SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  47
Télécharger pour lire hors ligne
วิเคราะห์พัฒนาการหลักปฏิรูปเทส
ในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
วัตถุประสงค์
• ๑.เพื่อศึกษาหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนา
• ๒. เพื่อศึกษาหลักการประยุกต์ใช้หลักปฏิรูปเทสในสังคมไทย
• ๓. วิเคราะห์พัฒนาการหลักปฏิรูปเทสในสังคมปัจจุบัน
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนา
•ความหมาย
•ความสาคัญ
•องค์ประกอบ
ของปฏิรูปเทส
•เป้ าหมายของการอยู่
ในปฏิรูปเทส
ความหมาย
• ปฏิรูปเทสเป็นธรรมะข้อหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในพระธรรมคาสอนของ
พระพุทธเจ้า ๒ หมวดด้วยกันคือ จักร ๔ และมงคล ๓๘
• ปฏิรูปเทสวาสะ แยกออกแปลได้เป็น ๓ บท คือ “ปฏิรูปะ” แปลว่า
สมควร หรือเหมาะสม “เทสะ” แปลว่า ถิ่น สถาน บ้าน เมือง
ประเทศ “วาสะ” แปลว่า การอยู่ แปลรวมกันว่า การอยู่ในถิ่นที่
เหมาะสม
การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม มี ๓ นัยยะ
• ๑. ถิ่นที่บริษัท ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา สัญจรไปมา มีการบาเพ็ญ
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ดาเนินไปอยู่ มีพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอยู่
• ๒. สถานที่ตรัสรู้ สถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา สถานที่แสดงยมกปาฏิหาริย์
สถานที่เสด็จลงจากเทวโลก และสถานที่พระองค์ประทับอยู่
• ๓. มัชฌิมประเทศ ซึ่งเป็นที่อุบัติแห่งพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระ
มหาสาวกพุทธอุปัฏฐาก พระพุทธมารดา พระพุทธบิดา และพระเจ้าจักรพรรดิ
จัดเป็นถิ่นที่เหมาะสม
“ท่านจึงเรียกการอยู่ในถิ่นเช่นนี้ว่าเป็นมงคล
เพราะเป็นเหตุให้ผู้อยู่ได้สวรรค์สมบัติและนิพพานสมบัติ”
ปฏิรูปเทสตามนัยพระวินัยปิฏก
• สิกขาบทเกี่ยวกับปฏิรูปเทสหรือถิ่นที่เหมาะสมในส่วนพระวินัย
ปิฎก เป็นสิกขาบทว่าด้วยเรื่องที่อยู่อาศัยที่พระพุทธองค์ทรงห้าม
และทรงอนุญาต ธรรมเนียมแบบแผนที่ภิกษุต้องปฏิบัติเพื่อ
ส่งเสริมให้ถิ่นที่อยู่อาศัยมีความเจริญยิ่งขึ้นไป รวมทั้งการอยู่กัน
กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูลกันเพื่อเป็ นการรักษา
ปฏิรูปเทส
(ก) ปฏิรูปเทสเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
• ๑) ไม่อนุญาตให้สร้างกุฏิเพื่อตนด้วยการขอให้ใหญ่เกิน
หรือไม่ให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน
• ๒) ไม่อนุญาตให้สร้างวิหารให้ใหญ่ โดยสงฆ์มิได้แสดงที่ให้ก่อน
• ๓) อนุญาตรุกขมูลเสนาสนะ (อยู่โคนไม้เป็นวัตร ไม่อยู่ในที่มุงบัง)
ตลอด ๘ เดือนเท่านั้น
• ๔) ไม่อนุญาตให้พอกหลังคาวิหารเกิน ๓ ชั้น
• ๕) อนุญาตให้สมมติสีมา
