SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  115
ประวัติและ
วิวัฒนาการ
แนวความคิด
ทางปรัชญา
• It’s not what happens to you that
determines your happiness.
• สิ่งที่เกิดขึ้นกับคุณ ไม่ใช่สิ่งที่จะกาหนดความสุขขงงคุณ
• It’s how you think about what
happens to you.
• แต่มันเป็นความคิดขงงคุณเงงต่างหาก ที่กาหนดความสุขขงง
คุณเงง
มาดูกันว่า ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
มนุษย์ได้พัฒนาสภาพชีวิตความเป็นอยู่ และ
มีโลกทัศน์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรกันบ้าง
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ปรัชญาแบ่งงงกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คืง ปรัชญาตะวันตก
และปรัชญาตะวันงงก
**ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทาง
ปรัชญาตะวันตก แบ่งงงกเป็น 5 ยุค
• ยุคดึกดาบรรพ์
• ยุคกรีกโบราณ
• ยุคกลาง
• ยุคใหม่
• ยุคปัจจุบัน
1. ยุคดึกดาบรรพ์
• มนุษย์ต้งงดิ้นรนต่งสู้เพื่งความงยู่รงดและต้งงผจญกับ
ภัยธรรมชาติต่างๆซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่ตนไม่เข้าใจ
• มนุษย์จึงคิดและใช้เหตุผลตามที่ตนพงเข้าใจว่าต้งงมีสิ่ง
ลึกลับที่มีพลังงานาจในการที่จะดลบันดาลให้เกิด
ปรากฏการณ์ต่างๆนั้น
• เพราะมนุษย์ยังไม่เข้าใจธรรมชาติ จึงทาให้เชื่งในสิ่งที่
เหนืงธรรมชาติ เช่น ผีสาง เทวดา เทพเจ้า นาไปสู่การ
เซ่นสรวงบูชาและพัฒนาไปเป็นความเชื่งในเทพเจ้าหลาย
งงค์ที่สถิตย์ประจางยู่ในธรรมชาติ
• Supernaturalism จึงเป็นปรัชญาขงงคนยุคดึกดาบรรพ์
ศาสนากรีกโบราณ
• - ศาสนาขงงกรีกโบราณเป็นพหุเทว
นิยม นับถืงเทพเจ้าหลายงงค์
• - เทพเจ้ามีรูปร่าง หน้าตาและงุปนิสัย
ใจคงเหมืงนมนุษย์ แต่มีงิทธิฤทธิ์มาก
และเป็นงมตะ
• - ตานานกรีก จากงานนิพนธ์ขงง
โฮเมงร์ (งีเลียด และ โงดิสซี) และ
เฮเสียด (เทพกาเนิด)
•
กาเนิดปวงเทพ และสรรพสิ่ง
• ก่งนการงุบัติขงงโลกและเทพเจ้า ไม่มีงะไรเลยนงกจากความ
ว่างในงวกาศที่มืดมิดหาขงบเขตมิได้ ความว่างงันมืดมิดมีชื่ง
ว่า “เคงงส” (Chaos)
• ต่งมามีพื้นโลกงุบัติขึ้น เรียกว่า “จีงา” (Gaea) เป็น บ่งเกิดขงง
เทพเจ้าและสรรพสิ่ง จีงาให้กาเนิด “ยูเรนัส” (Urenus) ได้แก่
ท้งงฟ้ าและดวงดาวทั้งหลาย จีงายังสร้างภูเขา ต้นไม้ และทะเล
โลกมีสัณฐานแบนกลม มีมหาสมุทรล้งมรงบ ดวงงาทิตย์
ดวงจันทร์ และดวงดาว ขึ้นจากมหาสมุทรด้านทิศตะวันงงก
แล้วโคจรไปตกในมหาสมุทรด้านทิศตะวันตก
กาเนิดปวงเทพและสรรพสิ่ง
• จีงาและยูเรนัสงยู่ร่วมกันแล้วให้กาเนิดเทพและเทพี 12 งงค์
เรียกว่า พวกไททัน (Titan) เทพไททัน ชื่งว่า โครนัส (Cronus)
ได้โค่นงานาจยูเรนัสผู้เป็นบิดา แล้วตั้งตนเป็นใหญ่ในสวรรค์บน
ยงดเขาโงลิมปัส
• ซุส (Zeus) เป็นบุตรขงงโครนัสกับรีงา ที่รงดจากการกลืนกิน
ขงงบิดา ในที่สุดซุสทาสงครามมีชัยชนะเหนืงโครนัส
• ซุสเป็นเทพบดี มีงานาจครงงความเป็นเจ้าไตรภพ ทั้งสวรรค์
บาดาล มนุษย์
โปรมีธูส และเงพิมีธูส
2 . ยุคกรีกโบราณ
• ปรัชญากรีก หมายถึง ปรัชญาขงงชาวกรีกที่มีภูมิลาเนา
งยู่ตามนครรัฐต่างๆในสมัยโบราณ
• ( 585 ปีก่งน ค.ศ. – ค.ศ.529 )แบ่งเป็น 3 สมัย
• 1. สมัยเริ่มต้น – นักปรัชญาธรรมชาติ – สนใจและ
สงสัยเกี่ยวกับโลกภายนงกและธรรมชาติรงบตัว คิดค้น
ว่างะไร คืง “ปฐมธาตุ” หรืง ธาตุแท้ขงงสรรพสิ่ง และ
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ
I am Greek
philosophy
ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น
• . สมัยเริ่มต้น – นักปรัชญาธรรมชาติ – สนใจและสงสัย
เกี่ยวกับโลกภายนงกและธรรมชาติรงบตัว คิดค้นว่างะไร คืง
“ปฐมธาตุ” หรืง ธาตุแท้ขงงสรรพสิ่ง และ ปัญหาการเปลี่ยนแปลง
ในธรรมชาติ
โลกเกิดขึ้นมาได้งย่างไร ?
และเกิดมาจากไหน ?
สานักไมเลตุส
20
1.นักปรัชญากลุ่มไมเลตุส
- พวกเขาเริ่มด้วยคาถามว่า โลกเกิดจากงะไร? งะไรคืงปฐมธาตุ
(First Element) หรืงสสารดั้งเดิมสุดที่เป็นวัตถุดิบซึ่งก่งให้เกิดโลก?
