SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
1
ศิลปะแห่งความรัก
เมตตาภาวนา : วิถีแห่งรักแท้
แนวทางในการรักตนเองและผู้อื่นให้เป็น อย่างไม่เป็นทุกข์
ความรักกับชีวิต
ความรัก คืออะไร....คือดอกไม้ คือสายลม คือบทกวีอ่อนหวาน
ความรัก คือ ความชื่นบาน คือรอยยิ้ม และหยาดน้าตา
ความรัก บางคราจูงมือมากับความทุกข์
แต่ความสุขก็ยังคอยส่งยิ้มเป็นกาลังใจอยู่บ่อย ๆ
ความรักที่แท้บอกเราให้รับแต่น้อย และอย่าลังเลที่จะเป็นผู้ให้
ความรัก คือกาลังใจ คือการให้อภัย คือความสุขใจที่ได้รู้จัก...ความรัก……..
ความรัก คำ ๆ นี้ดูจะเป็นที่คุ้นเคยของทุกคนเป็นอย่ำงดี คงจะไม่มีมนุษย์คนไหนที่จะปฏิเสธว่ำตน
ไม่เคยมีควำมรัก ทั้งนี้เพรำะควำมรัก มีหลำกหลำยมิติ และผูกพันอยู่กับควำมรู้สึกของมนุษย์ในเกือบจะทุกขณะจิต
ไม่ว่ำจะเป็นควำมรักตนเอง รักพ่อแม่ ญำติพี่น้อง รักเพื่อน รักคนรัก รักธรรมชำติ รักควำมยุติธรรม รักชำติบ้ำนเมือง
เป็นต้น แม้ว่ำคนเรำจะสำมำรถคิดคำนึงและพูดถึงควำมรักได้อย่ำงคล่องแคล่ว แต่จะมีสักกี่คนที่จะเข้ำใจควำมหมำย
ที่แท้จริงของมัน
บำงคนที่กำลัง สุขสมหวังกับ “ควำมรัก” เขำก็อำจจะนิยำมว่ำ “รัก” คือ ดอกไม้ รักคือควำมสวยงำม
, รักคือแรงบันดำลใจ กล่ำวคือ เมื่อเขำ กำลังมีควำมสุขในรัก เขำก็จะมองควำมรักว่ำเป็นเรื่องที่ดี เรื่องที่งดงำม
ในขณะที่บำงคนที่กำลังประสบกับควำมผิดหวังในรัก หรืออกหัก นั้นแน่นอนนิยำมควำมรักของเขำ ก็คงจะเป็นไป
ทำนองที่ว่ำ.... รัก คือ ควำมเจ็บปวด ที่ได้มีรัก ที่นั่นมีทุกข์, รัก คือ ไฟ เป็นต้น
ในประเด็นนี้เรำอำจจะตั้งข้อสังเกตได้ว่ำ “ความรัก” มีคุณค่าในตัวเอง หรือไม่ หรือเป็นเพียง
สิ่งที่แปรเปลี่ยนไปได้ตลอดเวลา เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ แล้วแต่ว่ำจะอยู่ในสถำนกำรณ์ใด ในประเด็นนี้พุทธศำสนำ
จะอธิบำยว่ำ “ความรักไม่ได้ทาให้เราทุกข์ แต่การยึดติดหรืออุปาทานต่างหาก ที่ทาให้เราทุกข์”(แม่ชีศันสนีย์
,2546 :200) ซึ่งจะได้ศึกษำกันต่อไปว่ำ อุปำทำน คืออะไร และเข้ำมำมีบทบำทแปรเปลี่ยนควำมรักให้เป็นควำมทุกข์
ได้อย่ำงไร
“ความรัก” กับ “วิถีชีวิต” ของมนุษย์ดูจะแยกกันไม่ออก อย่ำงน้อยมนุษย์ก็ต้องมีควำมรัก “ตนเอง”
เป็นควำมรักแรกสุด ดัง พุทธศำสนสุภำษิต ที่ว่ำ “ความรักอื่นเสมอด้วยตนไม่มี” (นตฺถิ อตฺตสม เปม) (ฟื้น,2542
:297) จำกนั้นมนุษย์ก็เรียนรู้ที่จะรักผู้อื่น ซึ่งเป็นวิถีแห่งสัญชำตญำณตำมธรรมชำติ ไม่ว่ำจะเป็น รักพ่อแม่ รักเพื่อน
พ้อง รักเพื่อนต่ำงเพศ ฯลฯ นอกจำกควำมรักจะเป็นเครื่องผูกพันทางใจ ที่ก่อให้เกิดสำยใยแห่งไมตรีจิต กำร
ช่วยเหลือเกื้อกูล เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน แล้วควำมรัก ยังเป็นเครื่องผูกพันทางสังคม ทำให้สังคมมีควำมกลม
เกลียวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันก่อให้เกิดควำมสำมัคคีและเป็นปึกแผ่นมั่นคง นอกจำกนี้“ควำมรัก” ระหว่ำงมนุษย์กับ
2
ธรรมชำติยังมีส่วนช่วยจรรโลง รักษำ ความอุดมสมบูรณ์และความสมดุลของสภาวะแวดล้อมให้คงอยู่... ที่กล่ำว
มำ นั่นคือ “ด้านดี” ของควำมรัก
แต่ทั้งนี้ ในโลกแห่งควำมเป็นจริงนั้น ควำมรักในควำมหมำยที่ว่ำ “ความชอบพออย่างผูกพัน” นั้น
กลับเป็นต้นเหตุแห่งควำมทุกข์ ในระดับต้น ๆ ของมนุษย์ จะเห็นได้จำก ปัญหำอำชญำกรรมตำมหน้ำหนังสือพิมพ์ที่
มักจะมีเรื่องที่เกิดจำกควำมผิดหวังในควำมรัก ซึ่งก่อเกิดเป็นควำมรุนแรงถึงขึ้นทำลำยชีวิตกัน ที่รุนแรงน้อยลงมำก็
สะท้อนให้เห็นถึงควำมเจ็บปวด หรือควำมทุกข์จำกควำมรัก ที่ปรำกฏใน เพลงบ้ำง ในหนังสือบ้ำง หรือเป็นหัวข้อ
สนทนำบ้ำง แทบจะเรียกได้ว่ำ ปัญหำควำมผิดหวังในรัก ดูจะเป็นเรื่องธรรมดำ ที่ไม่ช้ำก็เร็ว ไม่ว่ำใครจะมีโอกำสเสีย
น้ำตำกับเรื่องของควำมรักนี้ได้
เมื่อวิเครำะห์ปัญหำดูแล้ว จะพบว่ำอำกำร “ผิดหวังในควำมรัก” นั้น มิได้เกิดเพรำะคนที่ตนรักเป็น
ทุกข์ หรือล้มหำยตำยไป แต่ส่วนใหญ่อำกำร “อกหัก” จะเกิดจำกกำรที่คนรักของตนไปมีคนรักใหม่...........ผลที่
ตำมมำ คนที่ (คิดว่ำ) ตนถูกทอดทิ้งก็จะรู้สึกเจ็บปวด เคว้งคว้ำง สับสน ทุกข์ทรมำนอย่ำงที่สุด รู้สึกว่ำตนไร้ค่ำ และ
สิ้นหวัง ทั้งนี้เพรำะเขำ “รักคนอื่นมำกเกินไป จนลืมรักตนเอง” อย่ำงนั้นหรือ ? หรือในทำงกลับกัน “เขารักตนเองมาก
จนยอมไม่ได้ที่จะสูญเสียคนที่จะทาให้เขามีความสุขจากไป (กับคนอื่น)” ... พิจำรณำดูให้ลึก ๆ แล้ว ควำมรัก
แบบนี้เกิดจำกความเห็นแก่ตัว นั่นคือ เมื่อรักใครแล้วก็อยำกจะผูกมัดให้เขำอยู่กับเรำเพียงคนเดียว ยึดติดว่ำคนรัก
เป็นของเรำ จนสุดท้ำยเมื่อสูญเสียไปก็ทำใจไม่ได้ จนที่สุด “ควำมรัก” ที่ตนคิดว่ำเป็น “รักแท้” นั้นก็แปรเปลี่ยนไปเป็น
“ควำมเกลียด” ดังนั้น ความรักในแบบที่ว่า “เรารักเขาเพราะเขาทาให้เรามีความสุข และพร้อมที่จะเกลียด
เขาเมื่อเขาทาให้เราทุกข์” นั้นคงจะไม่ใช่ “รักแท้” แน่ เพราะคาว่า “แท้” ย่อมไม่แปรเปลี่ยน
ควำมรักที่ “ไม่แท้” หรือ ควำมรักที่ประกอบด้วยควำมเห็นแก่ตัวนั้น ไม่ได้สร้ำงสรรค์ควำมงดงำม ที่
แท้จริงเลย แม้จะมีควำมสุข แต่ก็เป็นควำมสุขที่ไม่ยั่งยืนแปรเปลี่ยนไปตำมอำรมณ์ สุดท้ำยก็ต้องจบลงที่ควำมทุกข์
เพรำะกำรไปยึดมั่นถือมั่นเอำกับควำมรู้สึกของคนอื่นที่มันไม่จริง ไม่ยั่งยืน กอปรกับควำมเห็นแก่ตัว มองที่สุข ทุกข์
ของตนเองเป็นที่ตั้ง เมื่อตนเองทุกข์ขึ้นมำ ก็สรุปว่ำ “ทุกข์จากความรัก” ซึ่งแท้จริงแล้ว “ทุกข์”เกิดจำก “การรักไม่
เป็น” ต่ำงหำก
ความรักในความหมายของพระพุทธศาสนา
1. เมตตาภาวนา : วิถีสู่รักแท้
“...เราทุกคนล้วนมีเมล็ดพันธ์ของความรักอยู่ในตัว เราสามารถพัฒนาพลังอัน
น่าอัศจรรย์นี้ บ่มเพาะความรักที่ไม่มีเงื่อนไข ชนิดที่ไม่ต้องคาดหวังว่าจะได้อะไร
ตอบแทน หากเราเข้าใจใครสักคนดีพอแล้ว ถึงคน ๆ นั้นจะทาร้ายเรา เราก็จะยังคงรัก
คนผู้นั้นอยู่……” (ติช นัท ฮันห์)
พระธรรมปิฎก ได้อธิบำย ควำมหมำยของคำว่ำ “เมตตา” ไว้ว่ำ “เมตตา” คือ ความรัก
ความมีไมตรีจิต ความปรารถนาดี ความอยากให้ผู้อื่นมีความสุข และประสบแต่สิ่งที่เป็นคุณประโยชน์ (พระ
ธรรมปิฎก, 2541: 507) ส่วนคำว่ำ “ภำวนำ” นั้น หมำยถึง กำรทำให้มีขึ้น เป็นขึ้นทำงจิตใจ สำรวมใจ ตั้งควำม
3
ปรำรถนำ ดังนั้นเมื่อกล่ำวรวมกันแล้ว “เมตตาภาวนา” คือ การพัฒนาความรัก ความปรารถนาดี (ทั้งต่อตนเอง
และผู้อื่น) ให้เกิดมีขึ้นในใจ ให้เจริญงอกงามขึ้นในใจ นั่นเอง
แต่ทั้งนี้ในชีวิตจริง มักจะมีกำรเข้ำใจผิดอยู่เสมอ ในควำมแตกต่ำงระหว่ำง “ควำมรัก” ที่เป็น
“เมตตำ” กับ “ควำมรัก” ที่เป็น “อกุศล” ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธ์ต่ำงกันอย่ำงมำก กล่ำวคือ “ความรักที่เป็นอกุศล” นั้น
มักเรียกว่ำ เสน่หา ซึ่งหมำยถึง ความรักใคร่เยื่อใยเฉพาะบุคคล ความพอใจโปรดปรานส่วนตัว เป็นความรัก
ที่เกิดจากตัณหา (มุ่งจะเสพเสวยเวทนำ -: รักเพื่อต้องกำรสร้ำง “สุข” ให้เกิดแก่ตน... แต่ถ้ำผิดหวังก็จะเกิด “ทุกข์”...