• ๖) อนุญาตให้สมมติสมานสังวาสสีมาเป็นแดนอยู่ปราศจากไตรจีวร
ฯลฯ
(ข) ปฏิรูปเทสเกี่ยวกับแบบแผนธรรมเนียม
• พระภิกษุสงฆ์เป็นบุคลากรซึ่งทาหน้าที่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาจาเป็น
อย่างยิ่งที่จะต้องคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ามาในองค์กรให้เป็นที่ยอมรับทั้งใน
ด้านบุคลิกภาพและด้านความประพฤติ ดังนั้นบุคคลที่เข้ามาอยู่ในสังคมสงฆ์
จึงต้องมีกฎเกณฑ์ในการคัดเลือก และมีธรรมเนียมปฏิบัติในการเป็นอยู่เพื่อ
รักษาความเป็นปฏิรูปเทสของสังคมสงฆ์ให้ดารงอยู่
ตัวอย่างหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกบุคคลเข้ามาในสังคมของสงฆ์
• ๑. ไม่อนุญาตให้บวชบุคคลอายุไม่ถึง ๒๐ ปี
• ๒. บุคคลที่ไม่อนุญาตให้บรรพชาและอุปสมบท แบ่งเป็น ๒ กลุ่ม คือ
• ๒.๑ บุคคลที่ไม่อนุญาตโดยเด็ดขาด คือ บัณเฑาะก์, อุภโตพยัญชนก
คือ คน ๒ เพศ, คนฆ่าบิดา มารดาร, คนฆ่าพระอรหันต์, คนทาลาย
สงฆ์ให้แตกกัน ฯ
• ๒.๒ บุคคลที่มิได้ไม่อนุญาตโดยเด็ดขาด คือ คนเป็นโรคติดต่อ, คน
อวัยวะไม่สมบูรณ์, คนพิการ, คนไม่มีบาตร ไม่มีจีวร ฯ
(ค) ปฏิรูปเทสของสังคมสงฆ์ในระหว่างฤดูฝน
• ปฏิรูปเทสของสังคมสงฆ์ในระหว่างฤดูฝน หรือที่เรียกกันว่าการ
อยู่จาพรรษาอันเป็นข้อวัตรปฏิบัติของภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนา มี
แนวคิดเพื่อให้ภิกษุอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม คืออยู่ในอาวาสใดอาวาสหนึ่ง
อันสมควรแก่สภาวะตามฤดูกาล เนื่องจากความเป็นอยู่ของภิกษุสงฆ์
จาเป็ นต้องอาศัยศรัทธาของอุบาสก อุบาสิกาเป็ นผู้ให้การอุปถัมภ์
ดังนั้นการประพฤติปฏิบัติของภิกษุสงฆ์ ต้องเป็นไปเพื่อรักษาซึ่งศรัทธา
(ง) ปฏิรูปเทสเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
• ๑. ไม่อนุญาตให้พรากภูตคาม๒๘ (การทาลายต้นไม้และพันธ์พืช)
• ๒. ไม่อนุญาตให้ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้าลายลงใน
ของเขียว (พืชพันธุ์ไม้)
• ๓. ไม่อนุญาตให้ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้าลายลงในน้า
• ๔. ไม่อนุญาตให้เผาหญ้า
ปฏิรูปเทสตามนัยที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก
• ปฏิรูปเทสหรือการอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม มีปรากฏอยู่อย่างชัดแจ้งในจักกสูตร
ว่าด้วยจักร ๔ ประการ และในมงคลสูตรว่าด้วยมงคล ๓๘ ประการ โดยเป็น
การแสดงธรรมข้อใหญ่ที่มีปฏิรูปเทสเป็นส่วนประกอบเพื่อให้ธรรมนั้น
สัมฤทธิ์ผล
จักกสูตร
• พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย จักร ๔ ประการนี้เป็นเหตุให้
เทวดาและมนุษย์ผู้ประกอบแล้วเป็นไปได้ และถึงความเป็นใหญ่
ความไพบูลย์ในโภคะทั้งหลายต่อกาลไม่นานนัก จักร ๔ ประการ
อะไรบ้าง คือ
๑. ปฏิรูปเทสวาสะ (การอยู่ในถิ่นที่ดี)
