SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
โดย อ.แนน KU
“The bird sings
My mind rejoices,
No bird No mind.”
“นกร้องเพลง
จิตใจฉันเบิกบาน
ไม่มีนก
ไม่มีใจ....”
 คำว่ำ “เซน” (Zen) เป็นภำษำญี่ปุ่น มีรำก
ศัพท์มำจำกคำว่ำ “ธฺยำนะ” ในภำษำ
สันสกฤต และ คำว่ำ “ฌำน” ในภำษำบำลี
แปลว่ำ กำรเพ่ง หรือ กำรทำจิตให้เป็น
สมำธิโดยกำรนั่งวิปัสสนำกรรมฐำน
 ผู้ปฏิบัติฌานจะเพ่งมองหรือจดจ่ออยู่กับ
สติสัมปชัญญะของตนเอง เริ่มต้นด้วยการ
ควบคุม (หรือฝึก) ลมหายใจ พยายามเพ่งจิตไว้
ที่จุดใด จุดหนึ่ง จนเกิดความตระหนักรู้ภายใน
นั่นคือ เกิดปัญญาญาณแบบเฉียบพลัน
 พระสูตรของจีน “ต้าฝั่นเทียนอุ้นฝูเจี๋ยอี๋จิง” >> เชื่อกันว่า
พระพุทธศำสนำนิกำยเซนเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกำล
 ขณะที่พระพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ ท้าว
มหาพรหมได้มาถวายดอกไม้เป็นพุทธบูชา พร้อมทูลขอให้
ทรงแสดงธรรม พระพุทธองค์ทรงชูดอกไม้ขึ้นท่ามกลางพุทธ
บริษัท มีเพียงพระมหากัสสปะที่ยิ้มน้อยๆ อย่างเข้าใจ
 ....พระพุทธองค์จึงตรัสว่า พระองค์ทรงมีธรรมจักษุอัน
ถูกตรง และมีนิพพานจิต ภาวะที่แท้ย่อมไม่มีลักษณะ
ขอพระมหากัสสปะพึงรักษาไว้ให้ดี
 พุทธวจนะนี้เอง ที่ถือเป็นที่มาคาสอนแบบเซน
 พระมหากัสสปะจึงได้รับการยกย่องจาก
พระพุทธเจ้าเป็นอย่างยิ่ง และได้รับมอบผ้า
สังฆาฏิ (ผ้าพาดบ่า)จากพระพุทธเจ้า
 ถือเป็นธรรมเนียมกำรส่งมอบผ้ำสังฆำฏิ
และบำตรเพื่อเป็นสัญญลักษณ์ของกำร
เป็น >> “สังฆปริณำยก”
 พระมหำกัสสปะเป็นสังฆปรินำยกคนแรก
และมีกำรสือทอดมำเป็นลำดับจนถึง
สังฆปรินำยกองค์ที่ ๒๘ >> ท่ำนโพธิธรรม
 ตำมแนวประวัติศำสตร์ >> นิกำยเซน
เริ่มต้นจำกกำรที่ “ท่ำนโพธิธรรม”
พระภิกษุชำวอินเดีย เป็นผู้นำคำสอนเข้ำ
ไปเผยแพร่ในจีน ประมำณ ปี ค.ศ. ๕๒๐
ท่ำนเป็นสังฆปริณำยกองค์แรกในจีน
 สำนักเซนเริ่มต้นขึ้นในจีนช่วง
คริสต์ศตวรรษที่ ๗-๘ >> เกิดจำกกำร
ประสำนคำสอนพุทธศำสนำมหำยำนแบบ
อินเดียเข้ำกับปรัชญำเต๋ำ
 การเห็นธรรมชาติของตัวท่านเองคือเซน
....ไม่คิดถึงอะไรคือเซน...ทุกสิ่งที่ท่านทาคือเซน
(Seeing your nature is Zen…Not thinking about anything is
Zen…Everything you do is Zen)
 ตัดใจเป็นอิสระจากกฎเกณฑ์ จากฌานและคัมภีร์
 ถ้าท่านเห็นธรรมชาติของตนก็ไม่จาเป็นต้องอ่านพระสูตรหรืออ้อนวอนพระพุทธเจ้า
 ทุกสิ่งที่ปรากฏในภพทั้งสามล้วนเกิดจากจิต ดังนั้นพระพุทธเจ้าทั้งอดีตและอนาคต
ล้วนสอนด้วยวิธีจิตสู่จิตโดยไม่ยึดรูปแบบตายตัวใด ๆ
 จิตนี้คือพุทธะ และพุทธะคือจิตนั้นเอง (ไม่ต้องแสวงหาพุทธเจ้านอกจิต)
 การใช้ความคิดดูจิตย่อมไม่เห็นจิต ใช้สติดูจิตจึงจะเห็นจิต
 ตราบใดที่ท่านหาพุทธเจ้าภายนอกตัวเอง ท่านก็จะยังไม่เห็น
พระพุทธเจ้าอยู่ภายในจิตของท่านเอง
 การค้นหาพุทธต้องค้นหาตัวเองให้พบก่อน
 บุญกริยาวัตถุอื่น ๆ ไม่ส่งผลให้เป็นพุทธะ
 ผู้ไม่เห็นธรรมชาติของตนเองยังเป็นครูไม่ได้
 ท่านมีพุทธภาวะอยู่แล้วแต่เพราะไม่ได้รับการช่วยเหลือจากครู(กัลยาณมิตร) ท่าน
จึงไม่รู้จักพุทธภาวะ
 ผู้ใดเห็นธรรมในตนผู้นั้นชื่อว่าพุทธะ
 การตัดเวรกรรมคือการตัดความคิดปรุงแต่ง
 ท่ำนฮุยเน้ง เป็นสังฆนำยกนิกำยเซนองค์ที่ ๖ ของจีน
 ท่านเกิดในตระกูลยากจน อ่านหนังสือไม่ออก แต่มีความเฉลียวฉลาด วันหนึ่งได้
ยินเสียงสวดพระสูตร “วัชรเฉทิกสูตร” จึงเกิดศรัทธา ได้มาขอศึกษาธรรมกับท่านฮุง
เจิง (สังฆปรินายกองค์ที่ ๕)
 ต่อมาเมื่อมีการประกาศหาผู้สืบทอดตาแหน่งสังฆปรินายก ท่านจึงไปรับสมัคร
คัดเลือกโดยแข่งกับ “ท่านชินเชา” โดยใช้วิธีแข่งแต่งบทกวี (โศลก) เพื่อพิสูจน์ว่า
ผู้ใดเข้าใจสภาพธรรมได้อย่างถ่องแท้
 สุดท้ำยท่ำนได้รับกำรคัดเลือกเป็นสังฆปรินำยกองค์ที่ ๖ ประกำศ
หลักธรรมอย่ำงเรียบง่ำย เน้นสอนกำรบรรลุอย่ำงฉับพลัน เผยแพร่อยู่ทำง
ใต้ของจีน มีผู้เลื่อมใสเป็นจำนวนมำก
 “กายของเราคือต้นโพธิ์
ใจของเราคือกระจกเงาอันใส
เราเช็ดมันโดยระมัดระวังทุกๆ
ชั่วโมง
และไม่ยอมให้ฝุ่นละอองจับ”
 “ไม่มีต้นโพธิ์
ทั้งไม่มีกระจกเงาอันใสสะอาด
เมื่อทุกสิ่งว่างเปล่าแล้ว
ฝุ่นจะลงจับอะไร”
 แต่งโฉลกแข่งกับท่านเฉินซิ่ว
 ประตูทีไร้ประตู (อู๋เหมินกวน) รวมโกอัน 48 บท ของอู๋เหมินฮุ่ยคาย
 ฮุยเหน่งกล่าวกับพระหมิงว่า “ยามเมื่อท่านไม่คิดเรื่องดีและยามเมื่อท่านไม่คิดถึงเรื่อง
ไม่ดี ตัวตนที่แท้จริงของท่านเป็นเช่นไร?
