังสารวัฏ
สังสารวัฏนี้ ยาวไกล
เหน็ดเหนื่อยสักเท่าไร เวียนว่าย
ภพภูมิผ่านเภทภัย พลัดพราก เพียรนา
ละหน่ายกิเลสร้าย หลุดพ้นเวียนวน
ประเด็นการนาเสนอ
๑. ความหมายและประเภทแห่งสังสารวัฎ
๒. กระบวนการแห่งสังสารวัฎ
๓. โยนิโสมนสิการ กับ สังสารวัฏ
๔. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัคคัญญสูตร
๕. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจักกวัติสูตร
สังสารวัฏ
อุปมาเหมือนโค ซึ่งเทียมเกวียนแล้ว จะเดินไปไหนก็มี
เกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่งสัตว์โลกเกิดมา ก็นาทุกข์ประจา
สังขารติดมาด้วยตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขาร
ออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามเขาไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอก
เกวียนครอบอยู่ ต้องลากเกวียนติดตามไปทุกที่
ความหมายของสังสารวัฏ
• ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคาว่า
“สังสารวัฏ” ไว้ว่า น. การหมุนเวียนแห่งโลกหรือชีวิต, เวียนว่าย
ตายเกิดอยู่ในโลก, เขียน สังสารวัฏฏ์ ก็มี
• คาว่า “สังสารวัฏ” ตามพจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวล
ศัพท์ของพระเทพเวที ได้ให้ความหมายไว้ว่า ภพที่เวียนเกิด
เวียนตาย, การเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในโลก: สังสารวัฏ หรือ
สังสารวัฏฏ์ ก็เรียก
ประเภทแห่งสังสารวัฏ
ประเภทแห่งสังสารวัฏ
ประเภทที่ ๑. เหฏฐิมวัฏฏสงสาร
ประเภทที่ ๒. มัชฌิมวัฏสงสาร
ประเภทที่ ๓. อุปริมวัฏสงสาร
• คือ การที่สัตว์โลกที่ยังมีกิเลสตัญหาอยู่ ประกอบ
อกุศลกรรมแล้วต้องไปท่องเที่ยวเวียนเกิดเวียนตาย อยู่ในภูมิ
ชั้นต่า ชั้นทราม อันมีความทุกข์มาก หรือมีความทุกข์โดยส่วน
เดียว ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ๔ ภูมิ คือ
๑. นิรยภูมิ โลกนรก
๒. เปตติวิสยภูมิ โลกเปรต
๓. อสุรกายภูมิ โลกอสุรกาย
๔. ติรัจฉานภูมิ โลกเดียรัจฉาน
ประเภทที่ ๑. เหฏฐิมวัฏฏสงสาร
• คือ การที่สัตว์โลกที่ยังมีกิเลสตัณหาอยู่ แล้วต้องไปท่องเที่ยวเวียน
เกิดเวียนตาย อยู่ในภูมิชั้นกลาง อันเป็นโลกชั้นดี มีโลกียสุข
พอประมาณ หรือมีสุขบ้างทุกข์บ้าง หรือมีสุขโดยส่วนเดียวแต่เป็นสุขที่
เจือด้วยทุกข์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ๗ ภูมิ คือ
๑. มนุสสภูมิ โลกมนุษย์
๒. จาตุมหาราชิกาภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๑
๓. ตาวติงสาภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๒
๔. ยามาภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๓
๕. ตุสิตาภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๔
๖. นิมมานรดีภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๕
๗. ปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๖
ประเภทที่ ๒. มัชฌิมวัฏสงสาร
• คือ การที่สัตว์โลกที่ยังมีกิเลสตัญหาอยู่แต่มีน้าใจสูงไปด้วย
คุณธรรมพยายามบาเพ็ญสมถภาวนาจนได้ฌานแล้วไปท่องเที่ยว
เวียนเกิดเวียนตายอยู่ในภูมิชั้นสูง อันเป็นภูมิชั้นดีวิเศษมีสุขมาก มี
ความสุขสบายอันปราณีตสูงสุดแต่ยังเป็นสามิสสุข คือเป็นสุขเจือ
ทุกข์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ๒๐ ภูมิ คือ
๑. พรหมปาริสัชชาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑
๒. พรหมปุโรหิตาภูมิ พรหมโลกชั้น ๒
๓. มหาพรหมาภูมิ พรหมโลกชั้น ๓
๔. ปริตรตาภูมิ พรหมโลกชั้น ๔
๕. อัปปมาณาภาภูมิ พรหมโลกชั้น ๕
ประเภทที่ ๓. อุปริมวัฏสงสาร
๖. อาภัสนาภูมิ พรหมโลกชั้น ๖
๗. ปริตตสุภาภูมิ พรหมโลกชั้น ๗
๘. อัปปมาณสุภาภูมิ พรหมโลกชั้น ๘
๙. สุภกิณหาภูมิ พรหมโลกชั้น ๙
๑๐. เวหัปผลาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๐
๑๑. อสัญญีสัตตาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๑
๑๒. อวิหาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๒