๒. สัปปุริสูปัสสยะ (การสมาคมกับสัตบุรุษ)
๓. อัตตสัมมาปณิธิ (การตั้งตนไว้ชอบ)
๔. ปุพเพกตปุญญตา (ความเป็นผู้ได้ทาความดีไว้ก่อนแล้ว)
มงคลสูตร
สรุปความหมายของปฏิรูปเทส
• จากคาอธิบายความต่างๆ สรุปความหมายของปฏิรูปเทสออกได้
๒ นัย คือ
• นัยทางโลกียธรรม หมายถึงถิ่นที่เหมาะสม ถิ่นที่สมควรที่จะดารงชีวิต
อยู่ สามารถสร้างความเจริญของชีวิตได้โดยง่าย
• นัยทางโลกุตตรธรรม หมายถึง ถิ่นที่เหมาะสมสาหรับผู้ต้องการ
ประพฤติปฏิบัติธรรมโดยมีผู้รู้ผู้ทรงธรรมอยู่เกื้อหนุนให้บุคคลที่มีความ
ต้องการที่จะบรรลุมรรคผลนิพพาน สามารถเจริญในธรรม และหลุด
พ้นได้โดยง่าย
องค์ประกอบของปฏิรูปเทส
• (๑) อาวาสสัปปายะ คือ ถิ่นที่อยู่ หรือสถานที่อยู่ที่มีสิ่งแวดล้อมที่ดี
เป็นสถานที่ที่มีสภาพทางภูมิศาสตร์ดี มีสภาพดินฟ้ าอากาศเหมาะ
แก่การอยู่อาศัย โดยเอื้อประโยชน์สองประการ คือ เหมาะแก่การ
อยู่อาศัย และเหมาะสมต่อการประกอบอาชีพ
• (๒) ปุคคลสัปปายะ คือ เป็นสถานที่ที่มีบุคลากรที่ดี เป็นสถานที่ที่
อุดมไปด้วยผู้ทรงภูมิปัญญา มีผู้รู้ มีผู้มีความสามารถ มีบัณฑิต
นักปราชญ์ ผู้ทรงธรรมคุณธรรมอยู่มาก
องค์ประกอบของปฏิรูปเทส
• (๓) อาหารสัปปายะ คือ อยู่ในท้องถิ่นนั้นมีอาหารสมบูรณ์ เพราะ
อาหารถือได้ว่าเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สามารถทาให้ร่างกายมีกาลัง
ในการประกอบกิจการงานต่าง การเลือกอยู่ในถิ่นที่มีความอุดม
สมบูรณ์ย่อมเป็นเครื่องช่วยส่งเสริม เกื้อหนุนให้บุคคลนั้นถึงความ
เจริญและความเป็นมงคลได้อีกทางหนึ่ง
• (๔) ธรรมสัปปายะ คือ เป็นสถานที่ที่มีคาสอนของพระพุทธศาสนา
แผ่ไปถึง ซึ่งผู้คนในถิ่นนั้นสามารถให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา
ได้
ความสาคัญของปฏิรูปเทส
ความสาคัญของการอยู่ในปฏิรูปเทส
เป็นเหตุให้ผู้อยู่ได้บาเพ็ญอนุตตริยกิจ ๖ ประการ
• ๑. ให้ผู้อยู่ได้เห็นพระพุทธเจ้า เห็นสาวกของพระองค์ หรือเห็นผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ
• ๒. ให้ผู้อยู่ได้ฟังโอวาทของพระพุทธเจ้า และของสาวกของพระองค์ หรือได้ฟังคาสอน
ของนักปราชญ์ราชบัณฑิตอื่นอีก
• ๓. ให้ผู้อยู่ได้ศรัทธาเชื่อในคุณของพระรัตนตรัย และเชื่อกรรมเชื่อผลของกรรม
• ๔. ให้ผู้อยู่ได้ศึกษาในศีลสมาธิปัญญา แล้วน้อมเข้ามาถือปฏิบัติ อบรมกายวาจาใจ
• ๕. ให้ผู้อยู่ได้ปรนนิบัติพระรัตนตรัย หรือผู้ประพฤติปฏิบัติชอบ และผู้ทรงศีล
• ๖. ให้ผู้อยู่ได้ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย และคุณของผู้ทรงคุณอื่นอีกเป็นอารมณ์
เป้ าหมายของการอยู่ในปฏิรูปเทส
• ๑) ทิฏฐธัมมิกัตถะ หรือประโยชน์ของการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน
เป็นประโยชน์ในปัจจุบัน ประโยชน์สุขสามัญที่มองเห็นกันในชาติ
นี้ ที่คนทั่วไปปรารถนา มีทรัพย์ ยศ เกียรติ ไมตรี เป็นต้น