ควำมรู้สึก “สุข” “ทุกข์” นี้จะเกิดขึ้นอยู่ร่ำไปตรำบใดที่ยังรักด้วย “ตัณหำ” / และเกี่ยวกับกำรปกป้องตน -:รักพื่อตนเอง
มุ่งประโยชน์และควำมสุขของตนเองเป็นใหญ่) ถือเป็นความรักที่เจือด้วยความเห็นแก่ตัว ทาให้จิตใจคับแคบ
ติดข้อง มัวหมองลง ไร้อิสระ มีความวิตกกังวล หรือตื่นเต้นเร่าร้อน
ส่วน “ความรักที่เกิดจากเมตตา” นั้น เป็ นความรักที่บริสุทธิ์ มีต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์
ทั้งหลายในฐานะที่เป็นเพื่อนร่วมโลก หรือ เพื่อนร่วมทุกข์ ร่วมสังสารวัฏ เป็ นความรักอย่างเป็ นกลาง ๆ
อย่างเผื่อแผ่ ทาให้ใจเปิดกว้างออกไปและผ่องใสเบิกบาน (พระธรรมปิฎก, 2541: 507)
“ผลสาเร็จของเมตตา” คือ “ระงับพยาบาทในจิตใจได้” ส่วน “ความล้มเหลวของเมตตา” คือ
เกิดเสน่หา และยึดมั่นถือมั่นด้วยตัณหา ส่วน ความรักที่เกิดจาก “ตัณหา” ดูได้จำกว่ำ เป็นควำมรักที่ปรำรถนำ
ควำมอยู่ดี หรือควำมสุขแห่งชีวิตของผู้อื่นอย่ำงตรงไปตรงมำ หรือ เป็ นเพียงเงื่อนไขเพื่อได้มาซึ่งความสุขของ
ตนเองเป็นหลัก
แม้ว่ำ เมื่อดูตำมหลักทฤษฎีจะเห็นควำมแตกต่ำงอย่ำงชัดเจนระหว่ำงควำมรักที่เป็น “เมตตำ” ซึ่งถือ
เป็น “รักแท้” ในพระพุทธศำสนำ กับ ควำมรักที่เป็นตัณหำ ซึ่งอำศัย “ควำมอยำก” และ “ควำมเห็นแก่ตัว” เป็นที่ตั้ง
แต่ในทำงปฏิบัติแล้วดูจะแยกกันออกอย่ำงลำบำกเหลือเกิน โดยเฉพำะกับมนุษย์ปุถุชนธรรมดำด้วยแล้ว ซึ่งมีกิเลส
ตัณหำอยู่ ควำมรักที่คุ้นเคยกัน ก็คงไม่พ้น ควำมรักที่อยู่บนพื้นฐำนของควำมอยำก และควำมเห็นแก่ตัว เพียงแต่
มำกน้อยต่ำงกันเท่ำนั้น ตรำบใดที่ยังคงมีควำมรักแบบตัณหำ ซึ่งมิใช่รักแท้อยู่ในจิตใจ ก็คงยำกที่จะหลีกเลี่ยง “ควำม
ทุกข์” ที่เกิดควบคู่ไปกับ “ควำมสุข” ได้ ดังนั้น จึงเป็ นเรื่องจำเป็ นที่เรำควรจะพัฒนำควำมรักของเรำให้เป็ น
“ควำมรักที่แท้” หรือ “เมตตำ” อันเป็ น ควำมรักที่อยู่เหนือเงื่อนไขและตัวตน อีกทั้งจะน้อมนำควำมสุข
สงบ มำสู่ตัวของผู้รัก ผู้ที่ถูกรัก และสรรพสิ่งทั้งปวง อย่ำงแท้จริง
สำหรับผู้ที่เจริญเมตตำเป็นประจำจนเป็นนิสัยย่อมจะได้อำนิสงค์ของกำรเจริญเมตตำ 11 ประกำร
ดังนี้
1. หลับเป็นสุข 2. ตื่นเป็นสุข 3. ไม่ฝันร้ำย
4. มีคนรักมำก 5. พวกอมนุษย์รักใคร่ 6. เทวดำรักษำ
7. ไฟ ยำพิษ และศำสตรำไม่ทำอันตรำย 8. จิตสงบเร็ว
9. ใบหน้ำเปล่งปลั่ง 10. มีสติเวลำตำย 11. ไปเกิดบนพรหมโลก (ชัยวัฒน์, 2545: 82)
จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้น แม้ว่ำ “เมตตำ” ดูจะครอบคลุมในเรื่องของ “ควำมรักที่แท้” ใน
พระพุทธศำสนำอย่ำงชัดแจ้ง แต่กระนั้น ถ้ำพิจำรณำกันในแง่ของควำมหมำยแล้ว...”รักที่แท้” คือ ควำมปรำรถนำที่
ต้องกำรให้ผู้อื่นมีควำมสุข เมตตำ ก็ดูจะไม่สมบูรณ์และไม่ครบถ้วนเท่ำใด ถ้ำปรำศจำก ควำมปรำรถนำที่จะให้ผู้อื่น
4
พ้นทุกข์ และควำมรู้สึกยินดีเมื่อผู้อื่นมีควำมสุข รวมทั้งกำรวำงใจเป็นกลำงด้วยปัญญำ นั่นเอง กล่ำวคือ ความรัก
จะเป็น รักที่แท้ได้ถ้าครบถ้วนด้วยเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา หรือ พรหมวิหาร 4 นั่นเอง ซึ่งจะได้
กล่ำวต่อไป
การเมตตาต่อตนเอง
ในทำงพระพุทธศำสนำนั้น สอนว่ำ ควำมรัก ควรจะเริ่มต้นที่ตนเองก่อน ดัง
พุทธศำสนสุภำษิตที่ว่ำ “ความรักอื่นเสมอด้วยตนไม่มี” (นตฺถิ อตฺตสมเปม) ตราบใดที่
ตัวเรายังไม่สามารถรักและเข้าใจในตัวของตนดีแล้ว ก็คงไม่สามารถรักและเข้าใจ
ผู้อื่นได้เช่นกัน
นั่นคือ ตรำบใดที่ตัวเรำยังมีควำมทุกข์ และ ไม่สำมำรถเข้ำใจถึงควำมเป็นจริงของชีวิตได้
ยังคงมีรัก โลภ โกรธ หลง ยังมีควำมแปรปรวนในจิตใจ ยังมีควำมเห็นแก่ตัวอยู่ จิตใจก็จะวุ่นวำย และไม่มั่นคง สภำพ
จิตใจที่เปลี่ยนแปลง แปรปรวนดังกล่ำว คงไม่มีพลังพอที่จะเอำใจใส่หรือช่วยเหลือผู้อื่นอย่ำงเต็มที่ได้ นั่นคือ ตนนั้นก็
ยังมีควำมบกพร่องอยู่ ดังนั้น วิธีที่ดีที่สุดในการเจริญเมตตาให้สัมฤทธิ์ผลนั้น ควรเริ่มจาก การเจริญเมตตา
แก่ตนเองก่อน เริ่มต้นที่การรู้จักตนเอง การเข้าใจตนเอง การเยียวยาตนเอง และการพึ่งพาตนเอง
กำรรักตนเองอย่ำงถูกต้องนั้น ต้องดูแลตนเองทั้งทำงร่ำงกำย และจิตใจ ทำงร่ำงกำยก็ควรบริโภคแต่สิ่งที่มีประโยชน์
และไม่เป็นโทษต่อร่ำงกำย ส่งเสริมสุขภำพร่ำงกำยให้แข็งแรง ควบคู่ไปกับสุขภำพของจิตใจ โดยกำรสำรวจดูว่ำ ณ
เวลำนี้เรำมีควำมสุข ควำมทุกข์ในเรื่องใด และพยำยำมช่วยตนเองให้พ้นจำกควำมทุกข์นั้น โดยกำรรักษำใจตนเองให้
เป็นอิสระจำกควำมอยำก หรือ ควำมโลภ ควำมโกรธ และควำมหลง ละคลำยควำมยึดมั่นถือมั่นในสิ่งต่ำงๆ อันเป็น
เหตุให้เกิดควำมทุกข์รวมทั้งพัฒนำจิตใจของตนให้มีควำมแช่มชื่น เบิกบำน อย่ำงคนที่รู้เท่ำทันควำมเป็นจริงของชีวิต
สำมำรถมีควำมสุขได้ด้วยตนเอง และเมื่อเราสามารถพึ่งตาตนเองได้แล้วเราก็จะสามารถเป็นที่พึ่งให้คนอื่น
ได้เช่นกัน เพรำะอย่ำงน้อย กำรมีเมตตำต่อผู้อื่นนั้น เกิดจำก “กำรเอำใจเขำมำใส่ใจเรำ” ถ้ำใจของเรำเข้มแข็ง มั่นคง
และเข้ำใจสัจธรรมแล้ว เรำก็สำมำรถเข้ำถึงใจของผู้อื่น และมีศักยภำพเพียงพอที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่นได้อย่ำง
แท้จริง
การเมตตาต่อผู้อื่น
เมื่อผู้ใดเจริญเมตตำต่อตนเองจนเข้ำใจสภำพควำมเป็นจริงของชีวิต ผู้นั้นย่อมบังเกิดควำมเข้ำใจและ
เห็นใจต่อควำมรู้สึกและชีวิตของเพื่อนมนุษย์ ด้วยเช่นกัน เพรำะอย่ำงน้อย เขำก็เข้ำใจว่ำ ถ้าตัวเขารักสุขเกลียด
ทุกข์เช่น ไร ผู้อื่นสัตว์อื่นก็เช่นกัน ย่อมรักชีวิตและต้องการหลุดพ้นจากความทุกข์ทรมานด้วยกันทั้งสิ้น ถึง
พุทธศำสนสุภำษิตที่ว่ำ “สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงย่อมสะดุ้งกลัวต่ออาชญา ชีวิตย่อมเป็ นที่รักของสัตว์ทั้งปวง
บุคคลพึงทาตนให้เป็นเครื่องเปรียบเทียบ แล้วไม่พึงฆ่าเองหรือใช้ให้ใครฆ่า” (ฟื้น, 2542: 7) กล่ำวคือ พระ
พุทธองค์สอนให้ เอาใจเขามาใส่ใจเรา เรำเมตตำต่อตนเองเช่นไร พึงกระทำต่อผู้อื่นเช่นนั้น เพรำะสุดท้ำยแล้ว
ควำมสุข ควำมอิ่มเอิบใจย่อมกลับคืนสู่ผู้ให้ ดังพุทธภำษิตที่ว่ำ “ปราชญ์ผู้ให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข ”
(ธรรมสภำ, 2540: 265)
5
“เมตตำ” มีควำมหมำยเป็นที่เข้ำใจกันว่ำ เป็นเรื่องของ “ควำมรัก” แต่ทั้งนี้กำรที่มนุษย์จะพัฒนำเมตตำ
หรือควำมรัก ให้ถูกวิธีได้นั้น ควรจะทำควำมเข้ำใจ ในเรื่องของ “ควำมรัก” ให้ชัดเจนเสียก่อน อำจสรุปได้ว่ำ ควำมรัก
นั้นมี 2 ประเภท และให้อำนิสงค์หรือส่งผลที่แตกต่ำงกันอย่ำงชัดเจน กล่ำวคือ
1. ความรักแบบมีเงื่อนไข หรือ ควำมรักที่ต้องกำรเงื่อนไขตอบแทนนั่นเอง นั่นคือ เป็นความรักที่
เจือด้วยกิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่น มีราคะ โทสะ โมหะ เป็ นเงื่อนไขของความรักดังกล่าว เป็น
ควำมรักที่เป็นไปเพื่อเสพเวทนำ หรือ รักเพื่อให้เกิดความสุขเป็นที่ตั้ง เมื่อรักแล้วต้องเกิดควำมสุข ควำมพอใจ คลั่ง
ไคล้ ตื่นเต้น วูบวำบ แต่เมื่อผิดหวังย่อมเกิดความทุกข์ได้ในทันที ไม่ว่ำจะเป็นทุกข์จำกกำรพลัดพรำก สูญเสีย