1.1 ธาเลส (Thales ก.พ.ศ. 1 ปี – 8 ปี ก.พ.ศ.)
- บิดาขงงปรัชญาตะวันตก
- เป็นผู้ก่งตั้งสานักกลุ่มไมเลตุส หรืง ไงโงนิก
- “น้า” คืง ปฐมธาตุขงงโลก (Water is Best)
- เป็นคนแรกที่เสนงแนวคิดแบบลดทงน
(Reductionism) สรรพสิ่งให้เหลืงความจริง
เพียงสิ่งเดียวคืง น้า
งะไรคืงปฐมธาตุขงงโลก ?
• “น้า” คืงละงงงธุลี หรืงธาตุดั้งเดิมขงงโลก เพราะว่าโลกและ
สรรพสิ่งเกิดมาจากน้าและเมื่งแตกสลายก็จะกลับคืนไปสู่
สภาพขงงน้า ธาเลส จึงให้เหตุผลว่าน้าเป็นปฐมธาตุ เพราะน้า
ทรงประสิทธิภาพในการแปรรูป เป็นสิ่งงื่นๆ
(Water is best)
งาริสโตเติล สรุปทัศนะทางปรัชญาขงงธาเลสไว้ ๓ ประการ
• ๑) มีเทพเจ้าสิงสถิตงยู่ในสรรพสิ่ง
• ๒) โลกมีสัณฐานแบนกลมลงยงยู่บนน้า
• ๓) น้าซึ่งเป็นปฐมนั้นเป็นสสาร
ปรัชญาขงงธาเลสจึงเป็นวัตถุนิยม
** ทาเลส(Thales) (624-550 B.C.) –ปฐมธาตุ คืง น้า
- คิดว่าเพราะงะไรธาเลสจึง
คิดว่าน้าเป็นปฐมธาตุ???
- คิดว่าเพราะงะไร เขาถึงได้
เป็นบิดาขงงปรัชญา ???
- งานักซิมานเดงร์ ปฐมธาตุ คืง สสารไร้รูป
(งนันต์)
งานักซิมานเดงร์ (Anaximander B.C. 610-546)
- ท่านศึกษาวิชาดาราศาสตร์
ภูมิศาสตร์และ จักรวาลวิทยา เกิด
ก่งนปี ค.ศ. 611 ท่านเขียน
หนังสืงปรัชญาเรื่งง “ธรรมชาติ”
(On nature) หนังสืงเล่มนี้เป็น
ปรัชญาเล่มแรกขงงโลก
- เป็นผู้ที่เผยแพร่นาฬิกาแดดแก่
ชาวกรีก เป็นคนแรก
ปรัชญาขงงงานักซิมานเดงร์
• สิ่งที่จะเป็นปฐมธาตุขงงโลก ควรจะมี
ความเป็นกลาง คืงในตัวมันเงงยังไม่เป็น
งะไร ยังไม่เป็นดิน น้า ลม ไฟ มันจะยังไม่
สังกัดกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ปฐมธาตุจึงควร
เป็นสารที่ไร้รูป (Formless Material) ที่ไม่
มีรูปลักษณะเหมืงนสิ่งขงงใดๆ ที่คนเรา
รู้จัก มันเป็นสิ่งที่มงงไม่เห็นด้วยตาเปล่า
แต่มันเป็นสิ่งที่เป็นนิรันดร และแผ่ซ่านไม่
มีที่สิ้นสุด ดังนั้น งะแนกซิมานเดงร์ จึง
สรุปว่า “ปฐมธาตุ คืง งนันต์ (Infinite)”
งนันต์ คืง งะไร ??
งนันต์นี้ยังไม่มีลักษณะที่แน่นงนตายตัวว่าเป็นงะไร มันจึงมีศักยภาพที่
จะกลายเป็นงะไรก็ได้ และสรรพสิ่งในโลกล้วนมีแหล่งกาเนิดมาจาก
งนันต์ >> คล้ายกับพลังงาน (Energy)ใน ศต. 20
Infinity
28
1.3 งแนกซิเมเนส
(Anaximenes 45 ปี ก.พ.ศ. – พ.ศ. 19)
- เป็นลูกศิษย์ขงง งแนกซิแมนเดงร์
- “ งากาศ (Air) ” เป็นปฐมธาตุขงงโลก
เพราะงากาศแผ่ขยายงงกไป ไม่มีที่สิ้นสุด
และมีพลังขับเคลื่งนในตัวเงงด้วยการเคลื่งนไหวนี้เงง
สรรพสิ่งจึงเกิดขึ้น
ปรัชญาขงงงานักซิเมเนส
• “งากาศ” ต่างหากที่เป็นปฐมธาตุขงงโลกเพราะงากาศแผ่
ขยายงงกไปไม่มีที่สิ้นสุด และมีพลังขับเคลื่งนในตัวเงง งากาศจึง
เคลื่งนไหวตลงดเวลา และด้วยงนุภาพแห่งการเคลื่งนไหวขงง
งากาศนี้ สรรพสิ่งจึงจะเกิดขึ้น
• ไม่ว่าจะเป็นขงงแข็ง ขงงเหลว และก๊าซ ล้วนมีต้นเหตุมา
จากงากาศทั้งสิ้น ฉะนั้น งากาศจังเป็นปฐมธาตุขงงโลก
- เฮราคลีตุส ....... ปฐมธาตุ คืง ไฟ
31
3. เฮราคลีตุส
(Heraclitus พ.ศ. 8 - 68)
- เกิดในตระกูลสูง และเป็นเชื้งพระวงศ์งันดับสูง
แห่งนครรัฐเงเฟซุส
- ต่งมาได้สละสิทธิ์ในราชสมบัติให้แก่งนุชา แล้วปลีกตัว
งงกมาเป็นนักปรัชญาแสวงหาความจริงขงงชีวิต
- ไฟ คืง ปฐมธาตุ เพราะไฟเป็นสัญลักษณ์ขงงการ
เปลี่ยนแปลง
- เขากล่าวว่า “You cannot step into the same river twice”
(ท่านไม่สามารถก้าวลงในแม่น้าสายเดียวกันได้ถึง 2 ครั้ง)
32
ปรัชญาขงงเฮราคลีตุส
• “ไฟต้งงเป็นแก่นขงงสิ่งทั้งปวง” ทั้งนี้เพราะว่าไฟนั้น ให้ชีวิต ให้
พลังงาน คืงมีความเปลี่ยนแปลงงยู่เสมง
• “ทุกสิ่งทุกงย่างย่งมเปลี่ยนแปลงไป ไม่มีงะไรคงที่งยู่ได้ สรรพสิ่ง
ย่งมเปลี่ยนแปลงไปงย่างไม่หยุดยั้ง”
ข้งเปรียบเทียบกับพระพุทธศาสนา
ทาไมสรรพสิ่งจึงเปลี่ยนแปลง ??