• ๒) สัมปรายิกัตถะ หรือประโยชน์ของการดาเนินชีวิตในกาลเบื้อง
หน้า คือการดาเนินชีวิตเพื่อประโยชน์เบื้องหน้า ซึ่งเป็นผลมาจาก
การบาเพ็ญประโยชน์ที่สมบูรณ์ในปัจจุบันส่งผลให้ชีวิตในอนาคต
ตลอดถึงในภพหน้า
เป้ าหมายในระดับโลกิยะ
เป้ าหมายของการอยู่ในปฏิรูปเทส
• ปรมัตถะ หรือประโยชน์สูงสุดในการดาเนินชีวิต อันเป็นจุดหมาย
สูงสุดของมนุษย์ตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา เพื่อสลัดตน
ออกจากทุกข์ทั้งปวง และเพื่อทาพระนิพพานให้แจ้ง หรือเรียกว่า
ประโยชน์ที่เป็นสาระแท้จริงของชีวิต ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายขั้นสุดท้าย
ในทางพระพุทธศาสนาที่ทุกชีวิตควรจะเข้าถึง
เป้ าหมายในระดับโลกุตตระ
นิพฺพาน ปรม สุข
พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง"
การประยุกต์ใช้หลักปฏิรูปเทสในสังคมไทย
สะอาด สงบ ร่มรื่น
ปลอดภัย เป็นระเบียบ
๑. อาวาสเป็นที่สบาย
• อาวาสเป็นที่สบาย คือ การปรับปรุงพื้นที่ภายในวัดให้สวยงาม
ร่มรื่น ดูแลวัดให้สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย ใครเห็นก็รู้สึก
สบายใจ
• สาหรับการวงผังของวัดนั้น
ควรแบ่งไห้ได้เป็น ๓ เขต
• ๑) เขตพุทธาวาส
• ๒) เขตธัมมาวาส
• ๓) เขตสังฆาวาส
การวางผังให้อาวาส
เป็นที่สบาย
ข้อคิดจากการวางผังให้อาวาสเป็นที่สบาย
• การแบ่งเขตวัดอย่าชัดเจนเป็นสัดส่วน ทาให้คนไม่พลุกพล่าน ช่วย
ให้การทาสมาธิของพระภิกษุเจริญก้าวหน้าโดยง่าย
• ความมีห้องรับแขกสาหรับพระลูกวัดด้วย เพื่อไม่ให้ญาติโยมเข้า
มาในกุฏิพระโดยง่าย
• เสน่ห์ของวัดคือต้นไม้ เมื่อวัดมีความร่มรื่น คนมาวัดก็สบายใจ จะ
สอนจะเทศน์ก็เป็นไปโดยง่าย
• พระกับต้นไม้เป็นของทิ้งกันไม่ได้ มีข้อสังเกตว่า พระพุทธเจ้าของ
เราเป็นศาสดาที่มีความผูกพันกับป่ามากที่สุด
เหตุที่ทาให้วัดตั้งอยู่ได้ไม่นาน
๑. ของหายไม่หา
๒. ของเสียไม่ซ่อม
๓. ใช้ของไม่รู้จักประมาณ
๔. ตั้งคนพาลเป็นหัวหน้า
หัวใจของอาวาสเป็นที่สบายเกิดขึ้นมา คือ
สะอาด สงบ ร่มรื่น ปลอดภัย เป็นระเบียบ
๒. อาหารเป็นที่สบาย
• อาหารเป็นที่สบาย คือ การตั้งโรงทานเลี้ยงอาหารญาติโยมที่มาวัด
อย่างเท่าเทียมกันทุกคน บริการให้ความสะดวก โดยไม่ให้ญาติ
โยมเกิดความกังวล รวมทั้งดูแลเอาใจใส่ภัตตาหารที่ญาติโยม
นามาถวายพระและให้ความเคารพในทานของญาติโยม
หัวใจของโรงครัว
•๑. ทันเวลา
•๒. ปริมาณพอเพียง
•๓. มีคุณค่าทางโภชนาการ
•๔. สะอาด
•๕. อร่อย
ข้อคิดจากการกินข้าวร่วมกัน
• โบราณบอกว่า บ้านไหน ไม่มีสักมื้อที่พ่อแม่ลูกกินข้าวพร้อมกัน
บ้านนั้นใกล้แตกแยกแล้ว
• เช่นกัน ถ้าพระวัดไหนไม่ไปฉันรวมกันฟ้ องแล้วว่า วัดนั้นแตกแยก
แล้ว เจ้าอาวาสเริ่มไม่มีความสามารถ
๓. บุคคลเป็นที่สบาย
• บุคคลเป็นที่สบาย คือ เป็นสถานที่ที่มีบุคลากรที่ดี เป็นสถานที่ที่