หรือแปรเปลี่ยน ทุกข์จำกควำมเบื่อหน่ำย ฝืนทน เหงำเศร้ำ เป็นต้น และ ความรักแบบมีเงื่อนไขนั้น ย่อมเป็นไป
เพื่อ “ตนเอง” ด้วยประการทั้งปวง แต่อำจจะต่ำงรูปแบบ กล่ำวคือ เมื่อมีควำมรักแล้ว “ความมีตัวตน” หรือ
“อัตตา” จะเกิดขึ้นทันที ควำมรักที่เห็นแก่ตัวนั้นจะผูกขำดไปว่ำ คนรัก หรือสิ่งที่รัก เป็นของ ๆ ตนเกิด “ตัวกู” “ของกู”
เมื่อผิดหวังก็จะเกิดทุกข์ ยอมรับกำรจำกไปหรือกำรสูญเสียไม่ได้ ร่ำไรรำพันว่ำ เพรำะรักจึงไม่สำมำรถตัดใจได้ เมื่อ
พิจำรณำอย่ำงเป็นธรรม จะพบว่ำแท้จริงแล้ว ........ผู้ที่มีความรักประกอบด้วยเงื่อนไขดังกล่าว ถือเป็นผู้ที่รัก
ตัวเองมากกว่าผู้อื่น แม้ว่ำ เขำจะเศร้ำโศกจนกระทั้งฆ่ำตัวตำยเพรำะผิดหวัง นั่นก็พอสรุปได้ว่ำ .....เขายอมหรือทา
ใจไม่ได้ที่จะสูญเสียคนรัก ผู้ซึ่งทาให้เขามีความสุข กล่ำวคือ มองที่ควำมสุขของตนเองมำกกว่ำควำมสุขของคนรัก
เพรำะถ้ำกำรที่คนรักของเขำเลือกที่จะจำกไปกับคนอื่น นั่นแสดงว่ำเขำเลือกทำงที่ดีกว่ำ มีควำมสุขกว่ำ ถ้าเรารักคน
รักของเราจริง เราก็ควรที่จะยินดีด้วยที่เห็นเขามีความสุข มิใช่เสียใจจนกระทั่งทาร้ายตนเองและผู้อื่น
เพราะนั่นเท่ากับว่าถือความสุขของตนเป็นตัวตัดสินการกระทาทั้งปวง
ควำมรักแบบมีเงื่อนไข นั้น เป็นควำมรักที่ประกอบด้วยกามคุณ 5 กล่ำวคือ กำรยึดติดพึงพอใจกับกำร
สัมผัส รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส เช่น เมื่อเห็นผู้หญิงสวย ก็รักใคร่หลงใหลจนลืมภรรยำที่บ้ำน เป็นต้น และเมื่อเกิด
ควำมพึงพอใจแล้วก็เอำตัวไปผูกติดยึดมั่นถือมั่น เป็นเจ้ำของด้วยตัณหำ กล่ำวคือ เกิดควำมอยำก อยำกได้ – อยำก
มี - อยำกเป็น พัฒนำเป็นกิเลส คือ รักด้วยควำมใคร่ เมื่อไม่ถูกใจก็โกรธ อำฆำตแค้น พยำบำท และเมื่อพอใจ ก็
หลงใหล มืดบอดจนไม่รู้ผิดชอบชั่วดี
พุทธศำสนำถือว่ำ ควำมรักที่เกิดจำกกำมคุณทั้ง 5 เป็นเสมือน ตะปูตรึงใจ ทำให้เกิดควำมสุขแบบ
“กามสุข” ซึ่งเป็นควำมสุขที่เจือด้วยควำมทุกข์ คือ ยังไม่ปลอดภัยแท้จริง เต็มไปด้วยภัยอันตรำย มีเรื่องมำก มีปัญหำ
มำก กล่ำวคือ มีทุกข์มำก และมีควำมสุขน้อย(วศิน, 2546: 14-16) ความรักด้วยตัณหา หรือ ความยึดมั่นถือมั่น
นี้ มิใช่ความรักที่เกิดจากความเข้าใจ ซึ่งเป็นวิถีสู่รักแท้ แต่เป็นความรักที่เกิดจากความเอาแต่ใจ อันเป็น
วิถีแห่งทุกข์
แม่ชีศันสนีย์ ท่ำนได้กล่ำวไว้ว่า “กำรยึดติดเป็ นเหตุแห่งทุกข์ ถ้ำเรำรักอย่ำงยึดติด กำรยึดติดจะ
นำมำซึ่งควำมทุกข์ ควำมรักไม่ได้ทำให้เรำทุกข์ แต่กำรยึดติดต่ำงหำกที่ทำให้เรำทุกข์” ซึ่งสอดคล้องกับ
พุทธวจนะที่ว่ำ “สิ่งใดที่เข้าไปยึดมั่น ถือมั่นอยู่จะพึงหาโทษมิได้ สิ่งนั้นไม่มีในโลก ” (แม่ชีศันสนีย์, 2546: 200)
ดังนั้นเมื่อ ควำมรักแบบมีเงื่อนไขนี้เป็นต้นเหตุแห่งควำมทุกข์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่นเช่นนี้แล้ว เรำจึงควร
ทำลำยเงื่อนไขดังกล่ำว (กิเลส ตัณหำ อุปำทำน กำมคุณ) และพัฒนำควำมรักของตนให้เป็น “ควำมรักที่ไม่มี
เงื่อนไข” โดยอำศัย สติ ปัญญำ และเหตุผล เป็นตัวนำ เพื่อจะได้ “ รักให้เป็น” อย่ำง “ไม่เป็นทุกข์”
6
ความรักแบบไม่มีเงื่อนไข
ความรักแบบไม่มีเงื่อนไข นั้น หมำยถึง ความรักและหวังดีกับผู้อื่นด้วยความบริสุทธิ์
ใจ ไม่ต้องการสิ่งใดตอบแทนเพื่อตนเอง หรือถ้ำเทียบกับคำสอนทำงพระพุทธศำสนำ ก็
คือ การเจริญพรหมวิหาร 4 หรือ การพัฒนา เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา
ให้มีขึ้นในจิต และเผื่อแผ่ ความรักที่แท้ ดังกล่าวไปสู่เพื่อนมนุษย์ สรรพสัตว์ และ
สิ่งทั้งปวงอย่างกว้างขวาง
2.1 การก่อกาเนิดแห่งความรักที่ไม่มีเงื่อนไข
ท่ำนติช นัท ฮันห์ กล่ำวไว้ว่ำ “เราทุกคนล้วนมีเมล็ดพันธุ์ของความรักอยู่ในตัว เรา
สามารถพัฒนาพลังอันน่าอัศจรรย์นี้ บ่มเพาะความรักที่ไม่มีเงื่อนไข ชนิดที่ไม่ต้องคาดหวังว่าจะได้อะไร
ตอบแทน หากเราเข้าใจใครสักคนดีพอแล้วถึงคน ๆ นั้นจะทาร้ายเรา เราก็จะยังคงรักคนผู้นั้นอยู่...” (ติช
นัท ฮันห์, 2542: 6) กล่ำวคือ ความรักแบบไม่มีเงื่อนไขนั้น คือ ความรักที่หลุดพ้นจาก กามคุณ กิเลส ตัณหา
และอุปาทาน เป็นควำมรักที่ไม่ขึ้นอยู่กับควำมน่ำรักของคนอื่น หรือควำมพึงพอใจของเรำ เป็นควำมรักที่ไม่ขึ้นอยู่
กับอำรมณ์ ควำมรู้สึกของเรำ เป็นควำมรักที่ไม่ขึ้นอยู่กับควำมต้องกำรของเรำ (ตัณหำ) และเป็นควำมรักที่ไม่ขึ้นอยู่
กับผลประโยชน์ใด ๆ ของเรำ นั่นคือ ความรักที่ไม่มีเงื่อนไขจะทาให้เรามีพลังที่จะรักได้อย่างมีเมตตากรุณา
ไม่เลือกปฏิบัติ คือ ความรักของเราไม่ได้ขึ้นอยู่กับความน่ารัก ความดี ความไม่ดี ของคนอื่น แต่มันขึ้นอยู่
กับเมตตาและปัญญาของเราต่างหาก
ในยำมที่เรำอยำกให้สรรพสัตว์ทั้งหลำยมีควำมสุขนั้น ควำมมุ่งมำดปรำรถนำที่จะรัก ก็ได้ก่อ
เกิดขึ้นภำยในตัวเรำ จนปรำกฏออกมำในรูปของกำรกระทำ คำพูด และควำมรู้สึกนึกคิดต่ำง ๆ สภำวะดังกล่ำวเกิด
จำก ความรัก หรือ ความเมตตา เป็ นรากฐานอันจะเป็ นพลังขับเคลื่อนในการกระทา และคาพูดของเรา
การกระทาล้วนเป็นผลผลิตของเจตนา ดังนั้น เมื่อจิตใจหรือเจตนาของเราถูกห่อหุ้มอยู่ด้วยความรัก ความ
เมตตา คาพูดและการกระทาของเราก็จะท่วมท้นไปด้วยความรัก ความเมตตา เช่นเดียวกัน กล่ำวคือ เรำ
จะพูดจำด้วยถ้อยคำที่สร้ำงสรรค์ เปี่ยมเมตตำ และกระทำในสิ่งที่ซึ่งจะนำมำซึ่งควำมสุข ช่วยปลดเปลื้องควำมทุกข์
เท่ำนั้น (ติช นัท ฮันห์, 2542: 17-18) ดังนั้น กำรจะกล่ำวว่ำ ควำมรัก ควำมเมตตำ กรุณำ มุทิตำ อุเบกขำ เป็นเพียง
แค่ควำมมุ่งมำดในใจนั้น จึงเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เราไม่ได้ฝึ กพรหมวิหาร 4 ให้เกิดขึ้นแค่ในใจเท่านั้น หากแต่
จะต้องชักนามาสู่โลกจริง ๆ ด้วยวาจาและการกระทา
2.2 ลักษณะของความรักที่ไม่มีเงื่อนไข
ความรักที่ไม่มีเงื่อนไขนั้น หมายถึง ความรักที่ปราศจากเงื่อนไข ที่เป็นอกุศลทั้งปวง นั่นคือ
เป็นความรักที่เป็นอิสระจาก กามคุณ กิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่น เป็นอิสระจาก “ตัวตน” ไม่มี ตัวกู ของกู
ไม่มีตัวเขา ตัวเรา เป็นอิสระจากความคาดหวัง เป็นอิสระจากผลประโยชน์ เป็นอิสระจากความเห็นแก่ตัว เป็น
อิสระจากการเบียดเบียน และสุดท้ายเป็นอิสระจากความทุกข์
ความรักที่ไม่มีเงื่อนไขนั้น อาจเรียกได้ว่า เป็น “รักแท้” เป็นรักที่เสียสละ เป็นความรัก
ที่ “อยากให้ มากกว่า อยากเอา” เป็นความรักที่ไม่ทุกข์เพราะรัก และมีความสุขที่ได้รักและช่วยเหลือผู้อื่น
7
ควำมรักที่ไม่มีเงื่อนไขนั้น เป็นเรื่องของกำรพัฒนำเมตตำและปัญญำที่ได้มำจำกผลแห่งกำร
ปฏิบัติ (รู้และเข้ำใจควำมจริง) ที่มีกำรฝึกฝนที่จะระลึกรู้เท่ำทันในปัจจุบันขณะ ว่ำจะไม่ข่มเหงตนเอง และไม่หยำบ
คำยต่อผู้อื่น ซึ่งจะเป็นพลังที่น้อมนำควำมสงบและชื่นบำนในขณะแห่งรัก.........ควำมรักที่มำจำกควำมคิดที่เห็นแก่ตัว
จะนำมำซึ่งควำมอึดอัดคับข้อง แล้วควำมรักก็จะจืดจำงเพรำะมันไม่เป็นอย่ำงใจ ถ้ำเรำต้องกำรควำมรักแค่เพียง