๑๓. อตัปปาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๓
๑๔. สุทัสสาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๔
๑๕. สุทัสสีภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๕
๑๖. อกนิฏฐภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๖
๑๗. อากาสานัญจายตนภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๗
๑๘. วิญญาณัญตายตนภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๘
๑๙. อากิญจัญญายตนภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๙
๒๐. เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิพรหมโลกชั้น ๒๐
ประเภทที่ ๓. อุปริมวัฏสงสาร
มนุสสภูมิ หรือ โลกมนุษย์
๑. มนุษย์ผู้มืดมาแล้วมืดไป
๒. มนุษย์ผู้มืดมาแล้วสว่างไป
๓. มนุษย์ผู้สว่างมาแล้วมืดไป
๔. มนุษย์ผู้สว่างมาแล้วสว่างไป
• เป็นบุคคลที่เกิดในตระกูลต่า ยากจน ขัดสน ลาบาก ฝืดเคือง
อย่างมากในการหาเลี้ยงชีพ มีปัจจัย ๔ อย่างหยาบ เช่น มีอาหาร
และน้าน้อย มีเครื่องนุ่งห่มเก่า ร่างกายมอซอ หม่นหมองหรือมี
ร่างกายไม่สมประกอบ บ้าใบ้ บอด หนวก หาที่นอน ที่อยู่อาศัย ไม่
ค่อยได้ และเขากลับซ้าประพฤติทุจริตทางกาย วาจา ใจ เมื่อตายไป
ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
๑. มนุษย์ผู้มืดมาแล้วมืดไป
• เป็นบุคคลที่เกิดในตระกูลต่า เป็นคนขัดสน มีข้าวน้า อาหาร
น้อย มีอาชีพฝืดเคือง ผิวพรรณหยาบ ไม่น่าดูไม่น่าชม แคระ มีโรค
มาก ตาเสีย เป็นง่อย ฯลฯ แต่เขาเป็นคนประพฤติสุจริตด้วยกาย
วาจา ใจ มีศรัทธา ไม่มีความตระหนี่ เป็นคนมีความคิดประเสริฐ มี
ใจไม่ฟุ้ งซ่าน ย่อมให้ทาน ย่อมลุกรับสมณะชีพราหมณ์ หรือวณิพก
อื่น ๆ กริยามารยาทเรียบร้อย ไม่ห้ามคนที่กาลังจะให้ทาน เมื่อ
ตายไปย่อมถึงสุคติโลกสวรรค์
๒. มนุษย์ผู้มืดมาแล้วสว่างไป
เป็นบุคคลผู้เกิดในตระกูลสูง มีโภคสมบัติมาก มีเงินมี
ทองล้นเหลือทั้งเป็นคนรูปร่างสมส่วน สะสวย งดงาม แต่
กลับเป็นคนประพฤติทุจริตด้วยกาย วาจา ใจ ไม่มีศรัทธา
ตระหนี่ ไม่มีความเอื้อเฟื้อ ไม่มีความกรุณาอาทร มีใจหยาบ
ช้า มักขึ้งโกรธ ย่อมด่า ย่อมบริภาษ บุคคลต่าง ๆ ไม่เว้น
แม้กระทั่งมารดา บิดา สมณะชีพราหมณ์ ย่อมห้ามคนที่
กาลังให้โภชนาหารแก่คนที่ขอ เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงอบาย
ทุคติ วินิบาต นรก
๓. มนุษย์ผู้สว่างมาแล้วมืดไป
เป็นบุคคลที่เกิดในตระกูลสูงเป็นคนมั่งคั่ง มี
ทรัพย์เป็นอันมาก มีเงินมีทองล้นเหลือ มีของใช้น่า
ปลื้มใจ มีผิวพรรณงาม น่าดู และเขาย่อมประพฤติ
สุจริตทางกาย วาจา ใจ เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงสุคติ
โลกสวรรค์
๔. มนุษย์ผู้สว่างมาแล้วสว่างไป
กระบวนการแห่งสังสารวัฏ
กระบวนการแห่งสังสารวัฏ
กระบวนการแห่งสังสารวัฏหรือการเวียนว่ายตายเกิด
ที่เป็นไปตามหลักแห่งเหตุปัจจัยในแง่หนึ่งก็คือ กระบวนการ
แห่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง หรือจะมองในแง่ของกรรมก็ได้แก่
ไตรวัฏ (วัฏฏะ ๓) คือ กิเลส, กรรม, วิบาก นั่นคือบุคคลที่ยังมี
กิเลส การกระทาของบุคคลนั้นย่อมเป็นกรรม และกรรมนั่น
ย่อมก่อให้เกิดวิบากคือผลของกรรมจะเป็นอย่างไร ก็ขึ้นอยู่
กับเหตุคือกรรมที่ได้กระทาลงไป
ไตรวัฏ (วัฏฏะ ๓)
• “ไตรวัฏ” แปลว่า วน ๓ หรือ วงจร ๓
(ไตร – ๓ วัฏฏ – วน)
ซึ่งได้แก่ การวนของสภาวธรรม ๓ ประการ คือ
๑. กิเลส คือสิ่งที่ทาใจให้เศร้าหมอง
๒. กรรม คือการทาดีและการทาชั่ว
๓. วิบาก คือผลของกรรม
• ไตรวัฏเป็นการเวียนรอบ ๓ ประการอย่างไร คือ มีกิเลสอัน
ได้แก่ โลภ โกรธ หลง ก็เป็นเหตุให้คนหรือสัตว์ต้องสร้างกรรมเป็น
กรรมดีบ้าง เป็นกรรมชั่วบ้าง เมื่อทากรรมแล้วก็เป็นเหตุให้ได้รับ
วิบาก คือผลของกรรม เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง ตามผลของกรรมที่
ตนทาไว้เมื่อได้รับวิบาก อันเป็นผลของกรรมเป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ก็
เกิดกิเลสอีก เมื่อเกิดกิเลสก็เป็นเหตุให้ทากรรมอีก เมื่อทากรรมก็
เป็นเหตุให้ได้รับวิบากอีก วนเวียนกันอยู่อย่างนี้ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด
เรียกว่า ไตรวัฏ ทาให้โซ่แห่งชีวิตดาเนินไปอย่างไม่ขาดสายคือทาให้
การเวียนว่ายตายเกิดยังมีอยู่อีกตลอดไป
ไตรวัฏในปฏิจสมุปบาท
• ในปฏิจสมุปบาท มีไตรวัฏ วน ๓ ของกิเลส กรรม และวิบาก
• - กิเลส ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน เรียกว่า กิเลสวัฏ
• - กรรม ได้แก่ สังขาร และภพส่วนที่เป็นกรรม เรียกว่า กรรมวัฏ
• - วิบาก ได้แก่ วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะเวทนา ภพ
ส่วนที่เป็น อุปปัติภพ ชาติ ชรา และมรณะ เรียกว่า วิปากวัฏ
วัฏทั้ง ๓ นี้ จะหมุนเวียนต่อเนื่องเป็นปัจจัยหมุนเวียนกันและ
กันทาให้วงจรชีวิตดาเนินไปอย่างไม่ขาดสาย ซึ่งเขียนออกมา
เป็นภาพ ได้ดังนี้
โยนิโสมนสิการ กับ สังสารวัฏ
ความหมาย
โยนิโสมนสิการ หมายถึง การใช้ความคิดอย่างถูกวิธี
ความรู้จักคิด คิดเป็น คิดอย่างมีระเบียบ คือ การกระทาใน
ใจโดยแยบคาย รู้จักคิดวิเคราะห์ ไม่มองสิ่งต่าง ๆ อย่างผิว
เผิน มองสิ่งทั้งหลายด้วยความคิดที่พิจารณาสืบค้นถึงต้นเค้า
สาวหาเหตุผลจนตลอดสาย แยกแยะออก วิเคราะห์ดูด้วย
ปัญญา ที่คิดเป็นระเบียบ และโดยอุบายวิธีให้เห็นสิ่งนั้น ๆ
หรือปัญหานั้น ๆ ตามสภาวะ และตามความสัมพันธ์แห่ง
เหตุปัจจัย
โยนิโสมนสิการ มีวิธีคิดสรุปลักษณะความคิดได้เป็น ๔ แบบ
• ๑. อุปายมนสิการ คือคิดถูกวิธี และใช้วิธีการนั้นอย่างถูกต้องว่องไว
เข้าถึงความจริง , หยั่งรู้สามัญลักษณะของสิ่งทั้งหลาย
• ๒. ปถมนสิการ คือคิดมีระเบียบ ไม่กระโดดไปกระโดดมา คิดอย่างมี
เป้ าหมาย มีขั้นตอน เป็นลาดับ ไม่วกไปวนมา
• ๓. การณมนสิการ คือคิดมีเหตุผล รู้จักเชื่อมโยงว่าเหตุผลนี้นาไปสู่ผล
อะไรหรือผลนี้มาจากเหตุอะไร
• ๔. อุปปาทกมนสิการ คือคิดเป็นกุศล คิดให้เกิดผล เป็นการคิดเพื่อ
ค้นหาแก่นสารสาระ ก่อให้เกิดความเพียร หายกลัว หายโกรธ มีสติ
จิตใจเข้มแข็ง เมื่อได้รับข้อมูลข่าวสารมากมาย ต้องรู้จักกรองเอาส่วน
ที่เป็นประโยชน์ และเหมาะสมกับเรา
๑. อุปายมนสิการ คือคิดถูกวิธี เมื่อเรากาลังศึกษา
ค้นคว้าเรื่องสังสารวัฏ เราต้องเลือกวิธีการศึกษาที่
สอดคล้องกับธรรมชาติของสังสารวัฏ
๒. ปถมนสิการ คือคิดมีระเบียบ ตรงไปสู้เป้ าหมาย
เป้ าหมายหลักของการศึกษาเรื่องสังสารวัฏ คือ ให้รู้ถึง
การเวียนเกิดเวียนตาย ของสัตว์โลกทั้งหลาย
เราจะใช้โยนิโสมนสิการ กับ สังสารวัฏ อย่างไร
๓. การณมนสิการ คือคิดมีเหตุผล รู้เท่าถึงการณ์
เห็นเหตุแล้วคาดว่าผลอะไรจะตามมาเห็นผลแล้วรู้ว่า
มาจากเหตุอะไร ในสังสารวัฏ คือรู้ว่าสัตว์โลกทั้งหลาย
ที่ต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่อย่างไม่มีที่สิ้นสุดนั้น เกิด
จากเหตุปัจจัยใดบ้าง
๔. อุปปาทกมนสิการ คือคิดเป็นกุศล ค้นหาส่วนดี
มาทาประโยชน์ นาส่วนดีไปใช้ ส่วนที่ไม่ดีเว้นไว้ อันนี้
จะโยงไปสู่การปฏิบัติธรรม
เราจะใช้โยนิโสมนสิการ กับ สังสารวัฏ อย่างไร
• เมื่อเราศึกษาเรื่องสังสารวัฏ และรู้ว่าสัตว์โลกทั้งหลายมีการ
เวียนเกิดเวียนตายอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ประโยชน์ที่เราสามารถนา
ความรู้จากสังสารวัฏมาใช้ได้อย่างดีเยี่ยม คือการหาหนทาง
เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเวียนเกิดเวียนตายอีกต่อไปหรืออย่างน้อยก็ตัด
ภพชาติให้สั้นลงได้ นั้นคือการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน เจริญสติ
ปัฏฐาน ๔ จนสาเร็จเป็นพระอริยบุคคล ตั้งแต่พระโสดาปัน ขึ้นไป
จนถึง พระอรหันต์ และดับขันธนิพพาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ อัคคัญญสูตร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ อัคคัญญสูตร
อัคคัญญสูตร แปลว่า พระสูตรว่าด้วยต้นกาเนิดของโลก
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแก่ สามเณรวาเสฏฐะ และภาร
ทวาชะ ผู้ออกบวชจากตระกูลพราหมณ์ ทรงชี้แจงคากล่าวอ้างของ