อุดมไปด้วยผู้ทรงภูมิปัญญา มีผู้รู้ มีผู้มีความสามารถ มีบัณฑิต
นักปราชญ์ ผู้ทรงธรรมอยู่มาก
การแบ่งกลุ่มคนในวัด
•๑. เจ้าอาวาส
•๒. พระลูกวัด
•๓. สามเณร
•๔. เด็กวัด
•๕. อุบาสก อุบาสิกา
เคล็ดลับการรักษาอาสาสมัครช่วยงานวัด
• ๑. ต้องเลี้ยงเขาให้อิ่ม เราต้องคานึงว่าคนที่มาช่วยวัดนั้น เขาเสีย
งาน ทิ้งอาชีพมาช่วยเรา เพราะฉะนั้นต้องไม่ให้เขาควักเงินซื้อข้าว
กินอีก เราต้องเลี้ยงข้าวปลาอาหารให้อิ่ม เขาจะช่วยงานเราได้
อย่างเต็มที่
• ๒. ต้องให้เขานอนให้อิ่ม เราก็จัดให้เป็นระเบียบเรียบร้อย พอถึง
เวลานอนก็ให้นอนพร้อมกัน ตื่นพร้อมกัน ไม่อย่างนั้นคนหนึ่งนอน
อีกคนหนึ่งคุย ผลสุดท้ายไม่มีใครหลับสักคน
๔. ธรรมะเป็นที่สบาย
• คือ เป็นสถานที่ที่มีคาสอนของพระพุทธศาสนาแผ่ไปถึง ซึ่งผู้คนใน
ถิ่นนั้นสามารถให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนาได้ เมื่อประชาชนมา
วัดแล้ว จะไม่ให้กลับบ้านมือเปล่า ต้องได้รู้ธรรมะและได้ข้อคิด
กลับไปใช้ในชีวิตประจาวัน
จุดมุ่งหมายของการนาธรรมะมาพัฒนาวัด คือ
• ๑) การเข้าใจในพระธรรมคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
• ๒) การเผยแผ่พระธรรมคาสั่งสอน
• ๓) การนาธรรมะไปใช้บริหารปกครองหมู่คณะ
ภิกษุทั้งหลาย
พวกเธอจงจาริกไปเพื่อประโยชน์สุข
แก่ชนจานวนมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก
เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์
วิ. ม. ๔/๓๒/๔๐
วิเคราะห์พัฒนาการหลักปฏิรูปเทสในสังคมไทย
• รูปแบบปฏิรูปเทสในสมัยพุทธกาล
• ถือเป็นรูปแบบที่มีเป้ าหมายเพื่อเกื้อกูลต่อการประพฤติปฏิบัติธรรมของ
พระสงฆ์ ซึ่งมีจุดหมายนอกจากการอยู่รวมกันด้วยดีในหมู่สงฆ์ ยังเป็นไป
เพื่อจุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา นั่นคือ การขัดเกลากิเลส และ
บรรลุพระนิพพาน นั่นเอง
• ปฏิรูปเทสในสมัยพุทธกาล คนในยุคนั้นได้เกิดร่วมสมัยกับพระพุทธเจ้า
และได้บาเพ็ญอนุตตริยกิจ ๖ ประการ โดยตรง
รูปแบบปฏิรูปเทส
ในสมัยพุทธกาล
วิเคราะห์พัฒนาการหลักปฏิรูปเทสในสังคมปัจจุบัน
• รูปแบบปฏิรูปเทสในสังคมปัจจุบัน
• นอกจากการสร้างวัดให้เป็นที่เกื้อกูลต่อการประพฤติปฏิบัติของพุทธ
บริษัท ๔ แล้ว ในวัดบางแห่งที่ใช้หลักปฏิรูปเทส ในการพัฒนาวัด ยังส่ง
ให้เกิดความศรัทธา ดึงดูดให้คนเข้าวัดเป็นจานวนมาก ทาให้เกิดสังคมที่
เป็นกัลยามิตร
• นอกจากนี้ สถาบันทางสังคมอื่นๆ ยังสามารถนาหลักปฏิรูปเทสไปปรับใช้
ในกลุ่มองค์กรของตนเอง เช่น โรงเรียนวิถีพุทธ, หมู่บ้านศีล ๕,
ชุมชนวิถีพุทธ, กลุ่มเกษตรแนวพุทธ เป็นต้น
รูปแบบปฏิรูปเทส
ในสังคมปัจจุบัน
สรุป
• บุคคลจะประสบความสาเร็จได้จะต้องได้อยู่ในปฏิรูปเทสหรือถิ่นที่
เหมาะสมทั้งภายในและภายนอก แต่ทั้งนี้บุคคลดังกล่าวจะเจริญก้าวหน้า
จะด้อยพัฒนาหรือล้าหลัง ย่อมอยู่ที่ตัวบุคคลเป็ นสาคัญ ถ้าผู้อยู่เป็ นคนดี