เฮราคลีตุสตงบว่า “เพราะสาระ (Substance) หรืงแก่นแท้ขงงสรรพสิ่ง
มีธรรมชาติเปลี่ยนแปลง และแก่นแท้นั้นคืงไฟ”
พระพุทธศาสนาตงบว่า เพราะสรรพสิ่งไม่มีแก่นแท้งันคงที่ถาวร
สิ่งทั้งหลายงาศัยกันและกันเกิดขึ้นตามกฎธรรมชาติ ที่ว่า
“เมื่งสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิด สิ่งนี้จึงเกิด
เมื่งสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ก็ไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ”
• เฮราคลีตุสกล่าวว่า ถ้าเรามงงโลกในมุมหนึ่ง เราจะพบแต่
สิ่งขัดแย้งกัน แต่ถ้ามงงโลกในมุมงื่น เราจะพบความกลมกลืน
เป็นงันเดียวกันขงงสรรพสิ่ง คนธรรมดาจะเห็นความขัดแย้งในสิ่ง
ทั้งหลาย แต่ผู้เข้าถึง “ วจนะ”(Logos) จะพบเงกภาพในสรรพสิ่ง
เขาจะเข้าใจแจ้มแจ่งว่า เย็นไม่ต่างจากร้อน สุขไม่ต่างจากทุกข์
เพราะเย็นก็คือร้อนน้อย ร้อนก็คือเย็นน้อย และสุขคือทุกข์น้อย
ทุกข์ก็คือสุขน้อย มันเปลี่ยนแปลงสลับกันไปมา
• “ถ้าท่านไม่พยายามคาดคิดในแง่มุมที่คนคิดไม่ถึง ท่านจะไม่
มีวันค้นพบความจริง เพราะความจริงพบได้ยากมาก”
• “งุปนิสัยขงงคนก็คืงชะตาชีวิตขงงเขา”
- เงมพิโดคลีส ปฐมธาตุ คืง ดิน น้า งากาศ ไฟ
เงมพิโดคลีส
(Empedocles พ.ศ. 48 – 108)
- เป็นชาวเมืงงงะกรีเจนตุม ภาคใต้ขงง
เกาะซิชิลี
- ปฐมธาตุ คืง ดิน น้า ลม ไฟ ที่มารวมตัวกันด้วยพลังแห่งความ
รัก และแยกตัวงงกไปด้วยพลังแห่งการเกลียด
- เมื่งมงงไปที่ปฐมธาตุ จะพบความเที่ยงแท้ คงที่ แต่เมื่งมงงไปที่
สิ่งต่างๆ งันเกิดจากการผสมขงงปฐมธาตุ จะพบความเปลี่ยนแปลง
ขงงโลก >> โลกจึงทั้งเปลี่ยนแปลงและไม่เปลี่ยนแปลง
- เดโมคลิตุส ปฐมธาตุ คืง ปรมาณู หรืง งะตงม
40
สำนักปรมำณูนิยม
- ลิวซิปปุส คือ ผู้ก่อตั้งสำนักนี้
เดมอคริตุส (Democritus พ.ศ. 83 – 173)
- เกิดที่เมืองอับเดรำ แคว้นเธรส
- “ปรมำณู” หมำยถึง วัตถุที่มีขนำดเล็กที่สุด ไม่สำมำรถจะ
แยกย่อยได้อีกแล้ว ซึ่งก็คือ “อะตอม” ที่ไม่อำจตัดแบ่ง
ออกไปได้อีก (Uncuttable)
- ควำมจริง มีเฉพำะขนำดและรูปร่ำงและน้ำหนักเท่ำนั้น ที่เป็น
คุณภำพปฐมภูมิ เท่ำนั้น ส่วนสี กลิ่น รส เป็นคุณภำพทุติยภูมิ
ซึ่งไม่มีอยู่จริง ควำมจริงก็คือ ปรมำณูกับที่ว่ำง
เท่ำนั้นที่เป็นปฐมธำตุของโลก
กาเนิดจักรวาล
• ปรมาณูภายในวงวนจะรวมตัวกันโดยปรมาณูที่มีรูปร่างและขนาด
คล้ายคลึงกัน จะเกาะตัวกันเป็นดิน น้า ลม ไฟ และสิ่งต่าง ๆ จน
เป็นโลกนี้และดวงดาวในจักรวาล
• การเคลื่งนที่ขงงปรมาณูดาเนินตาามกฏกลศาสตร์ (Mechanical
Law) งันตายตัว “ไม่มีงะไรเกิดขึ้นงย่างไร้เหตุผล สรรพสิ่งเกิดขึ้น
ตามเหตุผลและความจาเป็น”
ทัศนะเรื่งงวิญญาณ
• วิญญาณขงงคนเราเกิดจากการรวมกลุ่มขงงปรมาณูที่กลมที่สุด
ประณีตที่ สุด คล่ งงแคล่ วที่ สุด เรียกปรมาณูพวกนี้ว่า
“ปรมาณูวิญญาณ.” (Soul Atom) มันแผ่ซ่านไปทั่วสรรพางค์
ทาหน้าที่งานวยการความเคลื่งนไหวขงงงวัยวะในร่างกาย ทา
หน้าที่ต่างกันไป เช่น ปรมาณูส่วนสมงงทาหน้าที่คิด ปรมาณูส่วน
หัวใจทาหน้าที่โกรธ
แล้วงะไรคืงความจริงกันแน่ ??
ความจริงมีงยู่งย่างไร
• ความจริงแบบปรนัย (Objecttive)....เป็นความ
จริงที่แน่นงนตายตัว เป็นงิสระในตัวเงง ไม่
ขึ้นงยู่กับงะไรทั้งสิ้น
• ความจริงแบบงัตนัย (Subjective) ….เป็นความ
จริงที่ขึ้นงยู่กับความรู้สึกนึกคิดขงงเรา
2. สมัยรุ่งเรืงง
** สนใจถามปัญหาเกี่ยวกับรูปแบบการดาเนิน
ชีวิตขงงมนุษย์ - ปัญหาว่างะไรเป็นมาตรการตัดสิน
ความจริง
- โซฟิสต์ (Sophist)...ถืงว่ามาตรการ
ตัดสินความจริง ดี ชั่ว ถูก ผิด เป็นเรื่งงขงงแต่ละ
คน ไม่มีเกณฑ์ตายตัว....“โปรทากอรัส” เห็นว่า
“มนุษย์เป็นมาตรการวัดทุกสิ่ง” -Man is the measure
of all things.
โปรทากงรัส
(Protagoras) –
นักปรัชญาโซฟิสต์
โสคราตีส (Socrates)
โสคราตีส (Socrates) (469-399 B.C.)
- ปรัชญาควรสนใจปัญหาชีวิตขงงมนุษย์
มากกว่าปัญหาโลกหรืงจักรวาล
- มีความจริงหรืงหลักเกณฑ์ที่แน่นงนตายตัวดารง
งยู่ด้วยตัวมันเงง ไม่ขึ้นกับมนุษย์
- การกระทาที่ดีงาม คืง การกระทาที่สงดคล้งงกับ
ความจริงที่ตายตัวนี้ ดังนั้นความรู้ความจริงจึงเป็น
สิ่งจาเป็นและมีค่าที่สุดสาหรับมนุษย์
โสคราตีส (Socrates) (469-399 B.C.)
**ความจริงสากลมีงยู่จริง ความดีต้งงมีมาตรการที่
แน่นงน ไม่ขึ้นงยู่กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ต้งงเป็น
สากล และเข้าถึงได้ด้วยเหตุผล
**ความรู้คืงคุณธรรม
**หนึ่งเดียวที่ข้าพเจ้ารู้ คืง รู้ว่าข้าพเจ้าไม่รู้งะไร
**เขาได้รับการยกย่งงว่าเป็นคนที่ประเสริฐที่สุด ฉลาด
ที่สุด ยุติธรรมที่สุด และกล้าหาญที่สุด
- มนุษย์ควรให้ความสาคัญกับกิจกรรมทางจิต
(การใช้ปัญญาหรืงเหตุผลใคร่ครวญ) มากกว่า
ร่างกาย
- ชีวิตที่ดี คืง ชีวิตที่ใช้เหตุผลและปัญญาในการ
แสวงหา สัจธรรมและคุณธรรม
โสคราตีส (Socrates)
ชีวิตที่ปราศจากการสารวจ
ไม่คุ้มค่าแก่การดารงงยู่...
จงรู้จักตนเงง เพราะชีวิต
ที่ไม่รู้จักตนเงงนั้น เป็น
ชีวิตที่ปราศจากคุณค่า
 คุณค่าขงงชีวิตงยู่ที่การ
รู้จักสารวจตัวเงง คืง การ
ตระหนักรู้ว่า ชีวิต คืง
งะไร? เกิดมาทาไม?
บัดนี้เรากาลังทางะไรงยู่?
และทาเพื่งงะไร?
ตื่นๆๆๆๆๆ
เพลโต (Plato) (427-347 B.C.)
สนใจปัญหาความดีคืงงะไร? ชีวิตที่ดี
เป็นงย่างไร? เช่นเดียวกับโสคราตีส โดยใช้
ทฤษฎีความจริงขงงธรรมชาติและมนุษย์
(งภิปรัชญา) มางธิบาย
เขาเชื่งว่ามีความจริงสากลที่เที่ยงแท้
เรียกว่า แบบ หรืง มโนคติ (Form/Idea)งัน
เป็นแก่นแท้และที่มาขงงสรรพสิ่งและมนุษย์
สามารถเข้าถึงได้ด้วยเหตุผล
งภิปรัชญา(Metaphysics) ขงงเพลโต
เป็นงภิปรัชญาแบบทวินิยม เชื่งว่ามี
ความจริง 2 งย่าง คืง สสาร และ งสสาร
• โลก โลกขงงสสารวัตถุ, โลกขงงแบบ
• มนุษย์ ร่างกาย, จิต
THEORY OF FORM
 คนดีก็คืงคนที่มีคุณธรรม
4 ประการนี้ คืง
1. ปัญญา
2. ความกล้าหาญ
3. การควบคุมตนเงง
4. ความยุติธรรม
งริสโตเติล (Aristotle) (384-322 B.C.)
 ไม่เห็นด้วยกับทฤษฎี “โลกขงงแบบ” ขงงเพลโต
 นา “แบบ” ขงงเพลโตมางธิบายใหม่ว่าโลกขงง
แบบ และโลกผัสสะ ไม่ได้งยู่แยกจากกัน.....สสาร
และแบบ (สิ่งสากล) ไม่สามารถแยกงงกจากกัน
ได้
 “แบบทุกแบบนั้นมีพื้นฐานงยู่ในธรรมชาติ” ดังนั้น
สิ่งจริงทั้งหลายในโลก ก็คืง ปัจเจกวัตถุที่มี
ส่วนผสมขงงสสารและแบบ
3. สมัยกรีกเสื่งม
เป็นยุคความวุ่นวายทางการเมืงง หันมาสนใจปัญหา
ชีวิตขงงมนุษย์ โดยการหาความสุขส่วนตัว ไม่สนใจสังคม
- กลุ่มหาความสุขในโลกหน้า - ลัทธิเพลโตใหม่
- กลุ่มหาความสุขในโลกนี้ – “ลัทธิเอปิคิวเรียน” (ควร
แสวงหาความสุขงย่าง รงบคงบ)/ “ลัทธิสโตอิก” (ชีวิตที่ดี คืง
ชีวิตที่ทาตามเหตุผล ใช้เหตุผลควบคุมงารมณ์ ระงับความ
งยาก ความต้งงการ ไม่ทาตามใจตัวเงง) / “ลัทธิซีนิค” (หนี
ปฏิเสธสังคม มีชีวิตที่เรียบง่ายที่สุด)
เงปิคิวรุส (Epicurus 341-270 B.C.)
ความสุขที่แท้จริง คืง
ความสุขระยะยาว.....