ให้ทุกอย่ำงเป็นอย่ำงใจ ควำมรักของเรำจะตื้นเขิน....ความรักที่แท้จะลึกซึ้ง นามาซึ่งความเข้าใจที่จะให้อภัยและ
พร้อมที่จะงอกงามต่อไปใม่หยุดยั้ง และความงอกงามนี้จะแผ่คลุมออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ไม่มีประมาณ
เพราะเรารู้และเข้าใจดีว่า สรรพชีวิตทั้งหลายเป็ นเพื่อนร่วมทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เหมือนกัน และเป็ น
เพื่อนกันทางจิตใจ คือ สุข ทุกข์ เหมือนกัน เราจึงไม่เลือกปฏิบัติ ไม่เลือกที่จะรักเฉพำะกับคนที่ดีกับเรำ
แม้แต่คนที่ไม่ดี ไม่น่ำรัก เรำก็จะทำควำมเข้ำใจ และพร้อมที่จะรักและให้อภัยได้อย่ำงง่ำยดำย เพรำะจิตที่ฝึกเมตตำ
ภำวนำดีแล้ว จะทำให้ผู้ปฏิบัติมีควำมสงบที่ได้รัก ควำมรักที่ยึดติด ตื่นเต้น หวือหวำ จะเป็นควำมเหน็ดเหนื่อย แต่
ควำมรักที่มีพลังของจิตที่สงบเย็น จะหล่อเลี้ยงชีวิตของเรำให้เบิกบำนและมีควำมสุขที่ได้รักอย่ำงแท้จริง
2.3 องค์ประกอบแห่งความรักที่ไม่มีเงื่อนไข หรือ รักแท้
องค์ประกอบแห่งควำมรักที่แท้หรือควำมรัก ที่เป็นกุศล ในเพระพุทธศำสนำนั้น ได้แก่
หลักธรรมที่เรียกว่ำ “พรหมวิหาร 4” ซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ประกำร ด้วยกันคือ
1. เมตตา ได้แก่ การมีไมตรี หรือ ความตั้งใจ และความปรารถนาที่จะให้ผู้อื่นเบิก
บาน เป็นสุข ในกำรเสริมสร้ำงควำมเมตตำนั้น เรำจะต้องเริ่มจำกกำรฝึกเฝ้ำดูและกำรฟังอย่ำงตั้งใจ จำกนั้นจึงทำ
ควำมเข้ำใจผู้อื่น โดยใช้วิธี “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” เพื่อที่จะได้รู้ว่ำ อะไรที่ควรทำและไม่ควรทำเพื่อให้ผู้อื่นมี
ควำมสุข ควำมรักที่ขำดควำมเข้ำใจนั้นไม่ใช่รักแท้ เรำจะต้องมองลึกลงไปให้เห็นและเข้ำใจถึงควำมต้องกำร ควำม
ปรำรถนำ ตลอดจนควำมสุข หรือควำมทุกข์ทรมำนของคนที่เรำรัก เพื่อที่จะได้หำทำงช่วยเหลือตำมกำลัง
ควำมสำมำรถ ทั้งนี้เมตตำจะต้องปรำศจำกผลประโยชน์ หรือควำมเห็นแก่ตัวใด ๆ ทั้งสิ้น แต่เป็นควำมปรำรถนำดี
และมิตรภำพที่บริสุทธิ์และจริงใจ มิได้ต้องกำรสิ่งตอบแทน หรือหวังผลใดๆ
2. กรุณา หรือ ความตั้งใจและปรารถนาอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ เศร้าเสียใจน้อยลง แต่
เรำก็ไม่จำเป็นต้องทนทุกข์เพื่อช่วยขจัดทุกข์ไปจำกผู้อื่น ควำมกรุณำนั้นเปี่ยมไปด้วยควำมห่วงใยอย่ำงจริงใจ เพียงแค่
ควำมคิด กำรกระทำ หรือคำพูดแสดงควำมเห็นใจ ย่อมสำมำรถช่วยบรรเทำควำมทุกข์ สร้ำงควำมเบิกบำนให้แก่ผู้อื่น
ได้ คำพูดเพียงคำเดียวอำจสำมำรถสร้ำงควำมเชื่อมั่น ปลอบประโลมใจ เพียงหนึ่งกำรกระทำอำจสำมำรถช่วยชีวิต
คนได้ เพียงหนึ่งควำมคิดที่กรุณำ สำมำรถก่อให้เกิดควำมช่วยเหลือ เกื้อกูลกันและกันได้ ถ้ำหัวใจของมนุษย์มีควำม
กรุณำ ทุก ๆ ควำมคิด คำพูด และกำรกระทำย่อมสำมำรถก่อให้เกิดปำฏิหำริย์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่นได้
3. มุทิตา คือ ความยินดีเบิกบานอย่างจริงใจเมื่อเห็นผู้อื่นรวมทั้งตัวเรามีความสุข
กล่ำวคือ เป็นควำมยินดีเบิกบำนที่แบ่งปันซึ่งกันและกันอย่ำงไม่เห็นแก่ตัว เป็นควำมยินดี เบิกบำนที่เจือไปด้วย
ควำมสงบ และควำมพอเพียง เรำชื่นบำนเมื่อได้เห็นผู้อื่นมีควำมสุข ขณะเดียวกันตัวเรำก็ชื่นบำนไปกับควำมสุขของ
ตัวเองด้วย
4. อุเบกขา หมำยถึง การไม่ยินดียินร้าย วางใจเป็ นกลาง ไม่ยึดมั่นถือมั่น นั่นคือ
สำมำรถรักทุกคนได้อย่ำงเท่ำเทียม ไม่มีกำรแบ่งแยกระหว่ำงคนนั้น คนนี้หรือระหว่ำงตัวเองกับคนอื่น ผู้ปฏิบัติต้อง
8
หลอมตัวเองให้กลำยเป็นหนึ่งเดียวกับผู้อื่น เพื่อกำจัดอคติ กำรเปรียบเทียบและควำมไม่เท่ำเทียมทั้งหลำย จน
สำมำรถรักได้อย่ำงกว้ำงขวำง ทั่วถึงและไม่มีเงื่อนไข
ดังนั้น ควำมรักที่แท้จริง ต้องเป็นควำมรักที่สร้ำงสรรค์ และปรำศจำกทุกข์ นั่นคือ กำรดำเนิน
ตำมหลักของพรหมวิหำร 4 หรือ องค์ประกอบแห่งรักแท้ 4 ประกำรนั่นเอง
…….. กำรที่จะจัดกำรแก้ไข หรือดับควำมทุกข์ที่เกิดจำกควำมรักนั้น กระทำได้
โดยกำรเจริญควำมรักของตน ให้เป็นควำมรักแบบไม่มีเงื่อนไข ซึ่งเป็นควำมรักที่ไม่
เห็นแก่ตัวและไม่ก่อให้เกิดทุกข์ใด ๆ ควำมรักนั้นไม่ได้ทำให้ทุกข์ แต่ควำมยึดติด
ต่ำงหำกที่ทำให้เรำทุกข์ จงอย่ำกลัวที่จะรัก แต่ควรฝึกพัฒนำควำมรักด้วยปัญญำ
เมื่อคนรักจำกไปกับคนอื่น แน่นอนว่ำอำจจะทำใจให้ยอมรับได้ยำกและต้องใช้เวลำ แต่ให้คิด
เสียว่ำ “รักแท้คือ ความรู้สึกเป็นสุขที่ได้รัก การที่เรารักใครสักคน นั่นคือ การที่เราต้องการให้เขามีความสุข
แม้ว่าความสุขนั้น จะหมายความถึงความสุขที่เรามิได้เป็นส่วนหนึ่งของมันก็ตาม” (นวพันธ์, 2545: 144) เมื่อ
คิดได้เช่นนี้เสียแล้วเรำเองจะรู้สึกสงบลง เมื่อคนที่เรำรักและเคยดีกับเรำ เขำไปมีควำมสุข เรำก็ควรจะยินดีด้วย เพรำะ
อย่ำงน้อยเรำก็หมดกังวล หมดห่วง แต่ถ้าเรารู้ว่าเขาไปมีความสุข แต่เรายังอยากจะให้เขากลับคืนมา นั่น
แสดงว่าแท้จริงแล้วเรารักตัวเองมากกว่า เราไม่ต้องการสูญเสียของที่คิดว่าเป็นของตนไป...นั่นมิใช่รักแท้
เพราะเจือด้วยความเห็นแก่ตัว
การรักด้วยปัญญานั้น คือ การมีการจัดการที่ดีกับความรัก จัดการในเหตุกล่าวคือ ทา
เหตุแห่งรักให้ไม่ประมาท มีความสุขที่ได้รักและปล่อยวางความยึดมั่นในสิ่งที่รัก .......มองสิ่งที่รักด้วย
ปัญญา เข้าใจว่าสิ่งทั้งหลายในโลกนี้อยู่ภายใต้กฎของธรรมชาติที่เกิดขึ้นแล้วเปลี่ยนแปลง ไม่มีสิ่งใดไม่
เปลี่ยนแปลง เมื่อเราเข้าใจในกฎของกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง เราก็จะเข้าใจและไม่เข้าไปครอบครอง
เป็ นเจ้าของ........การฝึ กที่จะเข้าใจสิ่งที่เรารักตามสภาพความเป็ นจริงนั้น จะช่วยพัฒนาความรักที่ไม่มี
เงื่อนไขให้เกิดขึ้นแก่จิตใจเรา
…………ความรักนี้เองที่จะช่วยเยียวยาความทุกข์ของเรา ให้แปรเปลี่ยน กลายมาเป็นความเมตตา กรุณา
ทั้งต่อตัวเราเองและคนที่เรารัก......... “ความเข้าใจ” จะช่วยแปรเปลี่ยนความทุกข์ ให้กลายมาเป็นความเบิก
บานและสงบเย็นในจิตใจ และเป็นต้นทางในการเผื่อแผ่ความสุขนี้แก่ผู้อื่นต่อไป
เมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ สรรพสัตว์และสิ่งแวดล้อม
1. การเจริญเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์
หลังจำกที่ผู้ฝึกปฏิบัติเมตตำภำวนำ สำมำรถรู้จักและเข้ำใจในควำมรักที่แท้จริง หรือรักที่
ไม่มีเงื่อนไขแล้ว รวมทั้งได้ลองฝึกปฏิบัติเมตตำภำวนำต่อตนเอง จนกระทั่งรู้จักรักและดูแลตนเองอย่ำงถูกต้องแล้วนั้น
ในขั้นตอนต่อไป จะเป็นกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงควำมรัก ควำมเมตตำ ดังกล่ำวสู่เพื่อนมนุษย์ผู้ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมทุกข์
กับเรำ และยังคงต้องกำรควำมรัก และกำลังใจอีกมำกนัก
9
เมื่อเราสามารถพัฒนาเมตตา จนอยู่ในระดับที่สามารถสัมผัสได้ถึงความทุกข์ของ
เพื่อนมนุษย์แล้วละก็ ขอจงพัฒนาความกรุณาเพื่อช่วยเหลือพวกเขาตามกาลังความสามารถ เท่ากับว่าเป็น
การใช้พลังแห่งความรัก ความเข้าใจไปในทางสร้างสรรค์จนบังเกิดสิ่งที่ดีงามขึ้นในสังคม มุ่งมั่นที่จะ