รู้จักคุณค่าก็เป็ นเครื่องช่วยสนับสนุนความเจริญแก่ผู้อยู่ ถ้าผู้อยู่ไม่ทาดีก็
เป็ นสิ่งที่ไร้ค่าแก่ตัวเอง ดังนั้นจึงต้องรู้จักแสวงปัญญาและความดีงาม
ยิ่งขึ้นไป โดยหมั่นคบหาผู้ทรงคุณธรรม ผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบ ไม่
ประมาทมัวเมา ก็จะช่วยให้มีความเจริญทั้งทรัพย์สินและปัญญาตลอดจน
กุศลธรรม
ปฏิรูปเทสวาโส จ
การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสมเป็นมงคล
ต้นโพธิ์ต้นไทร หากปลูกไว้ในกระถาง ถึงจะไม่ตาย ก็ต้องกลายเป็นไม้แคระแกร็น
แต่ถ้านาไปปลูกในที่ดินดี มีบริเวณกว้างขวางน้าท่าอุดมสมบูรณ์
ก็โตวันโตคืน กลายเป็นต้นไม้ใหญ่ แผ่กิ่งก้านสาขาเต็มที่
เช่นกัน คนเราหากตกอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เลว
ถึงจะมีความรู้ความสามารถ ก็ยากที่จะเอาดีได้
แต่ถ้าอยู่ในถิ่นที่เหมาะสมแล้ว ก็สามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าได้โดยง่าย
เอกสารอ้างอิง
• พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว). ปฏิรูปเทส ๔ สูตรสาเร็จการบริหารวัด. กรุงเทพฯ :
เพาเวอร์ปริ้น.
• พระปลัด ประเสริฐ อานนฺโท (ชูศรี). “ศึกษาวิเคราะห์คุณค่าและความสาคัญของปฏิรูปเทสใน
พระพุทธศาสนาเถรวาท”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒.
The End
ติดตามผลงานอื่นๆ ของเราได้ที่
www.padvee.com
Education for all.

Contenu connexe

Tendances

ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกTheeraphisith Candasaro
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 
ภควัทคีตา Bhagavad Gita.pptx
 ภควัทคีตา Bhagavad Gita.pptx ภควัทคีตา Bhagavad Gita.pptx
ภควัทคีตา Bhagavad Gita.pptxmaruay songtanin
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 

Tendances (20)

ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
ภควัทคีตา Bhagavad Gita.pptx
 ภควัทคีตา Bhagavad Gita.pptx ภควัทคีตา Bhagavad Gita.pptx
ภควัทคีตา Bhagavad Gita.pptx
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 

Similaire à หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย

หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมPadvee Academy
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศแผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศTongsamut vorasan
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 

Similaire à หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย (20)

งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมพระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศแผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย