SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
ไตรลักษณ์
ความนา
ความเป็ นไปต่างๆ ทั้งหมดนี้ ในธรรมชาติ อาศัย
ความสัมพันธ์และความเป็นปัจจัยเนื่องอาศัยกันของสิ่งทั้งหลาย
เอง ไม่มีตัวการอย่างอื่นที่นอกเหนือออกไปในฐานะผู้สร้างหรือ
ผู้บันดาล จึงเรียกเพื่อเข้าใจง่ายๆ ว่าเป็นกฎธรรมชาติ
ความหมายของไตรลักษณ์
(The Three Characteristics of Existence)
ไตรลักษณ์ แปลว่า "ลักษณะ ๓ อย่าง" หมายถึงสามัญลักษณะ
หรือลักษณะที่เสมอกัน หรือข้อกาหนด หรือสิ่งที่มีประจาอยู่ใน
ตัวของสังขารทั้งปวงเป็นธรรมที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ ๓ อย่าง
ได้แก่ :-
อนิจจตา (Impermanence)
ทุกขตา (Stress and Conflict)
อนัตตา (Soullessness)
อนิจจตา (อนิจจลักษณะ) -
อาการไม่เที่ยง อาการไม่คงที่
อาการไม่ยั่งยืน อาการที่เกิดขึ้น
แล้วเสื่อมและสลายไป อาการที่
แสดงถึงความเป็นสิ่งไม่เที่ยงของ
ขันธ์.
อนิจจตา (Impermanence)
ทุกขตา (ทุกขลักษณะ) - อาการเป็นทุกข์ อาการที่ถูกบีบคั้นด้วยการ
เกิดขึ้นและสลายตัว อาการที่กดดัน อาการฝืนและขัดแย้งอยู่ในตัว เพราะ
ปัจจัยที่ปรุงแต่งให้มีสภาพเป็นอย่างนั้นเปลี่ยนแปลงไป จะทาให้คงอยู่ใน
สภาพนั้นไม่ได้ อาการที่ไม่สมบูรณ์มีความบกพร่องอยู่ในตัว อาการที่
แสดงถึงความเป็นทุกข์ของขันธ์.
ทุกขตา (Stress and Conflict)
อนัตตตา (อนัตตลักษณะ) - อาการของอนัตตา อาการของสิ่งที่
ไม่ใช่ตัวตน อาการที่ไม่มีตัวตน อาการที่แสดงถึงความไม่ใช่ใคร
ไม่ใช่ของใคร ไม่อยู่ในอานาจควบคุมของใคร อาการที่แสดงถึง
ไม่มีตัวตนที่แท้จริงของมันเอง อาการที่แสดงถึงความไม่มี
อานาจแท้จริงในตัวเลย อาการที่แสดงถึงความด้อยสมรรถภาพ
โดยสิ้นเชิงไม่มีอานาจกาลังอะไรต้องอาศัยพึงพิงสิ่งอื่นๆ
มากมายจึงมีขึ้นได้.
อนัตตา (Soullessness)
ไตรลักษณ์จัดเป็นความจริงสูงสุด
ในพุทธปรัชญาเถรวาท มิใช่แต่เพียงจิตเท่านั้นที่เกิดดับทุกขณะ
แม้วัตถุหรือสสารก็เกิดดับทุกขณะเหมือนกัน
สรรพสิ่งในโลกไม่ว่าจะเป็นจิตหรือวัตถุตั้งอยู่ชั้วขณะแล้วดับไป
ไม่มีอะไรเที่ยงแท้ถาวร
สิ่งทั้งปวงจะตกอยู่ในอานาจของไตรลักษณ์
“ตถาคต (พระพุทธเจ้า) ทั้งหลายจะอุบัติหรือไม่ก็ตาม ธาตุ(หลัก)
นั้นก็ยังคงมีอยู่ เป็นธรรมฐิติ เป็นธรรมนิยามว่า
๑. สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง......
๒. สังขารทั้งปวง เป็นทุกข์......
๓. ธรรมทั้งปวง เป็นอนัตตา....”
การศึกษาหลักไตรลักษณ์ให้เข้าใจอย่างแท้จริง
ความรู้ในไตรลักษณ์ เป็นตัวเร่งโดยตรงสาหรับความไม่
ประมาท เพราะเมื่อรู้ว่าสิ่งทั้งหลายไม่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่คงที่
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ไม่คงตัว จะต้องแตกสลายกลับกลายไป
ไม่รอเวลาและไม่ฟังใคร เป็นไปตามเหตุปัจจัย
เปรียบเทียบและวิเคราะห์
พระบาลีต่อไปนี้ในไตรลักษณ์ที่อื่นๆ
สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง (อนิจจัง - อนิจจตา)
สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวง คงทนอยู่ไม่ได้ (ทุกขัง- ทุกขตา)
สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวง ไม่เป็นตัวตน (อนัตตา- อนัตตตา)
ไตรลักษณ์ในฐานะเป็นสามัญลักษณะ
สามัญญลักษณะ ๓ หมายถึง เครื่องกาหนดที่มีอยู่ทั่วไปในสังขาร
ทั้งหมด ได้แก่
อนิจจลักษณะ - เครื่องกาหนดความไม่เที่ยงแท้
ทุกขลักษณะ - เครื่องกาหนดความบีบคั้น
อนัตตลักษณะ - เครื่องกาหนดความไม่มีตัวตน.
อนิจจลักษณะ - เครื่องกาหนดความไม่เที่ยงแท้
หมายถึง
• เครื่องกาหนดขันธ์ 5 ทั้งหมดซึ่งเป็นตัวอนิจจัง. อนิจจลักษณะ
เป็นบัญญัติ ไม่ใช่สภาวะธรรม ไม่มีอยู่จริง
• ทาให้เราทราบได้ว่าขันธ์ 5 เป็นของไม่เที่ยง ไม่คงที่ ไม่ยั่งยืน
ทุกขลักษณะ - เครื่องกาหนดความบีบคั้น
หมายถึง
• เครื่องกาหนดขันธ์ 5 ทั้งหมดซึ่ง
เป็นตัวทุกขัง. ทุกขลักษณะเป็น
บัญญัติ ไม่ใช่สภาวธรรม ไม่มีอยู่
จริง
• ทาให้เราทราบได้ว่าขันธ์ 5 เป็น
ทุกข์ บีบคั้น น่ากลัวมาก
อนัตตลักษณะ - เครื่องกาหนดความไม่มีตัวตน.
หมายถึง
เครื่องกาหนดขันธ์ ๕ ทั้งหมดซึ่ง
เป็นตัวทุกขัง. อนัตตลักษณะเป็น
บัญญัติ ไม่ใช่สภาวะธรรม ไม่มี
อยู่จริง
ทาให้เราทราบได้ว่าขันธ์ ๕ ไม่มี
ตัวตน ไร้อานาจ ไม่มีเนื้อแท้แต่
อย่างใด
การศึกษาไตรลักษณ์แบบประยุกต์
ตัวอย่างเช่น..................
ประโยชน์ของการเข้าใจเรื่องอนิจจตา
๑. ทาให้คนไม่ประมาท ในวัย ในความไม่มีโรค ในทรัพย์สมบัติ
๒. เป็นกาลังใจให้มีความมานะพยายาม
๓. ความไม่เที่ยงแท้ ช่วยให้เราสลดใจ ในสิ่งที่ควรสลด เร่งให้เรา
รีบประพฤติธรรม
ประโยชน์ของการเข้าใจเรื่องทุกขตา
ความทุกข์เป็นสัจจะอย่างหนึ่งของชีวิต ชีวิตย่อมอยู่ด้วยทุกข์
เป็นธรรมดา เมื่อเห็นเป็นธรรมดา ความยึดมั่นก็ลดน้อย ความ
ทุกข์สามารถลดลงได้ ความสุขเกิดขึ้นหลังการปล่อยวาง
ประโยชน์ของการเข้าใจเรื่องอนัตตา
การเรียนรู้และนึกคิดบ่อยๆ ซึ่งหลักอนัตตานี้ ช่วยให้ชีวิต
แจ่มใส ผาสุก ไม่ถูกเผาลนให้เร้าร้อนด้วยไฟ คือ ราคะบ้าง โทสะ
บ้าง โมหะบ้าง ชีวิตได้พบความสงบเย็นซึ่งค่อนข้างจะหาได้ยาก
ในชีวิตปุถุชนสมัยนี้
การสร้างจริยธรรมโดยอาศัยไตรลักษณ์
๑.หลักอนิจจา
หลักอนิจจตามักมีผู้นิยมนามาใช้เป็นเครื่องปลอบใจ
ตนเองหรือปลอบใจผู้อื่น ในเมื่อเกิดภัยพิบัติ ความทุกข์
ความสูญเสียต่างๆ ซึ่งก็ได้ผลช่วยให้คลายทุกข์ลงได้มาก
บ้างน้อยบ้าง การใช้หลักอนิจจตาในรูปนี้ ย่อมเป็น
ประโยชน์บ้าง เมื่อใช้ในโอกาสที่เหมาะสม
การสร้างจริยธรรมโดยอาศัยไตรลักษณ์ (ต่อ)
หลักทุกขตา
ทุกข์ในธรรมชาติที่เป็นไปตามสภาวะของมันเองตามธรรมดา
สังขาร จะคงเป็นแต่เพียงสังขารทุกข์อยู่ตามเดิมเท่านั้น ไม่
ก่อให้เกิดให้เกิดความขัดแย้งเป็นพิษเป็นภัยมากขึ้นทั้งยัง
สามารถถือเอาประโยชน์จากสังขารเหล่านั้นด้วย
การสร้างจริยธรรมโดยอาศัยไตรลักษณ์ (ต่อ)
หลักอนัตตา
• ๑) ทางด้านตัณหา ช่วยลดทอนความเห็นแก่ตัว มองเห็น
ประโยชน์ในมุมกว้าง
• ๒) ทางด้านทิฏฐิ ทาให้จิตใจกว้างขวางขึ้นพิจารณาจัดการปัญหา
ไปตามตัวธรรม ตามตัวเหตุตัวผล วางจิตเป็นกลาง
• ๓) การรู้หลักอนัตตา ทาให้สลัดความยึดมั่นถือมั่นเสียได้
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
Evesu Goodevening
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
Padvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
kruudompcccr
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555
Kroo Mngschool
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
Anchalee BuddhaBucha
 

Tendances (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

En vedette

ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
Padvee Academy
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
Padvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
Padvee Academy
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
Padvee Academy
 

En vedette (20)

อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ความเรียบง่ายไร้กาลเวลา
ความเรียบง่ายไร้กาลเวลาความเรียบง่ายไร้กาลเวลา
ความเรียบง่ายไร้กาลเวลา
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

ไตรลักษณ์