 ลมไหว ? ธงไหว ? ใจไหว?
 พระสูตรของฮุยเหน่ง(เว่ยหลาง)
 ท่านทันซันกล่าวกับเอคิโดว่า “อาตมาวางหญิงสาวคนนั้นไว้ที่นั้นแล้ว ท่านยังอุ้มเธออยู่
อีกหรือ?”
 พระโพธิธรรมกล่าวว่า “เมื่อท่านเห็นปรากฏการณ์ทั้งปวงไม่เป็นปรากฏการณ์ ท่าน
ย่อมเห็นตถาคต”
 พระพุทธศำสนำนิกำยเซนในยุคของท่ำนฮุยเน้ง หรือ เว่ยหลำง
นับได้ว่ำเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด เจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมำเป็นเวลำ
หลำยร้อยปี
 หลังจำกยุคของท่ำนเว่ยหลำง เป็นต้นมำ พุทธศำสนำนิกำยเซนได้
แตกออกเป็น ๕ สำขำ คือ ลิน-ชิ, เช้ำ-ทง, เว่ยหยำง, ยุน-เมน
และฟำเยน เน้นวิธีกำรสอนและกุลโลบำยที่แตกต่ำงกันไป
 สำขำที่สืบทอดสู่ประเทศญี่ปุ่น คือ ลิน-ชิ หรือ รินไซเซน (Rinzai
Zen) ที่เน้นกำรรู้แจ้งอย่ำงฉับพลันที่อำศัยปริศนำธรรม
 และสำขำเซ้ำ-ทง หรือ โซโตะเซน (Soto Zen) เน้นกำรปฏิบัติ
ซำเซน (zazen) หรือ กำรทำสมำธิ เพื่อให้จิตใจสงบ มั่นคงและรู้
แจ้ง
 พุทธศำสนำฝ่ำยเซนกำเนิดจำกคำสอนของพุทธศำสนำของอินเดียและ
ปรัชญำเต๋ำของจีน
 หลักสำคัญของพุทธศำสนำคือกำรไม่มีตัวตนและวิธีมองโลกแบบไม่
แบ่งแยกไม่ประเมินค่ำ >> ปรัชญำเต๋ำก็มองโลกแบบไม่แบ่งแยก เน้น
ญำณปัญญำมำกกว่ำควำมรู้เชิงเหตุผล ปรัชญำเต๋ำเน้นควำมรัก
ธรรมชำติและกำรปล่อยให้วิถีชีวิตเป็นไปตำมธรรมชำติ >> เซ็นรับ
มรดกทำงปัญญำข้ำงต้นมำผสมผสำนกัน เกิดเป็นวิถีกำรดำเนินชีวิตที่
ให้ควำมสำคัญกับกำรอยู่กับปัจจุบันและชีวิตในโลกนี้ โดยมี
จุดมุ่งหมำยที่จะขัดเกลำจิตใจให้บรรลุพุทธภำวะ
 พุทธภำวะหรือธรรมชำติแห่งควำมเป็นพุทธะนั้นมีอยู่แล้วในคน
ทุกคน เป็นธรรมชำติดั้งเดิมของสรรพสัตว์ สิ่งที่บดบังพุทธภำวะ
คือ ควำมคิดปรุงแต่งซึ่งก่อให้เกิดตัวตน และควำมยึดมั่นถือมั่น
หมกมุ่นอยู่ในควำมคิดที่ก่อให้เกิดกำรจำแนกสิ่งต่ำงๆออกเป็น ๒
ฝ่ำย เช่น ดี-ชั่ว ถูก-ผิด
 เมื่อเรำขจัดควำมคิดปรุงแต่งออกไป ก็จะไม่มีตัวตนและควำมยึด
ติดทั้งหลำย มองเห็นเอกภำพของสรรพสิ่ง
 ในฐำนะที่เซ็นเป็นสำขำหนึ่งของพุทธศำสนำ จึงยึดถือแนวคำสอน
หลักเหมือนกับพุทธศำสนำฝ่ำยเถรวำท โดยเฉพำะหลักอริยสัจ ๔ และ
อริยมรรคมีองค์ ๘
 เซ็นถือว่าสรรพสิ่งล้วนอยู่ภำยใต้กฎธรรมชำติ คือ ควำมไม่เที่ยง
ควำมเป็นทุกข์ ควำมไม่มีตัวตน ธรรมะคือธรรมชาติ และธรรมชำติ คือ
ตถตำ หรือ ควำมเป็นเช่นนั้นเอง
 เซ็นไม่ให้ควำมสำคัญแก่ตรรกะหรือเหตุผล แต่เน้นประสบกำรณ์ตรง
คือเข้ำถึงโดยไม่ผ่ำนสื่อกลำงใดๆ เซ็นไม่มีการแย้งกันในเรื่องถูกหรือผิด
ความสมบูรณ์หรือความไม่สมบูรณ์ ความมีหรือไม่มี เพราะถือเป็นการเรื่อง
ของการยึดมั่นถือมั่น ขณะเดียวกัน เซ็นก็เป็นนิกำยวิปัสสนำโดยเฉพำะ
คือไม่เน้นหนังสือหรือปริยัติธรรมใดๆ แต่มุ่งที่จะขัดเกลำจิตใจ
 ๑) ควำมจริงที่สูงสุด >> เป็นสิ่งที่ไม่สำมำรถแสดงได้ด้วยคำพูด
>> ควำมจริงที่สูงสุด จะต้องได้จำกประสบกำรณ์โดยตรงเท่ำนั้น
 ๒) กำรฝึกฝนในทำงธรรม ไม่สำมำรถฝึกฝนได้ด้วยควำมพยำยำม
ที่เกิดจำกกำรปรุงแต่ง ธรรมะเป็นสิ่งที่เป็นอยู่เองตำมธรรมชำติ
ผู้ปฏิบัติจะต้องเข้ำถึงควำมเป็นอยู่เองนี้
 ๓) ธรรมชำติของควำมเป็นพุทธะนั้น มีอยู่แล้วในตัวเรำ เรำ
เพียงแต่ค้นพบสิ่งที่มีอยู่แล้วเท่ำนั้น ดังนั้น ผลบั้นปลำยสุดท้ำย
แล้วไม่มีอะไรที่ได้มำใหม่
 ๔) สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ ประสบกำรณ์
ของกำรตื่นรู้ เท่ำนั้น
 ๕) กำรตรัสรู้ไม่ได้จำกัดอยู่ในรูปแบบ
ใดๆ ในขณะที่ดำรงชีวิตประจำวัน
สำมำรถเป็นขณะแห่งกำรสัมผัสชีวิต
ทำงธรรม >> ขณะแห่งกำรทำงำนใน
ชีวิตประจำวันสำมำรถเป็นขณะแห่ง
กำรตรัสรู้ได้ เพรำะธรรมชำติแห่ง
ควำมเป็นพุทธเป็นสิ่งสำกล เรำอำจพบ
มันได้ทุกหนแห่ง
การส่งมอบพิเศษนอกคัมภีร์
ไม่ต้องอาศัยตัวหนังสือ
ชี้ตรงไปยังจิตของมนุษย์
เห็นแจ้งในภาวะที่แท้จริงและบรรลุความเป็นพุทธ
 พระพุทธะตรัสรู้จิตอยู่ว่ำง
ได้ยินสิ่งทุกอย่ำงแถลงไข
เหมือนมันฟ้ องตัวเองเซ็งแซ่ไป
ว่ำไม่มีสิ่งไหนน่ำยึดเอำ
มำเพื่อเป็นตัวกูและของกู
อย่ำหลงตู่มันเข้ำเพรำะควำมเขลำ
เอำของเป็นอนัตตำมำเป็นเรำ
จะต้องเศร้ำโศกระบบตรมใจแรง
แม้กรวดดินหินไม้และใบหญ้ำ
ล้วนแต่ส่งเสียงจ้ำทุกหัวระแหง
คนจิตวุ่นไม่เข้ำใจไม่ระแวง
ว่ำทุกสิ่งร้องแสดงบทพระธรรม
ครั้นจิตว่ำงจะได้ยินแม้ใบหญ้ำ
มันปรึกษำข้อควำมที่งำมขำ
ว่ำ "ทำไฉนสัตว์ทั้งหลำยจะร่ำยรำ
ด้วยจิตว่ำงเพรำะวำงธรรมทั้งปวงเอย"
 กำรถ่ำยทอดธรรมของนิกำยเซนไม่
อำศัยคัมภีร์หรือตำรำใดๆ
 ไม่อำศัยคำพูดหรือตัวอักษร
 แต่เป็นกำรถ่ำยทอดจำกจิตสู่จิต
โดยตรง โดยอำศัยประสบกำรณ์จำก
กำรปฏิบัติ และเห็นแจ้งธรรมชำติ
ของควำมเป็นพุทธะ ซึ่งมีอยู่แล้วใน
ตัวเองอย่ำงฉับพลัน >> “นิกำย
ฉับพลัน” (Sudden School)
 คำสอนของเซนทั้งหมดต่ำงมีเป้ ำหมำยเพื่อควำมตระหนักรู้และ
ทำจิตของตนให้สมบูรณ์ กำรรู้แจ้ง คือ กำรเปิดเผยธรรมชำติ
ภำยใน ซึ่งก็คือ “จิต”
 ท่ำนฮุ้ยเน้ง หรือ ท่ำนเว่ยหลำง มี
ทัศนะว่ำ มนุษย์ทุกคนล้วนมีสิ่งที่
เรียกว่ำจิตเดิมแท้นี้ในตัว จิตเดิม
แท้เคยมีสภำพที่บริสุทธ์ ภำยหลัง
เมื่อถูกสภำพแวดล้อมยั่วยวนให้
เกิดกิเลส จิตเดิมแท้นี้จึงค่อยๆ
เศร้ำหมองลง >> เมื่อใดที่สำมำรถ
ทำลำยสิ่งสกปรกที่ห่อหุ้มจิตนี้ออก
ได้แล้ว >> เมื่อนั้นจิตเดิมแท้จะเข้ำ
สู่สภำวะที่บริสุทธิ์ สะอำดอีกครั้ง
>> ควำมหลุดพ้น >> สิ้นทุกข์ สงบ
เย็น เบิกบำน
 คนปกติทุกคนมีธรรมชาติอย่างหนึ่งในตัวเสมอเหมือนกันคือ พุทธภาวะ
(Buddhahood)หรือ ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธ(Buddha-nature)
 พุทธภาวะคือความสามารถที่จะเข้าใจธรรมแล้วก้าวสู่ความหลุดพ้นได้
 ท่านฮุยเน้ง สังฆปรินายกองค์ที่ 6 กล่าวว่า “ทุกคนต่างมีพุทธภาวะเท่ากัน”จะ
ต่างกันก็ที่กิเลสห่อหุ้ม
 มนุษย์กับโลก “ทุกชีวิตมีสิทธิบนโลกนี้เท่าเทียมกัน”
 “สรรพสิ่งในจักรวาลต่างอิงอาศัยและสัมพันธ์เนื่องถึงกัน
 มนุษย์ไม่มีสิทธิที่จะเอาเปรียบธรรมชาติ
 เซ็นยึดหลักแบบมหำยำน คือถืออุดมคติ 3 ประกำร ได้แก่
๑. หลักมหำปัญญำ เน้นเรื่องสุญญตำ หรือควำมว่ำง
ได้แก่กำรละควำมยึดถือ แม้กระทั่งพระนิพพำน
๒. หลักมหำกรุณำ ได้แก่กำรตั้งโพธิจิตเพื่อช่วยสัตว์ทั้ง
ปวง
๓. หลักมหำอุปำย คือจะต้องแสวงหำกุศโลบำยในกำร
ช่วยเหลือปวงสัตว์
 นิกำยเซนมีจุดมุ่งหมำยอยู่ที่กำรรู้แจ้ง หรือ ควำมหลุดพ้น เรียกว่ำ
>> “ซำโตริ” ในภำษำญี่ปุ่น
 ดร.ซูสุกิ >> ต้นตอของควำมทุกข์ คือ ทัศนะที่มองสรรพสิ่งโดย
แยกเป็นสอง >> โลกธรรม >> สิ่งที่น่ำพอใจและไม่น่ำพอใจ >>
เกิดควำมยึดมั่นถือมั่น ชีวิตเวียนว่ำยอยู่กับสุข ทุกข์ที่ไม่จีรัง
 ซำโตริ คือ กำรที่บุคคลสำมำรถมองสรรพสิ่งตำมควำมเป็นจริง ไม่
มองสิ่งต่ำงๆ แบบแบ่งแยก ปรำศจำกทุกข์จำกโลกธรรม เข้ำสู่
ควำมสงบ เยือกเย็นจำกกำรเข้ำถึงธรรม
 เป้ าหมายในการใช้ชีวิตแบบเซนคือคือ การบรรลุประสบการณ์ทางจิตที่เรียกว่า
ซาโตริ
 ฉุกคิดและตระหนักรู้ เท่าทันความเป็นไปของชีวิต
 การบรรลุซาโตริไร้แบบแผนและเรียบง่าย ซาโตริคือประสบการณ์ทางจิตที่เร้น
ลับที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เกิดความสว่าง สงบ รู้สึกปลอด
โปร่งเบาสบาย
 เซน เป็น แนวคิดและหลักปฏิบัติแบบธรรมชาตินิยม “สิ่งธรรมชาติไม่มีดีมีเลว
ทุกอย่างถูกสร้างมาอย่างเหมาะสมแล้ว”
 “ความสมดุล” คือมโนทัศน์สาคัญของเซน
 ผู้ที่บรรลุซำโตริ >> จะมีจิตใจ สงบ
เย็น เบิกบำน มั่นคง ไม่หวั่นไหวไป
กับควำมสุข ทุกข์ ควำมสมหวัง
ผิดหวัง ควำมสำเร็จ ล้มเหลว ที่เกิด
กับชีวิต
 กำรบรรลุซำโตริ หรือ กำรรู้แจ้งแบบ
เซนมีลักษณะเฉพำะตน >> เช่น
อิกคิว ชอบปฏิบัติธรรมด้วยกำร
ล่องเรือในทะเลสำบตอนกลำงคืน
แล้วลอยเรือนั่งสมำธิอยู่จนกระทั่งรุ่ง
สำง คืนหนึ่งขณะนั่งสมำธิ เวลำนั้น
ใกล้รุ่งบรรยำกำศเงียบสงัด ท่ำนได้
ยินเสียงอีกำร้อง เท่ำนั้นเอง ท่ำนอิก
คิวก็บรรลุธรรม
 มนุษย์ :
 เต่านี้ช่างโง่เสียจริง มีคัมภีร์อยู่บนหลัง
แล้ว เหตุไฉนจึงไม่รู้ธรรมะ
เต่า :
บนหลังฉันนี้ยังไม่ใช่ธรรมะแท้จริง. ความ
หนวกบอด คือ ความไม่ยินดียินร้ายใน
อารมณ์ที่มากระทบ; ความเย็นและสงบที่
เนื้อตัวของฉันต่างหาก เป็นธรรมะที่
แท้จริง.
แม่น้ำคด
ใจไม่คด
 กำรที่จะขจัดอวิชชำที่เป็นสำเหตุของวิธีมองโลกแบบแบ่งแยก
ประเมินค่ำ จะต้องมีจิตที่เป็นสมำธิ เมื่อจิตเป็นสมำธิ ปัญญำก็จะ
เกิด มโนทัศน์เรื่องกำรเกิด-กำรตำย สวย-ขี้เหร่ ดี-ชั่ว หรือ เรำ-
เขำก็จะหมดไป เลิกยึดถือว่ำมีตัวตนในสรรพสิ่ง แล้วเรำจะพบว่ำ
ทุกอย่ำงล้วนไร้ตัวตนที่จะเปรียบเทียบ เกิดประจักษ์รู้แจ้งในพุทธ
ภำวะ >> ซำโตริ
 กำรปฏิบัติเซ็นอย่ำงสมบูรณ์แบบ หมำยถึงกำรใช้ชีวิตประจำวันตำม
ธรรมชำติ ท่ำนโปเช็งนิยำมคำว่ำเซ็นว่ำ "เมื่อหิวก็กิน เมื่อง่วงก็นอน" กำร
กลับสู่ธรรมชำติที่แท้จริงของเรำใช้เวลำฝึกยำวนำน พระเซ็นผู้มีชื่อเสียงรูป
หนึ่งกล่ำวว่ำ
"ก่อนที่จะศึกษาเซ็น ภูเขาก็คือภูเขา และแม่น้าก็คือแม่น้า ระหว่าง
ที่ศึกษาเซ็น ภูเขาไม่ใช่ภูเขา และแม่น้าไม่ใช่แม่น้า แต่เมื่อได้รู้แจ้งแล้ว
ภูเขาก็กลับเป็นภูเขา และแม่น้าก็กลับเป็นแม่น้าอย่างเดิม"
จุดเน้นของเซ็นเกี่ยวกับควำมเป็นธรรมชำติและกำรปล่อยให้ทุกสิ่ง
ดำเนินไปตำมธรรมชำตินี้สะท้อนถึงแนวคิดของปรัชญำเต๋ำอย่ำงชัดเจน
 พิธีชงน้ำชำ หรือ ชำโนยุ (Chanoyu) เป็นเอกลักษณ์ของประเทศ
ญี่ปุ่นอันหนึ่ง ซึ่งพัฒนำมำจำกพุทธศำสนำฝ่ำยเซ็น หัวใจของพิธี
ชำโนยุอันได้แก่ ควำมงำมอันเรียบง่ำย ควำมกลมกลืนกับ
ธรรมชำติ และกำรเคลื่อนไหวอย่ำงสำรวมแช่มช้อย มีสติกำกับ
ทุกอิริยำบถ ล้วนสะท้อนหลักปรัชญำของเซ็นที่มุ่งฝึกจิตให้สงบ
นิ่งและอยู่ในวิถีของธรรมชำติ
 โกอำน หมำยถึง ปริศนำธรรม แสดงเรื่องรำวของอำจำรย์เซ็นในอดีต หรือ
บทสนทนำระหว่ำงอำจำรย์กับศิษย์ ใช้เป็นเครื่องมือทำลำยวิธีคิดทำงตรรกะ
เพื่อที่จะช่วยนำผู้ปฏิบัติไปสู่ควำมจริงแห่งเซ็น
 โกอำนเป็นปัญหำที่ยำกจะหำคำตอบ และเป็นปัญหำที่ไม่มีคำตอบตำยตัว
เพรำะอยู่นอกขอบเขตกำรใช้เหตุผลและกำรไตร่ตรองตำมกระบวนกำรทำง
ปัญญำ วิธีกำรแห่งโกอำนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของนิกำยรินไซ ผู้ปฏิบัติเข้ำไป
รับปัญหำโกอำนจำกอำจำรย์มำขบคิด แต่ละคนจะพยำยำมคิดค้นหำคำตอบ
ด้วยกำรใช้ระบบเหตุผลพิจำรณำปัญหำนั้นๆ แล้วอำจจะลงควำมเห็นว่ำปัญหำ
ดังกล่ำวไร้สำระ ต่อเมื่อผู้ขบคิดละทิ้งวิธีคิดทำงตรรกะ คำตอบจึงจะปรำกฏ
 กำรแก้ปริศนำธรรมโกอันมักใช้เวลำนำน อำจำรย์ผู้มีประสบกำรณ์จะรู้ว่ำ
เมื่อใดที่ ศิษย์ของตนใกล้จะประสบสภำวะกำรรู้แจ้ง เมื่อนั้นอำจำรย์จะช่วย
ศิษย์ให้ไปสู่กำรรู้แจ้งด้วยกำรกระทำที่ไม่คำดฝัน เช่น ฟำดด้วยไม้หรือร้อง
ตะโกนออกมำ
ดำวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับกำรเรียนรู้ปรัชญำและศำสนำแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 

Tendances (20)

พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 

Similaire à พระพุทธศาสนานิกายเซน

คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนMI
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616Sombat Nakasathien
 

Similaire à พระพุทธศาสนานิกายเซน (20)

คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

พระพุทธศาสนานิกายเซน

  • 2.
  • 3.
  • 4. “The bird sings My mind rejoices, No bird No mind.” “นกร้องเพลง จิตใจฉันเบิกบาน ไม่มีนก ไม่มีใจ....”
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.  คำว่ำ “เซน” (Zen) เป็นภำษำญี่ปุ่น มีรำก ศัพท์มำจำกคำว่ำ “ธฺยำนะ” ในภำษำ สันสกฤต และ คำว่ำ “ฌำน” ในภำษำบำลี แปลว่ำ กำรเพ่ง หรือ กำรทำจิตให้เป็น สมำธิโดยกำรนั่งวิปัสสนำกรรมฐำน  ผู้ปฏิบัติฌานจะเพ่งมองหรือจดจ่ออยู่กับ สติสัมปชัญญะของตนเอง เริ่มต้นด้วยการ ควบคุม (หรือฝึก) ลมหายใจ พยายามเพ่งจิตไว้ ที่จุดใด จุดหนึ่ง จนเกิดความตระหนักรู้ภายใน นั่นคือ เกิดปัญญาญาณแบบเฉียบพลัน
  • 12.  พระสูตรของจีน “ต้าฝั่นเทียนอุ้นฝูเจี๋ยอี๋จิง” >> เชื่อกันว่า พระพุทธศำสนำนิกำยเซนเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกำล  ขณะที่พระพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ ท้าว มหาพรหมได้มาถวายดอกไม้เป็นพุทธบูชา พร้อมทูลขอให้ ทรงแสดงธรรม พระพุทธองค์ทรงชูดอกไม้ขึ้นท่ามกลางพุทธ บริษัท มีเพียงพระมหากัสสปะที่ยิ้มน้อยๆ อย่างเข้าใจ  ....พระพุทธองค์จึงตรัสว่า พระองค์ทรงมีธรรมจักษุอัน ถูกตรง และมีนิพพานจิต ภาวะที่แท้ย่อมไม่มีลักษณะ ขอพระมหากัสสปะพึงรักษาไว้ให้ดี  พุทธวจนะนี้เอง ที่ถือเป็นที่มาคาสอนแบบเซน
  • 13.  พระมหากัสสปะจึงได้รับการยกย่องจาก พระพุทธเจ้าเป็นอย่างยิ่ง และได้รับมอบผ้า สังฆาฏิ (ผ้าพาดบ่า)จากพระพุทธเจ้า  ถือเป็นธรรมเนียมกำรส่งมอบผ้ำสังฆำฏิ และบำตรเพื่อเป็นสัญญลักษณ์ของกำร เป็น >> “สังฆปริณำยก”  พระมหำกัสสปะเป็นสังฆปรินำยกคนแรก และมีกำรสือทอดมำเป็นลำดับจนถึง สังฆปรินำยกองค์ที่ ๒๘ >> ท่ำนโพธิธรรม
  • 14.  ตำมแนวประวัติศำสตร์ >> นิกำยเซน เริ่มต้นจำกกำรที่ “ท่ำนโพธิธรรม” พระภิกษุชำวอินเดีย เป็นผู้นำคำสอนเข้ำ ไปเผยแพร่ในจีน ประมำณ ปี ค.ศ. ๕๒๐ ท่ำนเป็นสังฆปริณำยกองค์แรกในจีน  สำนักเซนเริ่มต้นขึ้นในจีนช่วง คริสต์ศตวรรษที่ ๗-๘ >> เกิดจำกกำร ประสำนคำสอนพุทธศำสนำมหำยำนแบบ อินเดียเข้ำกับปรัชญำเต๋ำ
  • 15.
  • 16.  การเห็นธรรมชาติของตัวท่านเองคือเซน ....ไม่คิดถึงอะไรคือเซน...ทุกสิ่งที่ท่านทาคือเซน (Seeing your nature is Zen…Not thinking about anything is Zen…Everything you do is Zen)  ตัดใจเป็นอิสระจากกฎเกณฑ์ จากฌานและคัมภีร์  ถ้าท่านเห็นธรรมชาติของตนก็ไม่จาเป็นต้องอ่านพระสูตรหรืออ้อนวอนพระพุทธเจ้า  ทุกสิ่งที่ปรากฏในภพทั้งสามล้วนเกิดจากจิต ดังนั้นพระพุทธเจ้าทั้งอดีตและอนาคต ล้วนสอนด้วยวิธีจิตสู่จิตโดยไม่ยึดรูปแบบตายตัวใด ๆ  จิตนี้คือพุทธะ และพุทธะคือจิตนั้นเอง (ไม่ต้องแสวงหาพุทธเจ้านอกจิต)
  • 17.  การใช้ความคิดดูจิตย่อมไม่เห็นจิต ใช้สติดูจิตจึงจะเห็นจิต  ตราบใดที่ท่านหาพุทธเจ้าภายนอกตัวเอง ท่านก็จะยังไม่เห็น พระพุทธเจ้าอยู่ภายในจิตของท่านเอง  การค้นหาพุทธต้องค้นหาตัวเองให้พบก่อน  บุญกริยาวัตถุอื่น ๆ ไม่ส่งผลให้เป็นพุทธะ  ผู้ไม่เห็นธรรมชาติของตนเองยังเป็นครูไม่ได้  ท่านมีพุทธภาวะอยู่แล้วแต่เพราะไม่ได้รับการช่วยเหลือจากครู(กัลยาณมิตร) ท่าน จึงไม่รู้จักพุทธภาวะ  ผู้ใดเห็นธรรมในตนผู้นั้นชื่อว่าพุทธะ  การตัดเวรกรรมคือการตัดความคิดปรุงแต่ง
  • 18.  ท่ำนฮุยเน้ง เป็นสังฆนำยกนิกำยเซนองค์ที่ ๖ ของจีน  ท่านเกิดในตระกูลยากจน อ่านหนังสือไม่ออก แต่มีความเฉลียวฉลาด วันหนึ่งได้ ยินเสียงสวดพระสูตร “วัชรเฉทิกสูตร” จึงเกิดศรัทธา ได้มาขอศึกษาธรรมกับท่านฮุง เจิง (สังฆปรินายกองค์ที่ ๕)  ต่อมาเมื่อมีการประกาศหาผู้สืบทอดตาแหน่งสังฆปรินายก ท่านจึงไปรับสมัคร คัดเลือกโดยแข่งกับ “ท่านชินเชา” โดยใช้วิธีแข่งแต่งบทกวี (โศลก) เพื่อพิสูจน์ว่า ผู้ใดเข้าใจสภาพธรรมได้อย่างถ่องแท้  สุดท้ำยท่ำนได้รับกำรคัดเลือกเป็นสังฆปรินำยกองค์ที่ ๖ ประกำศ หลักธรรมอย่ำงเรียบง่ำย เน้นสอนกำรบรรลุอย่ำงฉับพลัน เผยแพร่อยู่ทำง ใต้ของจีน มีผู้เลื่อมใสเป็นจำนวนมำก
  • 21.  แต่งโฉลกแข่งกับท่านเฉินซิ่ว  ประตูทีไร้ประตู (อู๋เหมินกวน) รวมโกอัน 48 บท ของอู๋เหมินฮุ่ยคาย  ฮุยเหน่งกล่าวกับพระหมิงว่า “ยามเมื่อท่านไม่คิดเรื่องดีและยามเมื่อท่านไม่คิดถึงเรื่อง ไม่ดี ตัวตนที่แท้จริงของท่านเป็นเช่นไร?  ลมไหว ? ธงไหว ? ใจไหว?  พระสูตรของฮุยเหน่ง(เว่ยหลาง)  ท่านทันซันกล่าวกับเอคิโดว่า “อาตมาวางหญิงสาวคนนั้นไว้ที่นั้นแล้ว ท่านยังอุ้มเธออยู่ อีกหรือ?”  พระโพธิธรรมกล่าวว่า “เมื่อท่านเห็นปรากฏการณ์ทั้งปวงไม่เป็นปรากฏการณ์ ท่าน ย่อมเห็นตถาคต”
  • 22.  พระพุทธศำสนำนิกำยเซนในยุคของท่ำนฮุยเน้ง หรือ เว่ยหลำง นับได้ว่ำเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด เจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมำเป็นเวลำ หลำยร้อยปี  หลังจำกยุคของท่ำนเว่ยหลำง เป็นต้นมำ พุทธศำสนำนิกำยเซนได้ แตกออกเป็น ๕ สำขำ คือ ลิน-ชิ, เช้ำ-ทง, เว่ยหยำง, ยุน-เมน และฟำเยน เน้นวิธีกำรสอนและกุลโลบำยที่แตกต่ำงกันไป  สำขำที่สืบทอดสู่ประเทศญี่ปุ่น คือ ลิน-ชิ หรือ รินไซเซน (Rinzai Zen) ที่เน้นกำรรู้แจ้งอย่ำงฉับพลันที่อำศัยปริศนำธรรม  และสำขำเซ้ำ-ทง หรือ โซโตะเซน (Soto Zen) เน้นกำรปฏิบัติ ซำเซน (zazen) หรือ กำรทำสมำธิ เพื่อให้จิตใจสงบ มั่นคงและรู้ แจ้ง
  • 23.  พุทธศำสนำฝ่ำยเซนกำเนิดจำกคำสอนของพุทธศำสนำของอินเดียและ ปรัชญำเต๋ำของจีน  หลักสำคัญของพุทธศำสนำคือกำรไม่มีตัวตนและวิธีมองโลกแบบไม่ แบ่งแยกไม่ประเมินค่ำ >> ปรัชญำเต๋ำก็มองโลกแบบไม่แบ่งแยก เน้น ญำณปัญญำมำกกว่ำควำมรู้เชิงเหตุผล ปรัชญำเต๋ำเน้นควำมรัก ธรรมชำติและกำรปล่อยให้วิถีชีวิตเป็นไปตำมธรรมชำติ >> เซ็นรับ มรดกทำงปัญญำข้ำงต้นมำผสมผสำนกัน เกิดเป็นวิถีกำรดำเนินชีวิตที่ ให้ควำมสำคัญกับกำรอยู่กับปัจจุบันและชีวิตในโลกนี้ โดยมี จุดมุ่งหมำยที่จะขัดเกลำจิตใจให้บรรลุพุทธภำวะ
  • 24.  พุทธภำวะหรือธรรมชำติแห่งควำมเป็นพุทธะนั้นมีอยู่แล้วในคน ทุกคน เป็นธรรมชำติดั้งเดิมของสรรพสัตว์ สิ่งที่บดบังพุทธภำวะ คือ ควำมคิดปรุงแต่งซึ่งก่อให้เกิดตัวตน และควำมยึดมั่นถือมั่น หมกมุ่นอยู่ในควำมคิดที่ก่อให้เกิดกำรจำแนกสิ่งต่ำงๆออกเป็น ๒ ฝ่ำย เช่น ดี-ชั่ว ถูก-ผิด  เมื่อเรำขจัดควำมคิดปรุงแต่งออกไป ก็จะไม่มีตัวตนและควำมยึด ติดทั้งหลำย มองเห็นเอกภำพของสรรพสิ่ง
  • 25.  ในฐำนะที่เซ็นเป็นสำขำหนึ่งของพุทธศำสนำ จึงยึดถือแนวคำสอน หลักเหมือนกับพุทธศำสนำฝ่ำยเถรวำท โดยเฉพำะหลักอริยสัจ ๔ และ อริยมรรคมีองค์ ๘  เซ็นถือว่าสรรพสิ่งล้วนอยู่ภำยใต้กฎธรรมชำติ คือ ควำมไม่เที่ยง ควำมเป็นทุกข์ ควำมไม่มีตัวตน ธรรมะคือธรรมชาติ และธรรมชำติ คือ ตถตำ หรือ ควำมเป็นเช่นนั้นเอง  เซ็นไม่ให้ควำมสำคัญแก่ตรรกะหรือเหตุผล แต่เน้นประสบกำรณ์ตรง คือเข้ำถึงโดยไม่ผ่ำนสื่อกลำงใดๆ เซ็นไม่มีการแย้งกันในเรื่องถูกหรือผิด ความสมบูรณ์หรือความไม่สมบูรณ์ ความมีหรือไม่มี เพราะถือเป็นการเรื่อง ของการยึดมั่นถือมั่น ขณะเดียวกัน เซ็นก็เป็นนิกำยวิปัสสนำโดยเฉพำะ คือไม่เน้นหนังสือหรือปริยัติธรรมใดๆ แต่มุ่งที่จะขัดเกลำจิตใจ
  • 26.  ๑) ควำมจริงที่สูงสุด >> เป็นสิ่งที่ไม่สำมำรถแสดงได้ด้วยคำพูด >> ควำมจริงที่สูงสุด จะต้องได้จำกประสบกำรณ์โดยตรงเท่ำนั้น  ๒) กำรฝึกฝนในทำงธรรม ไม่สำมำรถฝึกฝนได้ด้วยควำมพยำยำม ที่เกิดจำกกำรปรุงแต่ง ธรรมะเป็นสิ่งที่เป็นอยู่เองตำมธรรมชำติ ผู้ปฏิบัติจะต้องเข้ำถึงควำมเป็นอยู่เองนี้  ๓) ธรรมชำติของควำมเป็นพุทธะนั้น มีอยู่แล้วในตัวเรำ เรำ เพียงแต่ค้นพบสิ่งที่มีอยู่แล้วเท่ำนั้น ดังนั้น ผลบั้นปลำยสุดท้ำย แล้วไม่มีอะไรที่ได้มำใหม่
  • 27.  ๔) สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ ประสบกำรณ์ ของกำรตื่นรู้ เท่ำนั้น  ๕) กำรตรัสรู้ไม่ได้จำกัดอยู่ในรูปแบบ ใดๆ ในขณะที่ดำรงชีวิตประจำวัน สำมำรถเป็นขณะแห่งกำรสัมผัสชีวิต ทำงธรรม >> ขณะแห่งกำรทำงำนใน ชีวิตประจำวันสำมำรถเป็นขณะแห่ง กำรตรัสรู้ได้ เพรำะธรรมชำติแห่ง ควำมเป็นพุทธเป็นสิ่งสำกล เรำอำจพบ มันได้ทุกหนแห่ง
  • 29.  พระพุทธะตรัสรู้จิตอยู่ว่ำง ได้ยินสิ่งทุกอย่ำงแถลงไข เหมือนมันฟ้ องตัวเองเซ็งแซ่ไป ว่ำไม่มีสิ่งไหนน่ำยึดเอำ มำเพื่อเป็นตัวกูและของกู อย่ำหลงตู่มันเข้ำเพรำะควำมเขลำ เอำของเป็นอนัตตำมำเป็นเรำ จะต้องเศร้ำโศกระบบตรมใจแรง แม้กรวดดินหินไม้และใบหญ้ำ ล้วนแต่ส่งเสียงจ้ำทุกหัวระแหง คนจิตวุ่นไม่เข้ำใจไม่ระแวง ว่ำทุกสิ่งร้องแสดงบทพระธรรม ครั้นจิตว่ำงจะได้ยินแม้ใบหญ้ำ มันปรึกษำข้อควำมที่งำมขำ ว่ำ "ทำไฉนสัตว์ทั้งหลำยจะร่ำยรำ ด้วยจิตว่ำงเพรำะวำงธรรมทั้งปวงเอย"
  • 30.  กำรถ่ำยทอดธรรมของนิกำยเซนไม่ อำศัยคัมภีร์หรือตำรำใดๆ  ไม่อำศัยคำพูดหรือตัวอักษร  แต่เป็นกำรถ่ำยทอดจำกจิตสู่จิต โดยตรง โดยอำศัยประสบกำรณ์จำก กำรปฏิบัติ และเห็นแจ้งธรรมชำติ ของควำมเป็นพุทธะ ซึ่งมีอยู่แล้วใน ตัวเองอย่ำงฉับพลัน >> “นิกำย ฉับพลัน” (Sudden School)
  • 31.  คำสอนของเซนทั้งหมดต่ำงมีเป้ ำหมำยเพื่อควำมตระหนักรู้และ ทำจิตของตนให้สมบูรณ์ กำรรู้แจ้ง คือ กำรเปิดเผยธรรมชำติ ภำยใน ซึ่งก็คือ “จิต”
  • 32.  ท่ำนฮุ้ยเน้ง หรือ ท่ำนเว่ยหลำง มี ทัศนะว่ำ มนุษย์ทุกคนล้วนมีสิ่งที่ เรียกว่ำจิตเดิมแท้นี้ในตัว จิตเดิม แท้เคยมีสภำพที่บริสุทธ์ ภำยหลัง เมื่อถูกสภำพแวดล้อมยั่วยวนให้ เกิดกิเลส จิตเดิมแท้นี้จึงค่อยๆ เศร้ำหมองลง >> เมื่อใดที่สำมำรถ ทำลำยสิ่งสกปรกที่ห่อหุ้มจิตนี้ออก ได้แล้ว >> เมื่อนั้นจิตเดิมแท้จะเข้ำ สู่สภำวะที่บริสุทธิ์ สะอำดอีกครั้ง >> ควำมหลุดพ้น >> สิ้นทุกข์ สงบ เย็น เบิกบำน
  • 33.  คนปกติทุกคนมีธรรมชาติอย่างหนึ่งในตัวเสมอเหมือนกันคือ พุทธภาวะ (Buddhahood)หรือ ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธ(Buddha-nature)  พุทธภาวะคือความสามารถที่จะเข้าใจธรรมแล้วก้าวสู่ความหลุดพ้นได้  ท่านฮุยเน้ง สังฆปรินายกองค์ที่ 6 กล่าวว่า “ทุกคนต่างมีพุทธภาวะเท่ากัน”จะ ต่างกันก็ที่กิเลสห่อหุ้ม  มนุษย์กับโลก “ทุกชีวิตมีสิทธิบนโลกนี้เท่าเทียมกัน”  “สรรพสิ่งในจักรวาลต่างอิงอาศัยและสัมพันธ์เนื่องถึงกัน  มนุษย์ไม่มีสิทธิที่จะเอาเปรียบธรรมชาติ
  • 34.
  • 35.
  • 36.  เซ็นยึดหลักแบบมหำยำน คือถืออุดมคติ 3 ประกำร ได้แก่ ๑. หลักมหำปัญญำ เน้นเรื่องสุญญตำ หรือควำมว่ำง ได้แก่กำรละควำมยึดถือ แม้กระทั่งพระนิพพำน ๒. หลักมหำกรุณำ ได้แก่กำรตั้งโพธิจิตเพื่อช่วยสัตว์ทั้ง ปวง ๓. หลักมหำอุปำย คือจะต้องแสวงหำกุศโลบำยในกำร ช่วยเหลือปวงสัตว์
  • 37.  นิกำยเซนมีจุดมุ่งหมำยอยู่ที่กำรรู้แจ้ง หรือ ควำมหลุดพ้น เรียกว่ำ >> “ซำโตริ” ในภำษำญี่ปุ่น  ดร.ซูสุกิ >> ต้นตอของควำมทุกข์ คือ ทัศนะที่มองสรรพสิ่งโดย แยกเป็นสอง >> โลกธรรม >> สิ่งที่น่ำพอใจและไม่น่ำพอใจ >> เกิดควำมยึดมั่นถือมั่น ชีวิตเวียนว่ำยอยู่กับสุข ทุกข์ที่ไม่จีรัง  ซำโตริ คือ กำรที่บุคคลสำมำรถมองสรรพสิ่งตำมควำมเป็นจริง ไม่ มองสิ่งต่ำงๆ แบบแบ่งแยก ปรำศจำกทุกข์จำกโลกธรรม เข้ำสู่ ควำมสงบ เยือกเย็นจำกกำรเข้ำถึงธรรม
  • 38.  เป้ าหมายในการใช้ชีวิตแบบเซนคือคือ การบรรลุประสบการณ์ทางจิตที่เรียกว่า ซาโตริ  ฉุกคิดและตระหนักรู้ เท่าทันความเป็นไปของชีวิต  การบรรลุซาโตริไร้แบบแผนและเรียบง่าย ซาโตริคือประสบการณ์ทางจิตที่เร้น ลับที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เกิดความสว่าง สงบ รู้สึกปลอด โปร่งเบาสบาย  เซน เป็น แนวคิดและหลักปฏิบัติแบบธรรมชาตินิยม “สิ่งธรรมชาติไม่มีดีมีเลว ทุกอย่างถูกสร้างมาอย่างเหมาะสมแล้ว”  “ความสมดุล” คือมโนทัศน์สาคัญของเซน
  • 39.  ผู้ที่บรรลุซำโตริ >> จะมีจิตใจ สงบ เย็น เบิกบำน มั่นคง ไม่หวั่นไหวไป กับควำมสุข ทุกข์ ควำมสมหวัง ผิดหวัง ควำมสำเร็จ ล้มเหลว ที่เกิด กับชีวิต  กำรบรรลุซำโตริ หรือ กำรรู้แจ้งแบบ เซนมีลักษณะเฉพำะตน >> เช่น อิกคิว ชอบปฏิบัติธรรมด้วยกำร ล่องเรือในทะเลสำบตอนกลำงคืน แล้วลอยเรือนั่งสมำธิอยู่จนกระทั่งรุ่ง สำง คืนหนึ่งขณะนั่งสมำธิ เวลำนั้น ใกล้รุ่งบรรยำกำศเงียบสงัด ท่ำนได้ ยินเสียงอีกำร้อง เท่ำนั้นเอง ท่ำนอิก คิวก็บรรลุธรรม
  • 40.
  • 41.  มนุษย์ :  เต่านี้ช่างโง่เสียจริง มีคัมภีร์อยู่บนหลัง แล้ว เหตุไฉนจึงไม่รู้ธรรมะ เต่า : บนหลังฉันนี้ยังไม่ใช่ธรรมะแท้จริง. ความ หนวกบอด คือ ความไม่ยินดียินร้ายใน อารมณ์ที่มากระทบ; ความเย็นและสงบที่ เนื้อตัวของฉันต่างหาก เป็นธรรมะที่ แท้จริง.
  • 43.  กำรที่จะขจัดอวิชชำที่เป็นสำเหตุของวิธีมองโลกแบบแบ่งแยก ประเมินค่ำ จะต้องมีจิตที่เป็นสมำธิ เมื่อจิตเป็นสมำธิ ปัญญำก็จะ เกิด มโนทัศน์เรื่องกำรเกิด-กำรตำย สวย-ขี้เหร่ ดี-ชั่ว หรือ เรำ- เขำก็จะหมดไป เลิกยึดถือว่ำมีตัวตนในสรรพสิ่ง แล้วเรำจะพบว่ำ ทุกอย่ำงล้วนไร้ตัวตนที่จะเปรียบเทียบ เกิดประจักษ์รู้แจ้งในพุทธ ภำวะ >> ซำโตริ
  • 44.  กำรปฏิบัติเซ็นอย่ำงสมบูรณ์แบบ หมำยถึงกำรใช้ชีวิตประจำวันตำม ธรรมชำติ ท่ำนโปเช็งนิยำมคำว่ำเซ็นว่ำ "เมื่อหิวก็กิน เมื่อง่วงก็นอน" กำร กลับสู่ธรรมชำติที่แท้จริงของเรำใช้เวลำฝึกยำวนำน พระเซ็นผู้มีชื่อเสียงรูป หนึ่งกล่ำวว่ำ "ก่อนที่จะศึกษาเซ็น ภูเขาก็คือภูเขา และแม่น้าก็คือแม่น้า ระหว่าง ที่ศึกษาเซ็น ภูเขาไม่ใช่ภูเขา และแม่น้าไม่ใช่แม่น้า แต่เมื่อได้รู้แจ้งแล้ว ภูเขาก็กลับเป็นภูเขา และแม่น้าก็กลับเป็นแม่น้าอย่างเดิม" จุดเน้นของเซ็นเกี่ยวกับควำมเป็นธรรมชำติและกำรปล่อยให้ทุกสิ่ง ดำเนินไปตำมธรรมชำตินี้สะท้อนถึงแนวคิดของปรัชญำเต๋ำอย่ำงชัดเจน
  • 45.
  • 46.
  • 47.  พิธีชงน้ำชำ หรือ ชำโนยุ (Chanoyu) เป็นเอกลักษณ์ของประเทศ ญี่ปุ่นอันหนึ่ง ซึ่งพัฒนำมำจำกพุทธศำสนำฝ่ำยเซ็น หัวใจของพิธี ชำโนยุอันได้แก่ ควำมงำมอันเรียบง่ำย ควำมกลมกลืนกับ ธรรมชำติ และกำรเคลื่อนไหวอย่ำงสำรวมแช่มช้อย มีสติกำกับ ทุกอิริยำบถ ล้วนสะท้อนหลักปรัชญำของเซ็นที่มุ่งฝึกจิตให้สงบ นิ่งและอยู่ในวิถีของธรรมชำติ
  • 48.  โกอำน หมำยถึง ปริศนำธรรม แสดงเรื่องรำวของอำจำรย์เซ็นในอดีต หรือ บทสนทนำระหว่ำงอำจำรย์กับศิษย์ ใช้เป็นเครื่องมือทำลำยวิธีคิดทำงตรรกะ เพื่อที่จะช่วยนำผู้ปฏิบัติไปสู่ควำมจริงแห่งเซ็น  โกอำนเป็นปัญหำที่ยำกจะหำคำตอบ และเป็นปัญหำที่ไม่มีคำตอบตำยตัว เพรำะอยู่นอกขอบเขตกำรใช้เหตุผลและกำรไตร่ตรองตำมกระบวนกำรทำง ปัญญำ วิธีกำรแห่งโกอำนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของนิกำยรินไซ ผู้ปฏิบัติเข้ำไป รับปัญหำโกอำนจำกอำจำรย์มำขบคิด แต่ละคนจะพยำยำมคิดค้นหำคำตอบ ด้วยกำรใช้ระบบเหตุผลพิจำรณำปัญหำนั้นๆ แล้วอำจจะลงควำมเห็นว่ำปัญหำ ดังกล่ำวไร้สำระ ต่อเมื่อผู้ขบคิดละทิ้งวิธีคิดทำงตรรกะ คำตอบจึงจะปรำกฏ
  • 49.  กำรแก้ปริศนำธรรมโกอันมักใช้เวลำนำน อำจำรย์ผู้มีประสบกำรณ์จะรู้ว่ำ เมื่อใดที่ ศิษย์ของตนใกล้จะประสบสภำวะกำรรู้แจ้ง เมื่อนั้นอำจำรย์จะช่วย ศิษย์ให้ไปสู่กำรรู้แจ้งด้วยกำรกระทำที่ไม่คำดฝัน เช่น ฟำดด้วยไม้หรือร้อง ตะโกนออกมำ
  • 50.
  • 51.

Notes de l'éditeur

  1. พระโพธิธรรม ถือกำเนิด ประมาณปี พ.ศ. 440-528 เป็นราชบุตรองค์ที่ 3 ของพระเจ้าสิงหวรมันในเมืองคันจิ อาณาจักรปัลลวะ อินเดียตอนใต้ นับถือศาสนาพราหมณ์ พอโตเป็นหนุ่มหันมานับถือพุทธศาสนา รับการสอนธรรมจากท่านปรัชญาตาระ ชาวมคธ ท่านโพธิธรรมได้โดยสารเรือไปเมืองจีนขึ้นที่ท่ามหาปัลลิปุรัมแล้วเดินลัดเลาะไปตามฝั่งมหาสมุทรอินเดียมาทางเกาะมาเลย์เป็นเวลา 3 ปีและถึงเมืองจีนทางภาคใต้ท่าเรือหนานไห่ ปี พ.ศ.475 จีนแบ่งออกเป็น 2 ราชวงศ์เหนือ-ใต้ ทางเหนือปกครองแบบทหารนิยมอำนาจของขลังสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทางใต้ฝักใฝ่เหตุผลสติปัญญาและหลักปรีชาญาณ ท่านได้รับนิมนต์ให้แสดงธรรมแก่จักรพรรดิหวูแห่งราชวงศ์เหลียง ท่านบำเพ็ญภาวนาหันหน้าสู่กำแพงหินของถ้ำที่ยอดเขาเฉาซือ ห่างจากวัดเส้าหลิน 1 ไมล์เป็นเวลานาน 9 ปี มีศิษย์ที่แท้จริงเพียง 3 รูป คือท่านเซ็ง ฟู ท่านเต้าหยูและท่านฮ้ยค้อ 3 ปีหลังการมรณภาพมีเจ้าหน้าที่ทางการพบท่านกำลังเดินไปตามภูเขาแถบเอเชียกลาง ท่านนำคณะเดินทางไปพร้อมกับรองเท้าข้างเดียว ท่านบอกกับเจ้าหน้าที่ว่ากำลังกลับอินเดีย
  2. ขณะที่อาจารย์อื่นมองเซนว่าเป็นการปฏิบัติชำระจิตเป็นขั้นตอนไปสู่พุทธภาวะท่านโพธิธรรมเห็นเซนเป็นพุทธภาวะและเห็นพุทธภาวะเสมอด้วยจิต คือจิตธรรมดาสามัญ แทนที่จะบอกให้สาวกของท่านชำระจิตของตน ท่านกลับชี้ให้หันหน้าสู่กำแพงหิน ชี้ดูการเคลื่อนไหวของเสือและนกกระเรียน ชี้ดูไม้อ้อที่กำลังลอยไปในแม่น้ำแยงซีเกียง ชี้ให้ดูรองเท้าข้างเดียว
  3. “สิ่งที่ท่านถามนั่นแหละคือจิตของท่าน สิ่งที่ฉันตอบนั่นแหละคือจิตของฉัน ถ้าฉันไม่คิดฉันจะตอบได้อย่างไร ถ้าท่านไม่คิดท่านจะถามได้อย่างไร สิ่งที่ท่านถามคือความคิด(จิต)ของท่าน” ภาษาและพฤติกรรม สัญญาและเจตนาล้วนเป็นหน้าที่ของจิต การเคลื่อนไหวทั้งปวง ล้วนเป็นการเคลื่อนไหวของจิต การเคลื่อนไหวจึงเป็นหน้าที่ของจิต ปราศจากการเคลื่อนไหวก็ไม่มีจิต ปราศจากจิตก็ไม่มีการเคลื่อนไหว ต่การเคลื่อนไหวไม่ใช่จิต และจิตก็ไม่ใช่การเคลื่อนไหว เพราะฉะนั้น จิตจึงไม่ใช่ทั้งการเคลื่อนไหวหรือการทำหน้าที่ เพราะสาระสำคัญในหน้าที่ของจิตคือความว่าง และความว่างโดยเนื้อแท้ก็ไม่มีความเคลื่อนไหว ความเคลื่อนไหวก็เป็นอันเดียวกันกับจิตและจิตโดยเนื้อแท้แล้วก็ไม่มีการเคลื่อนไหว
  4. พระสูตรหรือคาถาหลาย ๆ พันสูตรเป็นประโยชน์เพียงเพื่อเป็นเครื่องชำระจิต ความเข้าใจที่เกิดจากคำพูดเป็นสื่อกลาง
  5. หลวงพ่อเทียน จิตตสุโภสอนว่า “ให้เจริญสติแบบเคลื่อนไหวให้มากเพื่อประคองตัวรู้(สติ) ดูกายเคลื่อน ดูจิตคิด ทำให้ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ แล้วสัจธรรมก็จะเผยตัวของมันออกมาเอง...”