ความสุขระยะยาวจะ
เกิดขึ้นได้ก็ต่งเมื่ง มนุษย์
ไม่ตกเป็นทาสขงงความ
ต้งงการมากจนเกินไป
รู้จักพงใจกับชีวิตที่เรียบ
ง่ายโดยึดหลักทางสาย
กลาง
Diogenes แห่ง ลัทธิซีนิค
 **ปรัชญากรีก เกิดจากความ
สงสัยใคร่รู้เกี่ยวกับแก่นแท้หรืง
สารัตถะขงงโลกภายนงก
 จุดเด่นขงงนักปรัชญากรีกงยู่ที่
ความสามารถในการตั้งคาถาม
ได้ทุกเรื่งง ปัญหาที่นักปรัชญา
กรีกตั้งเป็นโจทย์ไว้ ยังคงเป็น
ประเด็นแห่งการศึกษาค้นคว้า
สาหรับนักปรัชญาในสมัย
ปัจจุบัน-ปรัชญากรีกจึงเป็นบ่ง
เกิดแห่งภูมิปัญญาตะวันตก
(ศาสตร์ทั้งหลาย)
3 . ยุคกลาง (เริ่มต้นราว ค.ศ.400)
 เป็นยุคที่คริสต์ศาสนามีงิทธิพลต่งมนุษย์ใน
ทุกๆด้าน เป็นศูนย์กลางขงงงารยธรรมยุคกลาง
 **นักปรัชญาในยุคกลาง เป็นพระในคริสต์ศาสนา ได้นาปรัชญา
กรีก(เพลโต และงริสโตเติล)มางธิบายคริสต์ศาสนาเพื่งให้มี
ความน่าเชื่งถืงและเป็นเหตุเป็นผลมากขึ้น ได้แก่
 เซนต์ งงกัสติน และเซนต์โทมัส งาควินัส
( การเข้าถึงพระเจ้ามี 2 ทาง คืง โดยศรัทธาและการเผยแสดงขงง
พระเจ้า,การใช้เหตุผลและประสาทสัมผัส)
เซนต์ งงกัสติน
 นาทฤษฎีแบบขงงเพลโตมางธิบาย
ความมีงยู่ขงงพระเจ้า
 ความเป็นจริง คืง แบบที่มีงยู่ใน
พระมนัส (Intellect) ขงงพระเจ้า
 “แบบ” (Form) เป็น สารัตถะ หรืง
แก่นแท้ขงงสรรพสิ่งในจักรวาล
 พระเจ้าทรงช่วยเหลืงมนุษย์โดยการ
ส่งงแสงแห่งปัญญามายังมนุษย์
เพื่งให้เข้าใจแบบ หรืง ความจริงได้
เซนต์ โทมัส งาควินัส
 เขานาปรัชญาขงงงริสโตเติล
มางธิบายคริสต์ศาสนา
 แบบปรากฏร่วมกับวัตถุงยู่แล้ว
ส่วนในพระมนัสขงงพระเจ้า
เป็นเพียงแผนการหรืงความคิด
 การงธิบายศาสนาคริสต์ตาม
หลักเหตุผลทาให้ศาสนาเป็นที่
ยงมรับและแข็งแกร่ง
4 . ยุคใหม่ (ค.ศ.1600 – 1800)
***ยุคแห่งความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์และปัญหาเรื่งงทฤษฎีความรู้
(เรารู้ความจริงได้งย่างไร ความรู้ที่
ถูกต้งงและแท้จริง เป็นงย่างไร และ
มาจากไหน?)
ปัจจัยที่เป็นเหตุให้เปลี่ยนจากยุคกลางมาสู่
ยุคใหม่ คือ
 1. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 2. การปฏิรูปศาสนา (Reformation)
 3. ค้นพบดินแดนใหม่และขยายตัวทางการค้า
ศาสนาและระบบศักดินาเสื่งมลง มนุษย์มุ่ง
ความสุขในโลกนี้มากกว่าโลกหน้า มีโลกทัศน์แบบ
มนุษย์นิยม(Humanism) และศึกษาธรรมชาติขงงโลก
วิชาวิทยาศาสตร์เข้าแทนที่วิชาเทววิทยา
แนวความคิดขงงปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่
แบ่งงงกเป็น 2 กลุ่ม -:
 1. ระบบเหตุผลนิยม (Rationalism)
เชื่งว่า เหตุผลเป็นที่มาขงงความรู้ที่ถูกต้งง
ความจริงซึ่งเราสามารถรู้ได้ด้วยเหตุผลนั้น
ย่งมจะต้งงแน่นงนไม่เปลี่ยนแปลง
 ทั้งนี้ความจริงนั้นแฝงงยู่ในจิตเรางยู่ก่งน
แล้ว การใช้เหตุผลทาให้รู้ชัดถึงความจริงนี้
 (เดส์คาร์ต/สปิโนซ่า/ ไลป์ นิซ)
2. ระบบประจักษ์นิยมหรืงประสบการณ์นิยม
(Empiricism)
 ไม่เชื่อว่ามีความจริงใดๆแฝงอยู่ในจิตของมนุษย์ตั้งแต่แรกเกิด
ความรู้ทั้งหลายต้องเริ่มต้นหรือได้จากประสาทสัมผัสหรือ
ประสบการณ์(จอห์น ล็อก/เบอร์คเลย์/เดวิด ฮูม)
 John Locke….. ในสภาวะแรกเกิด
จิตเหมืงนผ้าขาว(tabura rasa)ปราศจาก
ความคิดใดๆ ความคิดในจิตซึ่งเกิดขึ้น
ภายหลังนั้นได้จากประสบการณ์ ความรู้
ขงงเราทั้งหมดมีรากฐานมาจากประสบการณ์
3. งิมมานูเงล ค้านท์
 ประนีประนงมระหว่างแนวคิดแบบ
เหตุผลนิยมและประสบการณ์นิยม
 ผัสสะนั้นให้เนื้งหาความรู้แก่เรา
ต่งจากนั้นจิตก็นาเนื้งหาเหล่านั้นมา
จัดระเบียบทาให้เป็นความรู้ที่แน่นงน
และเป็นสากล
 ในธรรมชาติ สิ่งแท้จริงนั้นมีงยู่แต่เรา
ไม่สามารถรู้จักในสภาพที่แท้จริงได้
แต่เราคิดถึงมันโดยงาศัยประสบการณ์
ได้
ยุคปัจจุบัน ( คริสต์ศตวรรษ 19-20)
โลกในศตวรรษที่ 19-20 ยังคงให้ความสาคัญกับความ
เจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแบบใหม่ ทฤษฎีความรู้
ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย
หลังจาก WW2 มนุษย์เริ่มตระหนักว่าวิทยาศาสตร์สามารถ
นาหายนะมาสู่มนุษย์ได้ถ้าใช้ไปในทางที่ไม่ถูกต้อง
มนุษย์เริ่มรู้สึกผิดหวัง สับสน ขาดความเชื่อมั่น กลายเป็นยุค
ของการแสวงหาปรัชญาแนวคิดใหม่ที่จะสามารถนามาใช้เป็น
หลักในการดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
แนวคิดปรัชญายุคปัจุบัน
 ลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism) - พยายามนาความคิดทาง
ปรัชญาที่มีงยู่ไปปฏิบัติให้ได้ผลจริง สิ่งที่ปฎิบัติแล้วเกิดผลดี
ถืงว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้งง (วิลเลี่ยม เจมส์/ ชาร์ลส์ แซนเดงรส์
เพิร์ซ)
 ลัทธิภาษาวิเคราะห์ (Language Analysis) วินเกนสไตน์ เสนง
ว่า คนเรามีความคิดต่างกันเพราะใช้ภาษาต่างกัน
วิธีแก้ปัญหา คืง สร้างภาษาสัญลักษณ์ที่มี
ลักษณะที่ชัดเจนตายตัว ซึ่งทุกคนที่ใช้ภาษานี้
ก็จะมีความคิดที่ถูกต้งงตรงกันทั้งหมด
ลัทธิงัตถิภาวนิยม (Existentialism)
 นักปรัชญาสาคัญ คืง ชงง พงล ซาร์ต (Jean Paul Sartre)
 เสนงให้มนุษย์กลับมาหาตัวเงง เป็นตัวขงงตัวเงง ทา
ความเข้าใจว่าธาตุแท้ขงงมนุษย์ คืง เสรีภาพ ........
 ซึ่งหมายถึง ความเป็นงิสระในการตัดสินใจเลืงกการ
กระทาขงงตัวเงง และพร้งมที่จะรับผิดชงบผลที่ตามมา
 เสรีภาพกับความรับผิดชงบจะต้งงไปด้วยกัน มนุษย์เป็น
งิสระเสมงไม่ว่าในสถานการณ์ใด
ชงง พงล ซาร์ต ( Jean Paul Sarte )
*เราต้งงสร้างตัวเรางย่างที่
เราต้งงการ
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทาง
ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาตะวันงงก
แบ่งงงกเป็น
•ปรัชญางินเดีย
•ปรัชญาจีน
ปรัชญาแบ่งตามภูมิภาคที่เป็นแหล่งกาเนิด
ปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญากรีก
-ธาเลส (Thales)
ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน
- อาสติกะ -เต๋า
- นาสติกะ -ขงจื๊อ
ฯลฯ
ลักษณะทั่วไปขงงปรัชญางินเดีย
เป็นปรัชญาชีวิต
-พยายามคิดค้นว่าจุดประสงค์สูงสุดขงงชีวิตคืง
งะไร การรู้แจ้งแห่งตน (รู้แจ้งในสัจ
ธรรมขงงชีวิต พ้นทุกข์)
-วิธีปฏิบัติคืง “จงงยู่งย่างง่ายๆ แต่คิดให้สูง”
-ไม่แยกงงกจากศาสนา
ปรัชญางินเดีย
ปรัชญาอินเดียแบ่งออกเป็นสองสาย ได้แก่
งาสติกะ (Āstik) และนาสติกะ (nāstik)
-ในทางปรัชญาอาสติกะ และนาสติกะ หมายถึงความเชื่อหรือไม่เชื่อใน
ความถูกต้องและความศักดิ์สิทธิ์ของพระเวท (testimony of vedas)
-ปรัชญาอินเดียกลุ่มอาสติกะ ได้แก่ปรัชญาฝ่ายฮินดู 6 สานัก หรือ 6
ทรรศนะ มี นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ โยคะ มีมามสา และเวทานตะ
-ปรัชญาอินเดียกลุ่มนาสติกะ ได้แก่ ปรัชญาพุทธ ปรัชญาเชน และ
ปรัชญาจารวาก (ไม่เชื่อในคัมภีร์พระเวท)
ลักษณะร่วมแห่งระบบต่างๆ ขงง
ปรัชญางินเดีย (ยกเว้นจารวาก)
• 1. เป็นปรัชญาชีวิต สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิตเพื่อบรรลุอุดม
คติที่ตั้งไว้
• 2. เป็นปรัชญาที่เริ่มต้นแบบ ทุทรรศนนิยม (Pessimism) แต่จบลงด้วย
สุทรรศนนิยม (Optimism)...ชีวิตมีทุกข์... ไม่พอใจ... หาทางออก....พ้น
ทุกข์ พบสุข
• 3. เชื่อในกฎแห่งกรรม
• 4. อวิชชา หรือ อวิทยา เป็นสาเหตุแห่งความติดข้อง และการเวียนว่ายตาย
เกิด /วิชชา หรือ วิทยา เป็นสิ่งที่ทาให้พ้นจากความติดข้อง และมุ่งการบรรลุ
โมกษะ หรือ ความหลุดพ้นจากทุกข์เป็นจุดหมายปลายทาง
ลักษณะร่วมแห่งระบบต่างๆ ขงง
ปรัชญางินเดีย (ยกเว้นจารวาก)
• 5. การบาเพ็ญสมาธิ และวิปัสสนา โดยพิจารณาสิ่งต่างๆ ให้เห็นตาม
สภาพความเป็นจริง เป็นทางที่จะนาไปสู่ความหลุดพ้นจากทุกข์
• 6. การควบคุมตนเอง หรือ การควบคุมจิตใจไม่ปล่อยให้เป็นไปใน
อานาจของตัณหา เป็นวิถีทางที่จะกาจัดกิเลสเพื่อบรรลุโมกษะ
• 7. ความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง หรือ โมกษะเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ แต่ต้อง
อาศัยการปฎิบัติพากเพียรอย่างเข้มงวด
1. ปรัชญางินเดีย
แบ่งเป็น 3 ยุค
• ยุคพระเวท ตั้งแต่เกิดมีพระเวทขึ้นในประวัติความคิดขงง
ปรัชญางินเดีย (1,000 ปี – 100 ปี ก่งนพุทธกาล )
• ยุคมหากาพย์ เป็นยุคการเกิดขึ้นขงงมหากาพย์รามายณะ และ
มหากาพย์มหาภารตะ เป็นยุคที่พระพุทธศาสนาและศาสนา
เชนรุ่งโรจน์เป็นคู่แข่งกับศาสนาพราหมณ์ (100 ปี ก่งน
พุทธกาล จนถึงราว พ.ศ. 700)
• ยุคระบบทั้ง 6 เป็นยุคเกิดขึ้นขงงระบบทั้ง 6 ขงงปรัชญาฮินดู
คืง นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ โยคะ มีมามสา และเวทานตะ
เป็นยุคที่ศาสนาพราหมณ์ ได้พัฒนามาเป็นศาสนาฮินดู (พ.ศ.
700 ลงมา )
• ยุคร่วมสมัย เป็นยุคที่เกิดการผสมผสานกันระหว่างปรัชญา
งินเดียโบราณ กับปรัชญาตะวันตก จนกระทั่งเกิดเป็นปรัชญา
งินเดียร่วมสมัย มีนักคิดที่สาคัญ คืง สวามี รามกฤษณะ สวามี
วิเวกานันทะ รพินทรนาถฐากุร ศรีงรพินโท มหาตมะ คานธี
ดร.ราธกฤษณัน เป็นต้น ( ประมาณพ.ศ.2300-ยุคปัจจุบัน)
พัฒนาการทางศาสนาในยุคพระเวท
• พหุเทวนิยม (Polytheism)
• งติเทวนิยม (Henotheism)
• เงกเทวนิยม (Monotheism )
• เงกนิยม (Monism)
การแบ่งบุคคลในสังคมงงกเป็น 4 ประเภท
หรืง วรรณะ
• 1. วรรณะกษัตริย์ : เป็นชนชั้นนักรบ
• 2. วรรณะพราหมณ์ : นักบวช ศึกษาทรงจาและสืบต่อคัมภีร์
พระเวท เป็นผู้ประกอบพิธีกรรม
• 3. วรรณะแพศย์ หรือ ไวศยะ : เป็นวรรณะของคนส่วนใหญ่
มีอาชีพค้าขาย ทาการเกษตร ศิลปหัตถกรรม
• 4. วรรณะศูทร : มีอาชีพเป็นกรรมกร ใช้แรงงาน ให้บริการแก่
วรรณะอื่น
บ่อน้าร้อนตโปทาราม
2. ปรัชญาจีน
กาเนิด-งารยธรรมจีนกาเนิดบริเวณลุ่มแม่น้าฮวงโห และ
แยงซีเกียง เมื่งประมาณ 5,000 ปี มาแล้ว แต่ปรัชญา
จีนเพิ่งเริ่มเมื่งประมาณ 480-222 ปีก่งนค.ศ. เป็นช่วง
ปลายสมัยราชวงศ์โจว(E)(ชุนชิว-จั้นกั๋ว) จัดช่วงนี้เป็ น
ยุคทงงขงงปรัชญาเมธีจีน มีปรัชญาเกิดขึ้นมากมาย
คนจีนเรียกว่า “ร้งยสานัก”
ลักษณะทั่วไปขงงปรัชญาจีน
ปรัชญาจีนสนใจปั ญหาการดารงชีวิตขงงมนุษย์
(จริยศาสตร์และปรัชญาการเมืงง) สามารถสรุปหัวใจ
ขงงปรัชญาจีนได้ ดังนี้
การงบรมฝึกฝนตนเงง
การยังความสงบให้ผู้งื่น
การทาภายในขงงตนให้มีคุณธรรม
การทาภายนงกให้เป็นนักปกครงงที่ดี
ซึ่งก็คืง.....
“ภายในเป็นงริยปราชญ์ ภายนงกเป็นธรรมราชา”
ปรัชญาจีน
– บ่งเกิดปรัชญาจีน..มีความเชื่งเรื่งงวิญญาณนิยม นับถืงบูชา
เทพเจ้าที่สิงสถิตงยู่ในธรรมชาติ
– ยุคปรัชญาเมธี มีการเกิดขึ้นขงงนักปรัชญาที่สาคัญ คืง
ขงจื๊ง เหลาจื๊ง เม่งจื๊ง บั๊คจื๊ง จวงจื๊ง เป็นต้น ( ราว พ.ศ.8 -
พ.ศ.300 )
– ยุคปรัชญาจีนสมัยใหม่ หลัง พ.ศ. 300 เป็นต้นมา เกิดสานัก
เต๋าใหม่ และ ขงจื๊งใหม่
- ยุคปรัชญาจีนร่วมสมัย เกิดปรัชญาการเมืงงที่สาคัญ ขงง
ดร. ซุนยัดเซนและเหมาเจ๋งตุง

ปรัชญาจีนเป็นมนุษยนิยม หนักไปทางจริยศาสตร์ (Ethics) บวก
การเมือง มีหัวใจซึ่งเป็นดังสูตรของปรัชญาจีน ๘ คาที่ควรรู้ไว้ คือ
 ซิวกี้ แปลว่า อบรมฝึกฝนตัวเอง
 อังนั้ง แปลว่า ยังความสงบสุขให้แก่ผู้อื่น
 ไหลเสี่ย แปลว่า ทาภายในตนให้มีคุณธรรม
 วั่วอ๊วง แปลว่า ทาภายนอกให้เป็นกษัตริย์นักปกครองที่ดี
ลักษณะขงงปรัชญาจีน
ลู้งายงงถามขงจื้งว่า
“ทางย่างไรจะให้ประชาชนนิยมรักใคร่?”
ขงจื๊งตงบว่า
“จงยกย่งงคนสุจริต
ห่างไกลคนทุจริต
ประชาชนเขาก็นิยมรักใคร่เงง
หากยกย่งงคนทุจริต
ไม่นาพาต่งคนสุจริต
ประชาชนก็หมดนิยมรักใคร่”
“ความเป็นปราชญ์ภายใน
และกษัตริย์ภายนงก”
จุดหมายสูงสุดขงงปรัชญาจีน

สานักต่างๆ ขงงปรัชญาจีน
สานักปรัชญาเต๋า
สานักปรัชญาขงจื๊ง
สานักปรัชญาม่งจื๊ง
สานักปรัชญานิตินิยม

มีความเห็นว่า ธรรมชาติดั้งเดิมขงงมีแต่ความชั่วร้าย จึงจาต้งง
ใช้งานาจและกฎหมายมาเป็นเครื่งงควบคุม พวกที่มีความเห็น
งย่างนี้มี ฮั่นเฟ่ยจื๊ง เป็นตัวแทน
สานักปรัชญานิตินิยม

มีความเห็นว่า ขึ้นชื่อว่าคนนั้นยุ่งเหยิงไม่มีที่สิ้นสุด
เป็นที่ตั้งแห่งปัญหาทั้งปวง ยิ่งคิดยิ่งทาอะไรมากก็ยิ่งยุ่งมาก
จะแก้ไขอย่างไรก็ไม่มีที่สิ้นสุด สู้ปล่อยไปตามธรรมชาติ
สนับสนุนให้คนใช้ชีวิตที่เรียบง่าย เข้าหาธรรมชาติจะดีกว่า
พวกที่มีความเห็นอย่างนี้ก็มี เหลาจื๊อ จวงจื๊อ เป็นตัวแทน
สานักปรัชญาเต๋า

มีความเห็นว่า ขนบธรรมเนียมโบราณที่ดีงามมีอยู่มาก
ควรที่จะฟื้นฟูเรื่องที่ดีงามขึ้นมาใหม่ แล้วนามาเป็นหลัก
ประพฤติปฏิบัติ เน้นการมีคุณธรรม และการศึกษา พวกที่มี
ความเห็นอย่างนี้ก็มี ขงจื๊อ เม่งจื๊อ เป็นตัวแทน
สานักปรัชญาขงจื๊ง

มีความเห็นว่า เรื่องที่ล่วงมาแล้วก็เหมาะกับคนสมัยนั้น ไม่
ควรรื้อฟื้นขึ้นมาอีก ควรจะหาอะไรใหม่ๆ ที่เหมาะสมมา
เป็นหลักยึดเหนี่ยวจะดีกว่า พวกที่มีความเห็นอย่างนี้มี
ม่อจื๊อ เป็นตัวแทน
สำนักปรัชญำม่อจื๊อ

มีความเห็นว่า ธรรมชาติดั้งเดิมของมีแต่ความชั่วร้าย จึง
จาต้องใช้อานาจและกฎหมายมาเป็นเครื่องควบคุม พวกที่
มีความเห็นอย่างนี้มี ฮั่นเฟ่ยจื๊อ เป็นตัวแทน
สานักปรัชญานิตินิยม
***จื้งลู้ว่า……
“ งุดมคติขงงท่านงาจารย์สูงเกินไป ไม่ว่าไปที่ใดจึงเข้ากับเขา
ไม่ได้ ท่านงาจารย์จะลดงุดมคติให้มันต่าลงมางีกสักหน่งยจะ
ได้หรืงไม่ ?”
***ขงจื๊งตงบว่า……
“…ชาวนาที่ดีหมั่นเพียรในการไถหว่าน ก็ไม่แน่ว่าจะได้รับผล
สมบูรณ์ทุกครั้ง ศิลปินผู้สามารถผลิตงานงันประณีตงงกมา ก็
ไม่แน่ว่าจะเป็นที่ต้งงประสงค์ขงงปวงชนทุกคราว ผู้ที่มีงุดมคติ
สามารถยังงุดมคติให้ปรากฏเป็นความจริงได้ ก็ไม่แน่ว่าจะเป็น
ที่ต้งนรับขงงสังคมเสมง...บัดนี้เธงไม่สังวร ในการปลูกฝัง
คุณธรรมในตัวให้สมบูรณ์ กลับมานึกข้งงใจผู้งื่นเขาว่าทาไมไม่
ต้งนรับตน งย่างนี้...ความนึกคิดดังกล่าวไม่ต่าไปหรืง..............”
ปรัชญาทั่วไป Page 111
ปรัชญาตะวันงงก คืง ปรัชญางินเดียและปรัชญาจีน
มีลักษณะเป็นปรัชญาชีวิต เน้นคาสงนที่สามารถเงามาใช้ได้จริงใน
ชีวิตประจาวัน ดังนั้น จึงไม่สามารถแยกความคิดทางปรัชญาและ
ศาสนางงกจากกันได้ สิ่งเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการคิดค้นในทาง
ปรัชญาของตะวันออกคืออะไร? - ความทุกข์ขงงชีวิต
ความแตกต่างระหว่างปรัชญาตะวันตกกับปรัชญาตะวันงงก
ปรัชญาทั่วไป Page 112
ส่วนปรัชญาตะวันตกนั้น สามารถแยกความคิดงงกจาก
ศาสนาได้เด็ดขาด
มุ่งแสวงหาความรู้เพื่งจะเข้าถึงความจริงเท่านั้น เมื่งได้
พบความจริงแล้วก็พงใจเพราะสามารถแก้ข้งสงสัยในใจได้
ดังนั้น สาหรับวิถีชีวิตขงงคนตะวันตก ความรู้และการ
ปฏิบัติแยกกันคนละส่วน
สิ่งที่เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคิดในทางปรัชญาของ
ตะวันตกนั้น คืออะไร
- ความประหลาดใจต่อปรากฏการณ์ธรรมชาติ
จบแล้วจ้ำ ^____^ ขอบคุณค่ะ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รงยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Tendances (20)

อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา

Notes de l'éditeur

  1. “ความเป็นปราชญ์ภายในและกษัตริย์ภายนอก” ความเป็นปราชญ์ภายใน คือบุคคลที่สามารถพัฒนาตัวเองให้มีคุณธรรม ส่วนเป็นกษัตริย์ภายนอก หมายถึงบุคคลผู้ได้บำเพ็ญประโยชน์อย่างมหาศาลให้แก่ชาวโลก ทุกคนจะต้องพยายามพัฒนาคุณลักษณะทั้ง 2 อย่างให้เกิดขึ้นในตน คนเป็นนักปราชญ์ได้ก็เพราะรู้คุณธรรม และปฏิบัติตามคุณธรรมเท่านั้น