เปลี่ยนแปลงพลังแห่งเมตตาซึ่งเป็นความรู้สึกให้ปรากฏเป็นรูปธรรม อันจะน้อมนาความสุขความเจริญมา
ให้แก่ผู้อื่น สุดท้ายแล้ว ความสุขใจที่มากกว่าจะคืนกลับสู่ตัวผู้ให้อย่างแน่นนอนทีเดียว
1.1 กุศโลบายเพื่อเจริญเมตตาภาวนา
กำรเจริญเมตตำภำวนำหรือกำรพัฒนำ “ควำมรัก” “ควำมเมตตำ” ให้มีขึ้นในจิตใจนั้น
มิใช่สิ่งที่ทำได้ง่ำย หรือเกิดขึ้นได้เอง หำกแต่เป็นเรื่องที่จะต้อง ฝึกฝนโดยปลุกมโนธรรม
ให้เกิดขึ้นในจิตใจได้เสียก่อน นอกจำกวิธีพิจำรณำเพื่อสร้ำงควำมเมตตำในเบื้องต้นใน
หัวข้อก่อน ๆ แล้ว ในหัวข้อนี้จะนำเสนอวิธีคิดเพื่อเสริมสร้ำงควำมเมตตำตำมแนวทำง
ของพระพุทธศำสนำให้เกิดขึ้น ดังต่อไปนี้
ก. “ทุกสรรพชีวิตไม่ว่ำจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เมื่อเกิดมำแล้ว ล้วนแต่ต้องเผชิญกับ
ควำมทุกข์ ทั้งควำมทุกข์กำย และทุกข์ใจ ด้วยกันทั้งสิ้น” ดังนั้นเมื่อทุกสรรพชีวิตล้วนอยู่บนกองทุกข์ด้วยกัน
ทั้งนั้น เรำก็ไม่ควรที่จะไปเพิ่มควำมทุกข์ ให้แก่ทั้งตนเองและผู้อื่นเพิ่มขึ้นอีก แต่ควรที่จะเห็นอกเห็นใจและช่วยกันผ่อน
คลำยควำมทุกข์แก่กันและกัน หรืออย่ำงน้อยเรำก็ไม่ควรไปสร้ำงทุกข์ซ้ำเติมหรือเพิ่มขึ้นให้ใคร อีกประกำรหนึ่ง ทุก
สรรพสิ่งทั้งปวงล้วนรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น กลัวภัยอันตรำยเหมือนกันหมด ดังนั้น ผู้ที่มีเมตตำจึงไม่ควรไป
เบียดเบียนหรือเพิ่มทุกข์ให้แก่ตนเองและผู้อื่นอีก ควรเอาใจเขามาใส่ใจเรา เรารักสุขเกลียดทุกข์ฉันใด ผู้อื่นก็เช่นกัน
ข. “ทุกคนไม่มีใครดีครบทุกอย่ำง มีส่วนที่ดีบ้ำง ส่วนที่ชั่วบ้ำงปะปนกันไปเป็ น
ธรรมดำ ดังนั้น มนุษย์จึงควรให้อภัยกัน” อย่ำไปคอยมองหรือจับผิดส่วนที่ไม่ดีของผู้อื่น เพรำะเป็นสำเหตุให้เกิด
ควำมเกลียดชัง แตกแยกและทำให้จิตใจของเรำขุ่นมัว ดังเช่นที่ท่ำนพุทธทำสภิกขุ ได้กล่ำวไว้ว่ำ
“เขามีส่วนเลวบ้างช่างหัวเขา จงเลือกเอาส่วนที่ดีเขามีอยู่
เป็นประโยชน์ต่อโลกบ้างยังน่าดู ส่วนที่ชั่วอย่าไปรู้ของเขาเลย
จะหาคนมีดีโดยส่วนเดียว อย่ามัวเที่ยวค้นหาสหายเอ๋ย
เหมือนเที่ยวหาหนวดเต่าตายเปล่าเอย ฝึกให้เคยมองแต่ดีมีคุณจริง” (ฟื้น,2542:298-299)
ค. “ตำมควำมเชื่อทำงพระพุทธศำสนำนั้น มนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งปวงเคยเกี่ยวข้อง
กัน” เป็นญำติพี่น้องกัน แต่ละคนเกิดมำแล้วหลำยภพหลำยชำติ ดังนั้นชีวิตจึงมิได้เริ่มต้น ที่ท้องมำรดำในชำตินี้แต่
ชีวิตได้มีมำนำนแล้ว และชีวิตก็ไม่ได้สิ้นสุดที่หลุมศพ แต่ชีวิตจะมีต่อไปเรื่อย ๆ ตำมวิบำกกรรมและสังสำรวัฏ....กำรที่
แต่ละคนเคยเกิดมำนับชำติไม่ถ้วนนั้น จึงเป็นธรรมดำที่จะต้องเกี่ยวข้องกัน เคยเป็นบิดำมำรดำบ้ำง เคยเป็นบุตรธิดำ
บ้ำง เคยเป็นคู่ครอง พี่น้อง เพื่อนพ้อง กันบ้ำง ดังที่พระพุทธเจ้ำตรัสว่ำ “...ตลอดกำลนำนนี้ผู้ที่ไม่เคยเป็นมำรดำ ไม่
เคยเป็นบิดำ ไม่เคยเป็นพี่ชำย น้องชำย...ไม่เคยเป็นบุตรธิดำ มิใช่หำได้ง่ำยเลย” (ฟื้น,2542:299-300)
10
ดังนั้นในเมื่อทุกสรรพชีวิตอำจจะเคยผูกพันเกี่ยวข้องกันมำ จึงไม่ควรกระทำกำรเบียดเบียนทำ
ร้ำยกัน คนที่เรำทำร้ำยเพรำะคิดว่ำเป็นศัตรูในชำตินี้ที่แท้อำจจะเคยเป็นบิดำมำรดำของเรำในอดีตชำติก็ได้ ดังนั้นเมื่อ
ควำมจริงเป็นเช่นนี้จึงควรมีเมตตำเป็นพื้นฐำนในกำรอยู่ร่วมกันในสังคมจะเป็นทำงออกที่ดีที่สุด
ง. “กำรหลอมรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับสิ่งที่ทำกำรเพ่งพิจำรณำ” กล่ำวคือ กำรที่
เรำจะทำควำมเข้ำใจต่อใครนั้น เรำจำเป็นต้องหลอมรวมให้ตัวเองเป็นหนึ่งเดียวกับผู้นั้น โดยกำรสมมุติว่ำเรำเป็นคน
ๆ นั้น พร้อมทั้งทำกำรสำรวจ ทำควำมเข้ำใจถึงธำตุแท้ หรือรำกเหง้ำของนิสัยใจคอ อำรมณ์ ควำมรู้สึกของเขำ ไม่
ว่ำจะเป็น ควำมทุกข์ ควำมโกรธ ควำมเจ็บปวด ควำมท้อแท้ทุก ๆ อย่ำง รวมทั้งพิจำรณำถึงสภำพกำรณ์แวดล้อมทุก
ๆ อย่ำงของคนผู้นั้น ควำมกดดัน ควำมยำกลำบำก ควำมเคร่งเครียด กำรดิ้นรนต่อสู้ ฯลฯ เมื่อเราเข้าใจได้ถึง
สาเหตุแห่งความทุกข์ และสภาพจิตใจที่ทรมานของเขาแล้ว ความรักก็จะงอกเงยในตัวของเรา ทาให้
อยากที่จะช่วยเหลือผู้นั้น........ ความเข้าใจถือเป็นกุญแจดอกสาคัญ (ติช นัท ฮันห์, 2542: 56)
ในกรณีที่ตัวของเรำถูกเบียดเบียน จำเป็นที่จะต้องอำศัยสติและปัญญำในกำรที่จะสำรวจดูควำม
เจ็บปวดของผู้ทำร้ำยตน จนเห็นต้นตอของกำรกระทำที่เลวร้ำยเหล่ำนั้น และเห็นผู้ที่ทำร้ำยตนเป็นดั่งนักโทษ ที่ถูก
ควำมโลภ โกรธ หลง กัดกร่อน จิตใจ แล้วหัวใจของเรำก็จะเปิดกว้ำง ทำให้ควำมกลัวและควำมเกลียดชัง ค่อย ๆ
มลำยไป
จ. “กำรรู้สึกกตัญญูต่อเพื่อนมนุษย์ในภำวะที่อิงอำศัยกัน”
คือ กำรพัฒนำควำมรู้สึกกตัญญูกตเวทีต่อเพื่อนมนุษย์ โดยพิจำรณำจำกภำวะที่อิงอำศัยหรือพึ่งพิงกัน กล่ำวคือ
ตระหนักว่ำ มนุษย์ทุก ๆ คน ล้วนมีบุญคุณต่อกันและกันในฐานะที่มีส่วนในการเป็นปัจจัยแก่กันและกัน เช่น
นักศึกษำมหำวิทยำลัยของรัฐควรที่จะมีเมตตำ อ่อนน้อมถ่อมตน และไม่ดูถูกผู้อื่น ไม่ว่ำจะเป็นคนจน คนรวย หรือใคร
ก็ตำม เพรำะนักศึกษำต้องตระหนักว่ำ กำรที่พวกเรำได้ศึกษำในมหำวิทยำลัยที่ใหญ่โตและทันสมัย พร้อมสรรพ
ด้วยอุปกรณ์กำรศึกษำครบถ้วน ในค่ำเทอมที่ถูกกว่ำเอกชนนั้น ส่วนหนึ่งเป็นเพรำะเงินบำรุงจำกภำษีของประชำชน
เป็นจำนวนมำก ดังนั้น นอกจำกนักศึกษำจะต้องไม่ดูถูก เหยียดหยำมใคร ๆ หรือยกตนข่มท่ำน แล้วยังต้องมีควำม
กตัญญู และใส่ใจที่จะตอบแทนสิ่งที่ดี ๆ คืนสู่สังคมด้วย หรือ นำยจ้ำงก็ควรจะเมตตำต่อลูกจ้ำงและตระหนักถึง
ควำมสำคัญของลูกจ้ำง ที่มีส่วนสำคัญที่ทำให้นำยจ้ำงร่ำรวยขึ้นมำได้ เป็นต้น ในเรื่องการเจริญเมตตาภาวนาด้วย
การพัฒนาความกตัญญูนั้น นอกจากจะกระทาต่อเพื่อนมนุษย์แล้วยังสามารถพัฒนา ความกตัญญูดังกล่าว
ต่อสรรพสัตว์และสิ่งแวดล้อมทั้งปวง ภายใต้ภาวะที่อาศัยกันได้อีกด้วย
1.2 ลาดับชั้นในการเจริญเมตตา
ในกำรเจริญเมตตำภำวนำจะต้องฝึกไปตำมลำดับขั้นตอนเพื่อให้เกิด
ประสิทธิภำพสูงสุดกล่ำวคือ
1. แผ่เมตตำให้แก่ตนเองก่อนเป็ นเบื้องต้น เพรำะตนเองย่อมเป็นที่ตั้งแห่งควำมสุขควำม
เจริญทั้งปวง เช่น ภำวนำให้ตัวเรำมีควำมสุข ปรำศจำกทุกข์ทั้งปวง ขอให้เข้ำใจสัจธรรม และเรียนรู้ที่จะมีชีวิตที่ไม่มี
ทุกข์อีกเลย รวมทั้ง ควรทะนุบำรุงร่ำงกำยตนเอง ละเว้นนำสิ่งที่เป็นโทษมำสู่ร่ำงกำย เป็นต้น
11
2. แผ่เมตตำแก่คนที่เรำรัก กำรเริ่มต้นแผ่เมตตำให้กับคนที่เรำรักก่อนนั้นเป็นกำรง่ำยที่จะมอบ
จิตที่เปี่ยมรักของเรำไปให้ เมื่อเรำเริ่มต้นปฏิบัติจำกคนที่เรำรักก็จะสำมำรถเอำชนะเวทนำ หรือควำมรู้สึกที่รุนแรงได้
กล่ำวคือ สำมำรถระงับควำมโกรธ ควำมเกลียดและให้อภัยได้โดยง่ำย เนื่องจำกมีควำมชอบพอผูกพันกันเป็นทุนเดิม
อยู่แล้วจำกนั้นก็แปรเปลี่ยนจิตที่อกุศล นั้นเป็นกำรให้อภัย และเผื่อแผ่ ควำมเมตตำ กรุณำ มุทิตำ และอุเบกขำ
ออกไปได้โดยง่ำย
3. แผ่เมตตำแก่คนที่เรำไม่รัก ไม่ชัง หรือรู้สึกเฉยๆ ซึ่งถือว่ำไม่ใช่เรื่องง่ำย แต่สำมำรถทำให้
เกิดขึ้นได้ด้วยกุศโลบำยทั้ง 5 ข้อที่กล่ำวมำก่อนหน้ำที่ คนที่เรำรู้สึกเฉย ๆ นั้นสำมำรถเป็นตัวแทนของคนอื่นอีกนับ
ล้ำน ๆ ทั้งที่รู้จัก และไม่รู้จัก เช่น ในสภำวะแห่งควำมขัดแย้งนี้เรำต้องกำรแผ่เมตตำไปให้ชำวบ้ำน 3 จังหวัดชำยแดน
ภำคใต้ของประเทศไทย ก็ให้นึกถึงชำวบ้ำนชำยหรือหญิงที่นั่นสักคนที่กำลังเจ็บปวดและทุกข์ทรมำนจำกกำรก่อกำร
ร้ำย จำกนั้นจึงสำรวจ รูป เวทนำ สัญญำ สังขำร และวิญญำณ ของชำวบ้ำนผู้นั้น แล้วเรำก็จะมองเห็นสภำพของ
ประชำชนของทั้ง 3 จังหวัดที่กำลังเผชิญกับควำมทุกข์จำกกำรก่อกำรร้ำย หำกเรำสำมำรถเข้ำใจชำวบ้ำนคนนั้นได้
เรำก็จะรักและเข้ำใจชำวบ้ำนทั้งหมดได้ จำกนั้นจึงตั้งจิตแผ่เมตตำออกไป เมื่อนั้นควำมรักของผู้ปฏิบัติก็จะเป็นจริง
เมตตำภำวนำมิใช่กำรคิดฝันเอำเอง แต่เป็นกำรลงมือปฏิบัติจริง ในกำรพินิจพิเครำะห์ดูสิ่งใด ควรทำด้วยควำมตั้งใจ
และมีสติ เพรำะกำรมองที่แท้ มักจะก่อให้เกิดควำมรักที่แท้ด้วย
4. แผ่เมตตำแก่คนที่เกลียดชังเป็นศัตรูกัน ถือว่ำทำได้ยำกมำก ยิ่งเกลียดกันมำก ก็ยิ่งแผ่ได้
ยำกมำก วิธีที่ดีสุดคือ การหลอมรวมและสมมุติตนเองว่าเป็นคนผู้นั้น ตกอยู่ในสภาวะเดียวกับเขา พิจำรณำ
ถึง ควำมสุข ควำมทุกข์ ควำมต้องกำร หรืออำรมณ์ต่ำง ๆ และ พิจำรณำถึงสภำพแวดล้อมที่คนผู้นั้นต้องเผชิญ ไม่ว่ำ
จะเป็นควำมกดดัน บีบคั้น และอิทธิพลใด ที่ส่งผ่ำนถึงผู้ที่เป็นศัตรูของเรำ อันเป็นต้นกำเนิดแห่งบุคลิก อุปนิสัยและ
อำรมณ์ กำรกระทำต่ำง ๆ ขณะปฏิบัติได้เช่นนั้น....... เราจะเห็นว่าผู้ที่เราเรียกว่าเป็นศัตรูจริง ๆ แล้วก็เป็น
เพียงมนุษย์คนหนึ่งที่กาลังทุกข์ทรมานอยู่ .......จากนั้นจึงแผ่เมตตาสู่พวกเขา.......ทันทีที่เราเห็นและเข้าใจ
ว่าผู้ที่เราเรียกว่าเป็นศัตรูนั้น กาลังเป็นทุกข์อยู่ด้วยเช่นกัน เราก็ต้องพร้อมที่จะรักและยอมรับคนผู้นั้น แล้ว
ความคิดที่เป็ น “ปฏิปักษ์” จะมลายไปและถูกทดแทนด้วยสภาพความเป็ นจริงของคนที่กาลังทุกข์ และ
ต้องการความเมตตากรุณาจากเรา
กล่าวโดยสรุป การที่มนุษย์รู้จักที่จะเรียนรู้และพัฒนาความเข้าใจของตนในเรื่องของ
“ความรัก” ได้อย่างถูกต้องนั้น นอกจากจะทาให้ตัวผู้ปฏิบัติเองได้มอง “ความรัก” ในโลกทัศน์
ที่กว้างขวางขึ้นแล้ว ยังสามารถเรียนรู้และเข้าใจถึงลักษณะอิทธิพลของความรักแบบต่าง ๆ ได้
กระทั่งสามารถใช้ปัญญาพิจารณาจนเข้าใจความหมายของ “รักแท้” อันเป็นวิถีทางนาไปสู่การเข้าใจตนเอง
เข้าใจเพื่อนมนุษย์และสรรพสิ่งทั้งปวง ผู้ใดที่ได้เข้าใจและปฏิบัติพัฒนาความรักของตนในวิถีแห่งเมตตา
หรือรักแท้ที่ปราศจากเงื่อนไขนี้แล้ว เขาผู้นั้นจะเต็มเปี่ ยมไปด้วยความสุข ความเบิกบาน และอิสระ.....
12
เมตตาจะช่วยน้อมนาความสงบ และความชื่นบานในขณะแห่งรัก รักได้อย่างสร้างสรรค์ กว้างขวาง และไม่
มีทุกข์ ความรักที่ประกอบด้วยปัญญานี้ จะช่วยหลอมรวมให้ผู้รักและผู้ที่ถูกรัก มีความสุขสงบและสันติ
ร่วมกันได้อย่างแท้จริ
สรุปคาสอนเรื่องความรักของศาสนาคริสต์
ศำสนำคริสต์ เป็นศำสนำแห่งควำมรักต่อพระเจ้ำ และมนุษยชำติ พระเยซูทรง
สอนว่ำ “...จงรักพระเจ้ำ (พระยะโฮวำห์) อย่ำงสุดจิตสุดใจ”
“..จงรักเพื่อนบ้ำนเหมือนรักตัวเอง”
คาสอนอื่นๆ
***สอนให้มีเมตตากรุณาต่อกัน
- “จงเมตตำปรำณี เหมือนพระบิดำของท่ำน...อย่ำกล่ำวโทษผู้อื่น จงรู้จักให้อภัย จงให้แล้วท่ำนจะได้รับ..”
- “กำรรับใช้พระเจ้ำ ก็คือกำรรับใช้เพื่อนมนุษย์ มนุษย์ควรกำจัดควำมเห็นแก่ตัวแล้วอุทิศตัวเพื่อมนุษยชำติ”
- “ถ้ำใครขอสิ่งใดจำกท่ำนก็จงให้ อย่ำเมินหน้ำหนี” ฯลฯ
***สอนให้รักกันในระหว่างพี่น้อง
- “ผู้ใดโกรธพี่น้องของตน ผู้นั้นจะถูกพิพำกษำลงโทษ”
***สอนให้ทาความดีเพื่อความดี
- “จงระวัง อย่ำทำศำสนกิจเพื่ออวดคนอื่น เมื่อท่ำนให้ทำนก็ไม้ต้องเป่ำแตรให้คนรู้....”
***สอนให้แสวงหาคุณธรรมยิ่งกว่าสิ่งอื่น
- “อย่ำสะสมทรัพย์สมบัติไว้ในโลกนี้เพรำะตัวแมลงและสนิมอำจทำลำยได้ ขโมยอำจลักเอำไปได้ แต่จงสะสม
ทรัพย์สมบัติไว้ในสวรรค์”
***สอนหลักการดารงชีวิต
- ถ้ำท่ำนปรำรถนำจะให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อท่ำนอย่ำงไร ก็จงปฏิบัติต่อผู้อื่น
อย่ำงนั้น (GOLDEN RULE)
- ขอให้ต่อต้ำนควำมอยุติธรรมทุกอย่ำงและจงเกลียดชังมัน
- ควำมสุขของมนุษย์ไม่ได้อยู่ที่ทรัพย์สินเงินทอง แต่อยู่ที่จิตใจ อย่ำปล่อยใจให้ติดอยู่ในโลก กำรทำใจให้เป็น
อิสระมำกเท่ำไหร่ ก็จงยิ่งมีควำมสุขมำกขึ้นเท่ำนั้น
- อย่ำกล่ำวโทษเขำ แล้วเจ้ำจะไม่ถูกกล่ำวโทษ ฯลฯ
***ศำสนำคริสต์ได้ชื่อ ว่ำเป็นศำสนำแห่งควำมรัก ที่บริสุทธิ์ คือ ควำมรักใน พระเจ้ำ และควำมรักต่อ เพื่อน
มนุษย์อย่ำงไม่มีเงื่อนไข....เป็นคำสอนเพื่อสันติภำพ เพื่อควำมสงบสุขทั้งแก่ตนเองและสังคม
“.......คนที่สุขสบายแล้วไม่จาต้องอาศัยหมอ แต่คนทุกข์ยากเปรียบเหมือนคนไข้หนัก ต้องการหมอเป็นอย่างมาก เรา
มามิใช่เพื่อลาภสักการะ แต่เพื่อช่วยบรรเทาความทุกข์ยาก...” /
“...ผู้ใดในพวกท่านที่ไม่เคยทาผิด ก็ให้ผู้นั้นเอาหินขว้างนางก็แล้วกัน”
13
สรุปคาสอนเรื่องความรักของศาสนาอิสลาม
ศำสนำอิสลำมเน้นเรื่องศรัทธำหรือควำมเชื่อในพระอัลเลำะห์ตำมที่ปรำกฏในคัมภีร์อัล-กุรอำน
พระองค์ทรงสร้ำงโลกและสรรพสิ่ง ทรงรู้ ทรงเห็น ทรงได้ยินทุกสิ่งทั้งในที่แจ้งและที่ลับ ตลอดจนใจมนุษย์ว่ำกำลังคิด
อะไร ทรงไม่ง่วง ไม่หลับ ทรงมีควำมเมตตำกรุณำ ควำมยุติธรรม และมุสลิมต้องเชื่อว่ำมีพระเจ้ำองค์เดียว คือ
พระอัลเลำะห์ และต้องเคำรพรักพระองค์อย่ำงสุดจิตสุดใจ
หลักคำสอนของศำสนำอิสลำมที่เน้นในเรื่องควำมมีเมตตำกรุณำต่อกัน เช่น
“แท้จริงมนุษย์นั้นเป็นประชำชำติเดียวกัน ดังนั้นพระอัลเลำะห์จึงทรงตั้งบรรดำนบีเป็นผู้แจ้งข่ำวดี
และผู้ตักเตือน ทั้งได้ประทำนคัมภีร์พร้อมด้วยสัจจธรรมลงมำยังสูเจ้ำทั้งหลำย”
“มนุษย์ชำติเอ๋ย แท้จริงชุมชนของสูเจ้ำเป็นชุมชนเดียวกัน และเรำ(อัลเลำะห์) เป็นพระผู้อภิบำลของ
สูเจ้ำ ดังนั้นจงเคำรพภักดีเรำ”
“จงปฏิบัติดีต่อบิดำมำรดำ ญำติสนิท และเด็กกำพร้ำ และจงสนทนำกับผู้คนด้วยดี”
“จงช่วยเหลือญำติสนิท เด็กกำพร้ำ คนขัดสน คนเดินทำง และผู้ขอ ตลอดจนถึงเชลย”
“ใครที่สังหำรชีวิตผู้ใดที่ไม่ใช่ฆำตกร หรือผู้ก่อควำมเสียหำยให้แก่ประเทศชำติ ก็เท่ำกับได้สังหำร
ชีวิตมนุษย์ทั้งหมด แต่ผู้ใดได้ช่วยชีวิตหนึ่งก็เท่ำกับช่วยชีวิตมนุษย์ทั้งหลำยด้วย”
“จงให้อำหำรแก่คนหิว.....จงบอกทำงให้แก่ผู้หลงทำง เก็บสิ่งอันตรำยออกจำกทำงเดิน และจ่ำย
ค่ำแรงก่อนเหงื่อแห้ง”
นอกจำกนี้คำสอนในเรื่องกำรบริจำคทำนให้แก่ผู้ขัดสน หรือ ซะกำต และกำรถือศีลอด ก็เป็นข้อ
ปฏิบัติเพื่อขัดเกลำจิตใจของชำวมุสลิมให้บริสุทธิ์ และเผื่อแผ่ควำมรัก ควำมเมตตำให้แก่เพื่อนมนุษย์อีกด้วย เป็นต้น
ขอบคุณค่ะ ^__^
เอกสำรประกอบกำรเรียน เรื่อง “ศิลปะแห่งควำมรัก” ประกอบวิชำ “ศิลปะกำรดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น”
โดย อำจำรย์ สรณีย์ สำยศร ภำควิชำปรัชญำและศำสนำ คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์

Contenu connexe

Similaire à ศิลปะแห่งความรัก

นี่แหละมั้ง "ความรัก"
นี่แหละมั้ง "ความรัก"นี่แหละมั้ง "ความรัก"
นี่แหละมั้ง "ความรัก"Theeraphisith Candasaro
 
เรียนรู้เรื่องรัก...รู้จักเรื่องเซ็กซ์
เรียนรู้เรื่องรัก...รู้จักเรื่องเซ็กซ์เรียนรู้เรื่องรัก...รู้จักเรื่องเซ็กซ์
เรียนรู้เรื่องรัก...รู้จักเรื่องเซ็กซ์Mickey Toon Luffy
 
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
จินตนาการรักกลุ่มที่6
จินตนาการรักกลุ่มที่6จินตนาการรักกลุ่มที่6
จินตนาการรักกลุ่มที่6saksu
 
จินตนาการ.4.
จินตนาการ.4.จินตนาการ.4.
จินตนาการ.4.saksu
 
พลอยรักว่าน๊ะค๊ะ
พลอยรักว่าน๊ะค๊ะพลอยรักว่าน๊ะค๊ะ
พลอยรักว่าน๊ะค๊ะguestb234cda
 
ไม่ว่าเธอจะเป็นใคร
ไม่ว่าเธอจะเป็นใครไม่ว่าเธอจะเป็นใคร
ไม่ว่าเธอจะเป็นใครguestb234cda
 
เลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองเลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองPanda Jing
 
จินตนาการรัก2 2 กลุ่ม4-
จินตนาการรัก2 2 กลุ่ม4-จินตนาการรัก2 2 กลุ่ม4-
จินตนาการรัก2 2 กลุ่ม4-LolliLK
 

Similaire à ศิลปะแห่งความรัก (10)

นี่แหละมั้ง "ความรัก"
นี่แหละมั้ง "ความรัก"นี่แหละมั้ง "ความรัก"
นี่แหละมั้ง "ความรัก"
 
Beautiful bridges with_music
Beautiful bridges with_musicBeautiful bridges with_music
Beautiful bridges with_music
 
เรียนรู้เรื่องรัก...รู้จักเรื่องเซ็กซ์
เรียนรู้เรื่องรัก...รู้จักเรื่องเซ็กซ์เรียนรู้เรื่องรัก...รู้จักเรื่องเซ็กซ์
เรียนรู้เรื่องรัก...รู้จักเรื่องเซ็กซ์
 
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
 
จินตนาการรักกลุ่มที่6
จินตนาการรักกลุ่มที่6จินตนาการรักกลุ่มที่6
จินตนาการรักกลุ่มที่6
 
จินตนาการ.4.
จินตนาการ.4.จินตนาการ.4.
จินตนาการ.4.
 
พลอยรักว่าน๊ะค๊ะ
พลอยรักว่าน๊ะค๊ะพลอยรักว่าน๊ะค๊ะ
พลอยรักว่าน๊ะค๊ะ
 
ไม่ว่าเธอจะเป็นใคร
ไม่ว่าเธอจะเป็นใครไม่ว่าเธอจะเป็นใคร
ไม่ว่าเธอจะเป็นใคร
 
เลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองเลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมอง
 
จินตนาการรัก2 2 กลุ่ม4-
จินตนาการรัก2 2 กลุ่ม4-จินตนาการรัก2 2 กลุ่ม4-
จินตนาการรัก2 2 กลุ่ม4-
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