พวกพราหมณ์ที่ถือว่าพราหมณ์เป็นวรรณะประเสริฐที่สุด มีชาติ
กาเนิดอันเกิดจากปากพรหม และนามาเป็นเครื่องตัดสินความ
ประเสริฐและความต่าทรามของมนุษย์
• ๑. ช่วงที่โลกเสื่อมลงจนสลายไป สัตว์โลกได้ไปเกิดในชั้นอาภัสสรพรหม
มีกายทิพย์ มีฤทธิ์ทางใจ มีปีติเป็นอาหาร มีรัศมี เหาะได้ อยู่บนวิมาน
• ๒. ช่วงที่โลกก่อตัวขึ้นใหม่ เป็นน้าเต็มอวกาศ ไม่มีดวงจันทร์ ดวง
อาทิตย์ แล้วเกิดง้วนดินลอยอยู่บนผิวน้า
• ๓. มีพรหมจากชั้นอาภัสสรพรหมจุติลงมาเกิด มีกายทิพย์ ต่อมาเริ่มกิน
ง้วนดินทาให้ร่างกายหยาบ ง้วนดินก็เริ่มหายไปต่อมาก็กินสะเก็ดดิน เมื่อ
สะเก็ดดินหายไปก็กินเครือดินแทน จึงมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายมาก
ขึ้น สะเก็ดดินก็หายไป เกิดข้าวสาลีที่เกิดขึ้นเอง ก็กินข้าวสาลีเป็นอาหาร
ทาให้เกิดเพศชายและเพศหญิงมีความรู้สึกทางเพศ และได้เสพเมถุนกัน
และแยกตัวไปปลูกเรือน
ต้นกาเนิดโลก
• ๔. ต่อจากนั้นจึงเกิดมีการจัดระบบสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
เพื่อป้ องกันภัยที่จะเกิดขึ้น โดยแบ่งสรรที่ดิน และคัดเลือกผู้ที่จะมาทา
หน้าที่ปกครองดูแล จึงเกิดกษัตริย์ขึ้น เมื่อมีการละเมิดสิทธิ์กัน จึงเกิด
พราหมณ์ ผู้ครองเรือนและทางานต่าง ๆ เป็นพวกแพทย์ กลุ่มคนที่
ทางานต่ากว่านี้เป็นพวกศูทร
• พระพุทธเจ้าทรงตรัสสรุปว่า การเป็นกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์
ศูทร และแม้สมณะ ล้วนเป็นโดยธรรม คือ หน้าที่ ไม่ใช่โดยวรรณะ
อย่างที่พวกพราหมณ์เข้าใจ
• ธรรมจึงเป็นเครื่องตัดสิน และเป็นสิ่งประเสริฐสูงสุด ผู้ที่สิ้นอาสวะ
กิเลสแล้ว จึงเป็นผู้ประเสริฐที่สุดในวรรณะทั้งสี่ ผู้ที่สมบูรณ์ด้วยวิชชาและ
จรณะ เป็นผู้ประเสริฐสุด ในบรรดาเทวะและมนุษย์ทั้งปวง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จักกวัตตสูตร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จักกวัตตสูตร
• จักกวัตติสูตร แปลว่า พระสูตรว่าด้วยพระเจ้าจักรพรรดิ
• พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประสงค์ให้ภิกษุ
ทั้งหลาย มีตนเป็นที่เกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่
พึ่ง จงมีธรรมเป็นที่เกาะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่
พึ่ง เพราะการพึ่งตนพึ่งธรรมทาให้เจริญด้วย อายุ วรรณะ
สุขะ โภคะ และพละ ทาให้มารขัดขวางความเจริญไม่ได้
วิธีพึ่งตนพึ่งธรรมให้กระทาโดยการเจริญสติปัฎฐาน ๔
ผู้ปฏิบัติธรรมย่อมเจริญด้วย
อายุ วรรณะ สุขะ โภคะ และพละ คือ
๑. ธรรมที่ทาให้มีอายุยืน ทรงแนะนาให้เจริญอิทธิบาท ๔
๒. ธรรมที่ทาให้มีวรรณะ ทรงแนะนาให้รักษาศีล
๓. ธรรมที่ทาให้มีสุขะ ทรงแนะนาให้เจริญฌาน ๔
๔. ธรรมที่ทาให้มีโภคะ ทรงแนะนาให้เจริญอัปปมัญญา ๔
๕. ธรรมที่ทาให้มีพละ ทรงแนะนาให้เจริญวิปัสสนา
แล้วพระองค์ทรงยกนิทานเกี่ยวกับพระเจ้าจักรพรรดิในอดีต ๗
พระองค์ และสิ่งที่พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงประพฤติ ได้แก่
• ๑. อาศัยธรรม สักการะธรรม เคารพธรรม นับถือธรรม บูชา
ธรรม ปกป้ องคุ้มครองชนภายใน ไม่กระทาสิ่งที่ผิดแบบแผนของแคว้น
• ๒. แจกจ่ายทรัพย์แก่ผู้ที่ไม่มีทรัพย์เลี้ยงชีพ
• ๓. เข้าไปหาสมณพราหมณ์ ผู้ไม่มัวเมาประมาท ตั้งอยู่ในขันติ
โสรัจจะ
• เมื่อกษัตริย์ทรงประพฤติจักรวรรดิวัตรนี้ บริบูรณ์แล้ว แก้ว ๗
ประการ จะได้เกิดขึ้นและทาให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองอุดมสมบูรณ์
สรุป สังสารวัฏ
ความหมาย : การเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ทั้งหลาย
ประเภท : มี ๓ ประเภท
๑) ภูมิชั้นต่า มีความทุกข์มาก
๒) ภูมิชั้นกลาง มีความสุขปนทุกข์
๓) ภูมิชั้นสูง มีความสุขมาก
กระบวนการ : ไตรวัฏ คือ กิเลส กรรม วิบาก
วิธีทาความเข้าใจ : โยนิโสมนสิการ
ประโยชน์ : ปฏิบัติวิปัสสนา ไม่ต้องเวียนเกิดเวียนตาย นิพพาน
จบการนาเสนอ
หากผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ณ ที่นี้ด้วย
สวัสดีครับ....
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดHappy Sara
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)Kiat Chaloemkiat
 

Tendances (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 

En vedette

ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ Padvee Academy
 
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธีชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธีPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลPadvee Academy
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยPadvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมPadvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องPadvee Academy
 

En vedette (20)

ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
 
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธีชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 

Similaire à สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
พื้นฐานชีวิต 5.pptx
พื้นฐานชีวิต 5.pptxพื้นฐานชีวิต 5.pptx
พื้นฐานชีวิต 5.pptxSunnyStrong
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์Sarid Tojaroon
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 

Similaire à สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด (20)

ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
พื้นฐานชีวิต 5.pptx
พื้นฐานชีวิต 5.pptxพื้นฐานชีวิต 5.pptx
พื้นฐานชีวิต 5.pptx
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด

  • 2. ประเด็นการนาเสนอ ๑. ความหมายและประเภทแห่งสังสารวัฎ ๒. กระบวนการแห่งสังสารวัฎ ๓. โยนิโสมนสิการ กับ สังสารวัฏ ๔. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัคคัญญสูตร ๕. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจักกวัติสูตร
  • 3. สังสารวัฏ อุปมาเหมือนโค ซึ่งเทียมเกวียนแล้ว จะเดินไปไหนก็มี เกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่งสัตว์โลกเกิดมา ก็นาทุกข์ประจา สังขารติดมาด้วยตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขาร ออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามเขาไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอก เกวียนครอบอยู่ ต้องลากเกวียนติดตามไปทุกที่
  • 5. • ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคาว่า “สังสารวัฏ” ไว้ว่า น. การหมุนเวียนแห่งโลกหรือชีวิต, เวียนว่าย ตายเกิดอยู่ในโลก, เขียน สังสารวัฏฏ์ ก็มี • คาว่า “สังสารวัฏ” ตามพจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวล ศัพท์ของพระเทพเวที ได้ให้ความหมายไว้ว่า ภพที่เวียนเกิด เวียนตาย, การเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในโลก: สังสารวัฏ หรือ สังสารวัฏฏ์ ก็เรียก
  • 7. ประเภทแห่งสังสารวัฏ ประเภทที่ ๑. เหฏฐิมวัฏฏสงสาร ประเภทที่ ๒. มัชฌิมวัฏสงสาร ประเภทที่ ๓. อุปริมวัฏสงสาร
  • 8. • คือ การที่สัตว์โลกที่ยังมีกิเลสตัญหาอยู่ ประกอบ อกุศลกรรมแล้วต้องไปท่องเที่ยวเวียนเกิดเวียนตาย อยู่ในภูมิ ชั้นต่า ชั้นทราม อันมีความทุกข์มาก หรือมีความทุกข์โดยส่วน เดียว ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ๔ ภูมิ คือ ๑. นิรยภูมิ โลกนรก ๒. เปตติวิสยภูมิ โลกเปรต ๓. อสุรกายภูมิ โลกอสุรกาย ๔. ติรัจฉานภูมิ โลกเดียรัจฉาน ประเภทที่ ๑. เหฏฐิมวัฏฏสงสาร
  • 9.
  • 10. • คือ การที่สัตว์โลกที่ยังมีกิเลสตัณหาอยู่ แล้วต้องไปท่องเที่ยวเวียน เกิดเวียนตาย อยู่ในภูมิชั้นกลาง อันเป็นโลกชั้นดี มีโลกียสุข พอประมาณ หรือมีสุขบ้างทุกข์บ้าง หรือมีสุขโดยส่วนเดียวแต่เป็นสุขที่ เจือด้วยทุกข์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ๗ ภูมิ คือ ๑. มนุสสภูมิ โลกมนุษย์ ๒. จาตุมหาราชิกาภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๑ ๓. ตาวติงสาภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๒ ๔. ยามาภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๓ ๕. ตุสิตาภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๔ ๖. นิมมานรดีภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๕ ๗. ปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ เทวโลกชั้นที่ ๖ ประเภทที่ ๒. มัชฌิมวัฏสงสาร
  • 11. • คือ การที่สัตว์โลกที่ยังมีกิเลสตัญหาอยู่แต่มีน้าใจสูงไปด้วย คุณธรรมพยายามบาเพ็ญสมถภาวนาจนได้ฌานแล้วไปท่องเที่ยว เวียนเกิดเวียนตายอยู่ในภูมิชั้นสูง อันเป็นภูมิชั้นดีวิเศษมีสุขมาก มี ความสุขสบายอันปราณีตสูงสุดแต่ยังเป็นสามิสสุข คือเป็นสุขเจือ ทุกข์ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ๒๐ ภูมิ คือ ๑. พรหมปาริสัชชาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑ ๒. พรหมปุโรหิตาภูมิ พรหมโลกชั้น ๒ ๓. มหาพรหมาภูมิ พรหมโลกชั้น ๓ ๔. ปริตรตาภูมิ พรหมโลกชั้น ๔ ๕. อัปปมาณาภาภูมิ พรหมโลกชั้น ๕ ประเภทที่ ๓. อุปริมวัฏสงสาร
  • 12. ๖. อาภัสนาภูมิ พรหมโลกชั้น ๖ ๗. ปริตตสุภาภูมิ พรหมโลกชั้น ๗ ๘. อัปปมาณสุภาภูมิ พรหมโลกชั้น ๘ ๙. สุภกิณหาภูมิ พรหมโลกชั้น ๙ ๑๐. เวหัปผลาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๐ ๑๑. อสัญญีสัตตาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๑ ๑๒. อวิหาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๒ ๑๓. อตัปปาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๓ ๑๔. สุทัสสาภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๔ ๑๕. สุทัสสีภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๕ ๑๖. อกนิฏฐภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๖ ๑๗. อากาสานัญจายตนภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๗ ๑๘. วิญญาณัญตายตนภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๘ ๑๙. อากิญจัญญายตนภูมิ พรหมโลกชั้น ๑๙ ๒๐. เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิพรหมโลกชั้น ๒๐ ประเภทที่ ๓. อุปริมวัฏสงสาร
  • 13.
  • 14.
  • 15. มนุสสภูมิ หรือ โลกมนุษย์ ๑. มนุษย์ผู้มืดมาแล้วมืดไป ๒. มนุษย์ผู้มืดมาแล้วสว่างไป ๓. มนุษย์ผู้สว่างมาแล้วมืดไป ๔. มนุษย์ผู้สว่างมาแล้วสว่างไป
  • 16. • เป็นบุคคลที่เกิดในตระกูลต่า ยากจน ขัดสน ลาบาก ฝืดเคือง อย่างมากในการหาเลี้ยงชีพ มีปัจจัย ๔ อย่างหยาบ เช่น มีอาหาร และน้าน้อย มีเครื่องนุ่งห่มเก่า ร่างกายมอซอ หม่นหมองหรือมี ร่างกายไม่สมประกอบ บ้าใบ้ บอด หนวก หาที่นอน ที่อยู่อาศัย ไม่ ค่อยได้ และเขากลับซ้าประพฤติทุจริตทางกาย วาจา ใจ เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ๑. มนุษย์ผู้มืดมาแล้วมืดไป
  • 17. • เป็นบุคคลที่เกิดในตระกูลต่า เป็นคนขัดสน มีข้าวน้า อาหาร น้อย มีอาชีพฝืดเคือง ผิวพรรณหยาบ ไม่น่าดูไม่น่าชม แคระ มีโรค มาก ตาเสีย เป็นง่อย ฯลฯ แต่เขาเป็นคนประพฤติสุจริตด้วยกาย วาจา ใจ มีศรัทธา ไม่มีความตระหนี่ เป็นคนมีความคิดประเสริฐ มี ใจไม่ฟุ้ งซ่าน ย่อมให้ทาน ย่อมลุกรับสมณะชีพราหมณ์ หรือวณิพก อื่น ๆ กริยามารยาทเรียบร้อย ไม่ห้ามคนที่กาลังจะให้ทาน เมื่อ ตายไปย่อมถึงสุคติโลกสวรรค์ ๒. มนุษย์ผู้มืดมาแล้วสว่างไป
  • 18. เป็นบุคคลผู้เกิดในตระกูลสูง มีโภคสมบัติมาก มีเงินมี ทองล้นเหลือทั้งเป็นคนรูปร่างสมส่วน สะสวย งดงาม แต่ กลับเป็นคนประพฤติทุจริตด้วยกาย วาจา ใจ ไม่มีศรัทธา ตระหนี่ ไม่มีความเอื้อเฟื้อ ไม่มีความกรุณาอาทร มีใจหยาบ ช้า มักขึ้งโกรธ ย่อมด่า ย่อมบริภาษ บุคคลต่าง ๆ ไม่เว้น แม้กระทั่งมารดา บิดา สมณะชีพราหมณ์ ย่อมห้ามคนที่ กาลังให้โภชนาหารแก่คนที่ขอ เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ๓. มนุษย์ผู้สว่างมาแล้วมืดไป
  • 19. เป็นบุคคลที่เกิดในตระกูลสูงเป็นคนมั่งคั่ง มี ทรัพย์เป็นอันมาก มีเงินมีทองล้นเหลือ มีของใช้น่า ปลื้มใจ มีผิวพรรณงาม น่าดู และเขาย่อมประพฤติ สุจริตทางกาย วาจา ใจ เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ๔. มนุษย์ผู้สว่างมาแล้วสว่างไป
  • 21. กระบวนการแห่งสังสารวัฏ กระบวนการแห่งสังสารวัฏหรือการเวียนว่ายตายเกิด ที่เป็นไปตามหลักแห่งเหตุปัจจัยในแง่หนึ่งก็คือ กระบวนการ แห่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง หรือจะมองในแง่ของกรรมก็ได้แก่ ไตรวัฏ (วัฏฏะ ๓) คือ กิเลส, กรรม, วิบาก นั่นคือบุคคลที่ยังมี กิเลส การกระทาของบุคคลนั้นย่อมเป็นกรรม และกรรมนั่น ย่อมก่อให้เกิดวิบากคือผลของกรรมจะเป็นอย่างไร ก็ขึ้นอยู่ กับเหตุคือกรรมที่ได้กระทาลงไป
  • 22. ไตรวัฏ (วัฏฏะ ๓) • “ไตรวัฏ” แปลว่า วน ๓ หรือ วงจร ๓ (ไตร – ๓ วัฏฏ – วน) ซึ่งได้แก่ การวนของสภาวธรรม ๓ ประการ คือ ๑. กิเลส คือสิ่งที่ทาใจให้เศร้าหมอง ๒. กรรม คือการทาดีและการทาชั่ว ๓. วิบาก คือผลของกรรม
  • 23. • ไตรวัฏเป็นการเวียนรอบ ๓ ประการอย่างไร คือ มีกิเลสอัน ได้แก่ โลภ โกรธ หลง ก็เป็นเหตุให้คนหรือสัตว์ต้องสร้างกรรมเป็น กรรมดีบ้าง เป็นกรรมชั่วบ้าง เมื่อทากรรมแล้วก็เป็นเหตุให้ได้รับ วิบาก คือผลของกรรม เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง ตามผลของกรรมที่ ตนทาไว้เมื่อได้รับวิบาก อันเป็นผลของกรรมเป็นสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ก็ เกิดกิเลสอีก เมื่อเกิดกิเลสก็เป็นเหตุให้ทากรรมอีก เมื่อทากรรมก็ เป็นเหตุให้ได้รับวิบากอีก วนเวียนกันอยู่อย่างนี้ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เรียกว่า ไตรวัฏ ทาให้โซ่แห่งชีวิตดาเนินไปอย่างไม่ขาดสายคือทาให้ การเวียนว่ายตายเกิดยังมีอยู่อีกตลอดไป
  • 24. ไตรวัฏในปฏิจสมุปบาท • ในปฏิจสมุปบาท มีไตรวัฏ วน ๓ ของกิเลส กรรม และวิบาก • - กิเลส ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน เรียกว่า กิเลสวัฏ • - กรรม ได้แก่ สังขาร และภพส่วนที่เป็นกรรม เรียกว่า กรรมวัฏ • - วิบาก ได้แก่ วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะเวทนา ภพ ส่วนที่เป็น อุปปัติภพ ชาติ ชรา และมรณะ เรียกว่า วิปากวัฏ
  • 25. วัฏทั้ง ๓ นี้ จะหมุนเวียนต่อเนื่องเป็นปัจจัยหมุนเวียนกันและ กันทาให้วงจรชีวิตดาเนินไปอย่างไม่ขาดสาย ซึ่งเขียนออกมา เป็นภาพ ได้ดังนี้
  • 27. ความหมาย โยนิโสมนสิการ หมายถึง การใช้ความคิดอย่างถูกวิธี ความรู้จักคิด คิดเป็น คิดอย่างมีระเบียบ คือ การกระทาใน ใจโดยแยบคาย รู้จักคิดวิเคราะห์ ไม่มองสิ่งต่าง ๆ อย่างผิว เผิน มองสิ่งทั้งหลายด้วยความคิดที่พิจารณาสืบค้นถึงต้นเค้า สาวหาเหตุผลจนตลอดสาย แยกแยะออก วิเคราะห์ดูด้วย ปัญญา ที่คิดเป็นระเบียบ และโดยอุบายวิธีให้เห็นสิ่งนั้น ๆ หรือปัญหานั้น ๆ ตามสภาวะ และตามความสัมพันธ์แห่ง เหตุปัจจัย
  • 28. โยนิโสมนสิการ มีวิธีคิดสรุปลักษณะความคิดได้เป็น ๔ แบบ • ๑. อุปายมนสิการ คือคิดถูกวิธี และใช้วิธีการนั้นอย่างถูกต้องว่องไว เข้าถึงความจริง , หยั่งรู้สามัญลักษณะของสิ่งทั้งหลาย • ๒. ปถมนสิการ คือคิดมีระเบียบ ไม่กระโดดไปกระโดดมา คิดอย่างมี เป้ าหมาย มีขั้นตอน เป็นลาดับ ไม่วกไปวนมา • ๓. การณมนสิการ คือคิดมีเหตุผล รู้จักเชื่อมโยงว่าเหตุผลนี้นาไปสู่ผล อะไรหรือผลนี้มาจากเหตุอะไร • ๔. อุปปาทกมนสิการ คือคิดเป็นกุศล คิดให้เกิดผล เป็นการคิดเพื่อ ค้นหาแก่นสารสาระ ก่อให้เกิดความเพียร หายกลัว หายโกรธ มีสติ จิตใจเข้มแข็ง เมื่อได้รับข้อมูลข่าวสารมากมาย ต้องรู้จักกรองเอาส่วน ที่เป็นประโยชน์ และเหมาะสมกับเรา
  • 29. ๑. อุปายมนสิการ คือคิดถูกวิธี เมื่อเรากาลังศึกษา ค้นคว้าเรื่องสังสารวัฏ เราต้องเลือกวิธีการศึกษาที่ สอดคล้องกับธรรมชาติของสังสารวัฏ ๒. ปถมนสิการ คือคิดมีระเบียบ ตรงไปสู้เป้ าหมาย เป้ าหมายหลักของการศึกษาเรื่องสังสารวัฏ คือ ให้รู้ถึง การเวียนเกิดเวียนตาย ของสัตว์โลกทั้งหลาย เราจะใช้โยนิโสมนสิการ กับ สังสารวัฏ อย่างไร
  • 30. ๓. การณมนสิการ คือคิดมีเหตุผล รู้เท่าถึงการณ์ เห็นเหตุแล้วคาดว่าผลอะไรจะตามมาเห็นผลแล้วรู้ว่า มาจากเหตุอะไร ในสังสารวัฏ คือรู้ว่าสัตว์โลกทั้งหลาย ที่ต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่อย่างไม่มีที่สิ้นสุดนั้น เกิด จากเหตุปัจจัยใดบ้าง ๔. อุปปาทกมนสิการ คือคิดเป็นกุศล ค้นหาส่วนดี มาทาประโยชน์ นาส่วนดีไปใช้ ส่วนที่ไม่ดีเว้นไว้ อันนี้ จะโยงไปสู่การปฏิบัติธรรม เราจะใช้โยนิโสมนสิการ กับ สังสารวัฏ อย่างไร
  • 31. • เมื่อเราศึกษาเรื่องสังสารวัฏ และรู้ว่าสัตว์โลกทั้งหลายมีการ เวียนเกิดเวียนตายอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ประโยชน์ที่เราสามารถนา ความรู้จากสังสารวัฏมาใช้ได้อย่างดีเยี่ยม คือการหาหนทาง เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเวียนเกิดเวียนตายอีกต่อไปหรืออย่างน้อยก็ตัด ภพชาติให้สั้นลงได้ นั้นคือการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน เจริญสติ ปัฏฐาน ๔ จนสาเร็จเป็นพระอริยบุคคล ตั้งแต่พระโสดาปัน ขึ้นไป จนถึง พระอรหันต์ และดับขันธนิพพาน
  • 33. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ อัคคัญญสูตร อัคคัญญสูตร แปลว่า พระสูตรว่าด้วยต้นกาเนิดของโลก พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแก่ สามเณรวาเสฏฐะ และภาร ทวาชะ ผู้ออกบวชจากตระกูลพราหมณ์ ทรงชี้แจงคากล่าวอ้างของ พวกพราหมณ์ที่ถือว่าพราหมณ์เป็นวรรณะประเสริฐที่สุด มีชาติ กาเนิดอันเกิดจากปากพรหม และนามาเป็นเครื่องตัดสินความ ประเสริฐและความต่าทรามของมนุษย์
  • 34. • ๑. ช่วงที่โลกเสื่อมลงจนสลายไป สัตว์โลกได้ไปเกิดในชั้นอาภัสสรพรหม มีกายทิพย์ มีฤทธิ์ทางใจ มีปีติเป็นอาหาร มีรัศมี เหาะได้ อยู่บนวิมาน • ๒. ช่วงที่โลกก่อตัวขึ้นใหม่ เป็นน้าเต็มอวกาศ ไม่มีดวงจันทร์ ดวง อาทิตย์ แล้วเกิดง้วนดินลอยอยู่บนผิวน้า • ๓. มีพรหมจากชั้นอาภัสสรพรหมจุติลงมาเกิด มีกายทิพย์ ต่อมาเริ่มกิน ง้วนดินทาให้ร่างกายหยาบ ง้วนดินก็เริ่มหายไปต่อมาก็กินสะเก็ดดิน เมื่อ สะเก็ดดินหายไปก็กินเครือดินแทน จึงมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายมาก ขึ้น สะเก็ดดินก็หายไป เกิดข้าวสาลีที่เกิดขึ้นเอง ก็กินข้าวสาลีเป็นอาหาร ทาให้เกิดเพศชายและเพศหญิงมีความรู้สึกทางเพศ และได้เสพเมถุนกัน และแยกตัวไปปลูกเรือน ต้นกาเนิดโลก
  • 35. • ๔. ต่อจากนั้นจึงเกิดมีการจัดระบบสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพื่อป้ องกันภัยที่จะเกิดขึ้น โดยแบ่งสรรที่ดิน และคัดเลือกผู้ที่จะมาทา หน้าที่ปกครองดูแล จึงเกิดกษัตริย์ขึ้น เมื่อมีการละเมิดสิทธิ์กัน จึงเกิด พราหมณ์ ผู้ครองเรือนและทางานต่าง ๆ เป็นพวกแพทย์ กลุ่มคนที่ ทางานต่ากว่านี้เป็นพวกศูทร • พระพุทธเจ้าทรงตรัสสรุปว่า การเป็นกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร และแม้สมณะ ล้วนเป็นโดยธรรม คือ หน้าที่ ไม่ใช่โดยวรรณะ อย่างที่พวกพราหมณ์เข้าใจ • ธรรมจึงเป็นเครื่องตัดสิน และเป็นสิ่งประเสริฐสูงสุด ผู้ที่สิ้นอาสวะ กิเลสแล้ว จึงเป็นผู้ประเสริฐที่สุดในวรรณะทั้งสี่ ผู้ที่สมบูรณ์ด้วยวิชชาและ จรณะ เป็นผู้ประเสริฐสุด ในบรรดาเทวะและมนุษย์ทั้งปวง
  • 37. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จักกวัตตสูตร • จักกวัตติสูตร แปลว่า พระสูตรว่าด้วยพระเจ้าจักรพรรดิ • พระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประสงค์ให้ภิกษุ ทั้งหลาย มีตนเป็นที่เกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่ พึ่ง จงมีธรรมเป็นที่เกาะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่ พึ่ง เพราะการพึ่งตนพึ่งธรรมทาให้เจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ โภคะ และพละ ทาให้มารขัดขวางความเจริญไม่ได้ วิธีพึ่งตนพึ่งธรรมให้กระทาโดยการเจริญสติปัฎฐาน ๔
  • 38. ผู้ปฏิบัติธรรมย่อมเจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ โภคะ และพละ คือ ๑. ธรรมที่ทาให้มีอายุยืน ทรงแนะนาให้เจริญอิทธิบาท ๔ ๒. ธรรมที่ทาให้มีวรรณะ ทรงแนะนาให้รักษาศีล ๓. ธรรมที่ทาให้มีสุขะ ทรงแนะนาให้เจริญฌาน ๔ ๔. ธรรมที่ทาให้มีโภคะ ทรงแนะนาให้เจริญอัปปมัญญา ๔ ๕. ธรรมที่ทาให้มีพละ ทรงแนะนาให้เจริญวิปัสสนา
  • 39. แล้วพระองค์ทรงยกนิทานเกี่ยวกับพระเจ้าจักรพรรดิในอดีต ๗ พระองค์ และสิ่งที่พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงประพฤติ ได้แก่ • ๑. อาศัยธรรม สักการะธรรม เคารพธรรม นับถือธรรม บูชา ธรรม ปกป้ องคุ้มครองชนภายใน ไม่กระทาสิ่งที่ผิดแบบแผนของแคว้น • ๒. แจกจ่ายทรัพย์แก่ผู้ที่ไม่มีทรัพย์เลี้ยงชีพ • ๓. เข้าไปหาสมณพราหมณ์ ผู้ไม่มัวเมาประมาท ตั้งอยู่ในขันติ โสรัจจะ • เมื่อกษัตริย์ทรงประพฤติจักรวรรดิวัตรนี้ บริบูรณ์แล้ว แก้ว ๗ ประการ จะได้เกิดขึ้นและทาให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองอุดมสมบูรณ์
  • 40.
  • 41. สรุป สังสารวัฏ ความหมาย : การเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ทั้งหลาย ประเภท : มี ๓ ประเภท ๑) ภูมิชั้นต่า มีความทุกข์มาก ๒) ภูมิชั้นกลาง มีความสุขปนทุกข์ ๓) ภูมิชั้นสูง มีความสุขมาก กระบวนการ : ไตรวัฏ คือ กิเลส กรรม วิบาก วิธีทาความเข้าใจ : โยนิโสมนสิการ ประโยชน์ : ปฏิบัติวิปัสสนา ไม่ต้องเวียนเกิดเวียนตาย นิพพาน
  • 43.