ศิลปะแห่งความรัก

  • 1. 1 ศิลปะแห่งความรัก เมตตาภาวนา : วิถีแห่งรักแท้ แนวทางในการรักตนเองและผู้อื่นให้เป็น อย่างไม่เป็นทุกข์ ความรักกับชีวิต ความรัก คืออะไร....คือดอกไม้ คือสายลม คือบทกวีอ่อนหวาน ความรัก คือ ความชื่นบาน คือรอยยิ้ม และหยาดน้าตา ความรัก บางคราจูงมือมากับความทุกข์ แต่ความสุขก็ยังคอยส่งยิ้มเป็นกาลังใจอยู่บ่อย ๆ ความรักที่แท้บอกเราให้รับแต่น้อย และอย่าลังเลที่จะเป็นผู้ให้ ความรัก คือกาลังใจ คือการให้อภัย คือความสุขใจที่ได้รู้จัก...ความรัก…….. ความรัก คำ ๆ นี้ดูจะเป็นที่คุ้นเคยของทุกคนเป็นอย่ำงดี คงจะไม่มีมนุษย์คนไหนที่จะปฏิเสธว่ำตน ไม่เคยมีควำมรัก ทั้งนี้เพรำะควำมรัก มีหลำกหลำยมิติ และผูกพันอยู่กับควำมรู้สึกของมนุษย์ในเกือบจะทุกขณะจิต ไม่ว่ำจะเป็นควำมรักตนเอง รักพ่อแม่ ญำติพี่น้อง รักเพื่อน รักคนรัก รักธรรมชำติ รักควำมยุติธรรม รักชำติบ้ำนเมือง เป็นต้น แม้ว่ำคนเรำจะสำมำรถคิดคำนึงและพูดถึงควำมรักได้อย่ำงคล่องแคล่ว แต่จะมีสักกี่คนที่จะเข้ำใจควำมหมำย ที่แท้จริงของมัน บำงคนที่กำลัง สุขสมหวังกับ “ควำมรัก” เขำก็อำจจะนิยำมว่ำ “รัก” คือ ดอกไม้ รักคือควำมสวยงำม , รักคือแรงบันดำลใจ กล่ำวคือ เมื่อเขำ กำลังมีควำมสุขในรัก เขำก็จะมองควำมรักว่ำเป็นเรื่องที่ดี เรื่องที่งดงำม ในขณะที่บำงคนที่กำลังประสบกับควำมผิดหวังในรัก หรืออกหัก นั้นแน่นอนนิยำมควำมรักของเขำ ก็คงจะเป็นไป ทำนองที่ว่ำ.... รัก คือ ควำมเจ็บปวด ที่ได้มีรัก ที่นั่นมีทุกข์, รัก คือ ไฟ เป็นต้น ในประเด็นนี้เรำอำจจะตั้งข้อสังเกตได้ว่ำ “ความรัก” มีคุณค่าในตัวเอง หรือไม่ หรือเป็นเพียง สิ่งที่แปรเปลี่ยนไปได้ตลอดเวลา เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ แล้วแต่ว่ำจะอยู่ในสถำนกำรณ์ใด ในประเด็นนี้พุทธศำสนำ จะอธิบำยว่ำ “ความรักไม่ได้ทาให้เราทุกข์ แต่การยึดติดหรืออุปาทานต่างหาก ที่ทาให้เราทุกข์”(แม่ชีศันสนีย์ ,2546 :200) ซึ่งจะได้ศึกษำกันต่อไปว่ำ อุปำทำน คืออะไร และเข้ำมำมีบทบำทแปรเปลี่ยนควำมรักให้เป็นควำมทุกข์ ได้อย่ำงไร “ความรัก” กับ “วิถีชีวิต” ของมนุษย์ดูจะแยกกันไม่ออก อย่ำงน้อยมนุษย์ก็ต้องมีควำมรัก “ตนเอง” เป็นควำมรักแรกสุด ดัง พุทธศำสนสุภำษิต ที่ว่ำ “ความรักอื่นเสมอด้วยตนไม่มี” (นตฺถิ อตฺตสม เปม) (ฟื้น,2542 :297) จำกนั้นมนุษย์ก็เรียนรู้ที่จะรักผู้อื่น ซึ่งเป็นวิถีแห่งสัญชำตญำณตำมธรรมชำติ ไม่ว่ำจะเป็น รักพ่อแม่ รักเพื่อน พ้อง รักเพื่อนต่ำงเพศ ฯลฯ นอกจำกควำมรักจะเป็นเครื่องผูกพันทางใจ ที่ก่อให้เกิดสำยใยแห่งไมตรีจิต กำร ช่วยเหลือเกื้อกูล เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน แล้วควำมรัก ยังเป็นเครื่องผูกพันทางสังคม ทำให้สังคมมีควำมกลม เกลียวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันก่อให้เกิดควำมสำมัคคีและเป็นปึกแผ่นมั่นคง นอกจำกนี้“ควำมรัก” ระหว่ำงมนุษย์กับ
  • 2. 2 ธรรมชำติยังมีส่วนช่วยจรรโลง รักษำ ความอุดมสมบูรณ์และความสมดุลของสภาวะแวดล้อมให้คงอยู่... ที่กล่ำว มำ นั่นคือ “ด้านดี” ของควำมรัก แต่ทั้งนี้ ในโลกแห่งควำมเป็นจริงนั้น ควำมรักในควำมหมำยที่ว่ำ “ความชอบพออย่างผูกพัน” นั้น กลับเป็นต้นเหตุแห่งควำมทุกข์ ในระดับต้น ๆ ของมนุษย์ จะเห็นได้จำก ปัญหำอำชญำกรรมตำมหน้ำหนังสือพิมพ์ที่ มักจะมีเรื่องที่เกิดจำกควำมผิดหวังในควำมรัก ซึ่งก่อเกิดเป็นควำมรุนแรงถึงขึ้นทำลำยชีวิตกัน ที่รุนแรงน้อยลงมำก็ สะท้อนให้เห็นถึงควำมเจ็บปวด หรือควำมทุกข์จำกควำมรัก ที่ปรำกฏใน เพลงบ้ำง ในหนังสือบ้ำง หรือเป็นหัวข้อ สนทนำบ้ำง แทบจะเรียกได้ว่ำ ปัญหำควำมผิดหวังในรัก ดูจะเป็นเรื่องธรรมดำ ที่ไม่ช้ำก็เร็ว ไม่ว่ำใครจะมีโอกำสเสีย น้ำตำกับเรื่องของควำมรักนี้ได้ เมื่อวิเครำะห์ปัญหำดูแล้ว จะพบว่ำอำกำร “ผิดหวังในควำมรัก” นั้น มิได้เกิดเพรำะคนที่ตนรักเป็น ทุกข์ หรือล้มหำยตำยไป แต่ส่วนใหญ่อำกำร “อกหัก” จะเกิดจำกกำรที่คนรักของตนไปมีคนรักใหม่...........ผลที่ ตำมมำ คนที่ (คิดว่ำ) ตนถูกทอดทิ้งก็จะรู้สึกเจ็บปวด เคว้งคว้ำง สับสน ทุกข์ทรมำนอย่ำงที่สุด รู้สึกว่ำตนไร้ค่ำ และ สิ้นหวัง ทั้งนี้เพรำะเขำ “รักคนอื่นมำกเกินไป จนลืมรักตนเอง” อย่ำงนั้นหรือ ? หรือในทำงกลับกัน “เขารักตนเองมาก จนยอมไม่ได้ที่จะสูญเสียคนที่จะทาให้เขามีความสุขจากไป (กับคนอื่น)” ... พิจำรณำดูให้ลึก ๆ แล้ว ควำมรัก แบบนี้เกิดจำกความเห็นแก่ตัว นั่นคือ เมื่อรักใครแล้วก็อยำกจะผูกมัดให้เขำอยู่กับเรำเพียงคนเดียว ยึดติดว่ำคนรัก เป็นของเรำ จนสุดท้ำยเมื่อสูญเสียไปก็ทำใจไม่ได้ จนที่สุด “ควำมรัก” ที่ตนคิดว่ำเป็น “รักแท้” นั้นก็แปรเปลี่ยนไปเป็น “ควำมเกลียด” ดังนั้น ความรักในแบบที่ว่า “เรารักเขาเพราะเขาทาให้เรามีความสุข และพร้อมที่จะเกลียด เขาเมื่อเขาทาให้เราทุกข์” นั้นคงจะไม่ใช่ “รักแท้” แน่ เพราะคาว่า “แท้” ย่อมไม่แปรเปลี่ยน ควำมรักที่ “ไม่แท้” หรือ ควำมรักที่ประกอบด้วยควำมเห็นแก่ตัวนั้น ไม่ได้สร้ำงสรรค์ควำมงดงำม ที่ แท้จริงเลย แม้จะมีควำมสุข แต่ก็เป็นควำมสุขที่ไม่ยั่งยืนแปรเปลี่ยนไปตำมอำรมณ์ สุดท้ำยก็ต้องจบลงที่ควำมทุกข์ เพรำะกำรไปยึดมั่นถือมั่นเอำกับควำมรู้สึกของคนอื่นที่มันไม่จริง ไม่ยั่งยืน กอปรกับควำมเห็นแก่ตัว มองที่สุข ทุกข์ ของตนเองเป็นที่ตั้ง เมื่อตนเองทุกข์ขึ้นมำ ก็สรุปว่ำ “ทุกข์จากความรัก” ซึ่งแท้จริงแล้ว “ทุกข์”เกิดจำก “การรักไม่ เป็น” ต่ำงหำก ความรักในความหมายของพระพุทธศาสนา 1. เมตตาภาวนา : วิถีสู่รักแท้ “...เราทุกคนล้วนมีเมล็ดพันธ์ของความรักอยู่ในตัว เราสามารถพัฒนาพลังอัน น่าอัศจรรย์นี้ บ่มเพาะความรักที่ไม่มีเงื่อนไข ชนิดที่ไม่ต้องคาดหวังว่าจะได้อะไร ตอบแทน หากเราเข้าใจใครสักคนดีพอแล้ว ถึงคน ๆ นั้นจะทาร้ายเรา เราก็จะยังคงรัก คนผู้นั้นอยู่……” (ติช นัท ฮันห์) พระธรรมปิฎก ได้อธิบำย ควำมหมำยของคำว่ำ “เมตตา” ไว้ว่ำ “เมตตา” คือ ความรัก ความมีไมตรีจิต ความปรารถนาดี ความอยากให้ผู้อื่นมีความสุข และประสบแต่สิ่งที่เป็นคุณประโยชน์ (พระ ธรรมปิฎก, 2541: 507) ส่วนคำว่ำ “ภำวนำ” นั้น หมำยถึง กำรทำให้มีขึ้น เป็นขึ้นทำงจิตใจ สำรวมใจ ตั้งควำม
  • 3. 3 ปรำรถนำ ดังนั้นเมื่อกล่ำวรวมกันแล้ว “เมตตาภาวนา” คือ การพัฒนาความรัก ความปรารถนาดี (ทั้งต่อตนเอง และผู้อื่น) ให้เกิดมีขึ้นในใจ ให้เจริญงอกงามขึ้นในใจ นั่นเอง แต่ทั้งนี้ในชีวิตจริง มักจะมีกำรเข้ำใจผิดอยู่เสมอ ในควำมแตกต่ำงระหว่ำง “ควำมรัก” ที่เป็น “เมตตำ” กับ “ควำมรัก” ที่เป็น “อกุศล” ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธ์ต่ำงกันอย่ำงมำก กล่ำวคือ “ความรักที่เป็นอกุศล” นั้น มักเรียกว่ำ เสน่หา ซึ่งหมำยถึง ความรักใคร่เยื่อใยเฉพาะบุคคล ความพอใจโปรดปรานส่วนตัว เป็นความรัก ที่เกิดจากตัณหา (มุ่งจะเสพเสวยเวทนำ -: รักเพื่อต้องกำรสร้ำง “สุข” ให้เกิดแก่ตน... แต่ถ้ำผิดหวังก็จะเกิด “ทุกข์”... ควำมรู้สึก “สุข” “ทุกข์” นี้จะเกิดขึ้นอยู่ร่ำไปตรำบใดที่ยังรักด้วย “ตัณหำ” / และเกี่ยวกับกำรปกป้องตน -:รักพื่อตนเอง มุ่งประโยชน์และควำมสุขของตนเองเป็นใหญ่) ถือเป็นความรักที่เจือด้วยความเห็นแก่ตัว ทาให้จิตใจคับแคบ ติดข้อง มัวหมองลง ไร้อิสระ มีความวิตกกังวล หรือตื่นเต้นเร่าร้อน ส่วน “ความรักที่เกิดจากเมตตา” นั้น เป็ นความรักที่บริสุทธิ์ มีต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์ ทั้งหลายในฐานะที่เป็นเพื่อนร่วมโลก หรือ เพื่อนร่วมทุกข์ ร่วมสังสารวัฏ เป็ นความรักอย่างเป็ นกลาง ๆ อย่างเผื่อแผ่ ทาให้ใจเปิดกว้างออกไปและผ่องใสเบิกบาน (พระธรรมปิฎก, 2541: 507) “ผลสาเร็จของเมตตา” คือ “ระงับพยาบาทในจิตใจได้” ส่วน “ความล้มเหลวของเมตตา” คือ เกิดเสน่หา และยึดมั่นถือมั่นด้วยตัณหา ส่วน ความรักที่เกิดจาก “ตัณหา” ดูได้จำกว่ำ เป็นควำมรักที่ปรำรถนำ ควำมอยู่ดี หรือควำมสุขแห่งชีวิตของผู้อื่นอย่ำงตรงไปตรงมำ หรือ เป็ นเพียงเงื่อนไขเพื่อได้มาซึ่งความสุขของ ตนเองเป็นหลัก แม้ว่ำ เมื่อดูตำมหลักทฤษฎีจะเห็นควำมแตกต่ำงอย่ำงชัดเจนระหว่ำงควำมรักที่เป็น “เมตตำ” ซึ่งถือ เป็น “รักแท้” ในพระพุทธศำสนำ กับ ควำมรักที่เป็นตัณหำ ซึ่งอำศัย “ควำมอยำก” และ “ควำมเห็นแก่ตัว” เป็นที่ตั้ง แต่ในทำงปฏิบัติแล้วดูจะแยกกันออกอย่ำงลำบำกเหลือเกิน โดยเฉพำะกับมนุษย์ปุถุชนธรรมดำด้วยแล้ว ซึ่งมีกิเลส ตัณหำอยู่ ควำมรักที่คุ้นเคยกัน ก็คงไม่พ้น ควำมรักที่อยู่บนพื้นฐำนของควำมอยำก และควำมเห็นแก่ตัว เพียงแต่ มำกน้อยต่ำงกันเท่ำนั้น ตรำบใดที่ยังคงมีควำมรักแบบตัณหำ ซึ่งมิใช่รักแท้อยู่ในจิตใจ ก็คงยำกที่จะหลีกเลี่ยง “ควำม ทุกข์” ที่เกิดควบคู่ไปกับ “ควำมสุข” ได้ ดังนั้น จึงเป็ นเรื่องจำเป็ นที่เรำควรจะพัฒนำควำมรักของเรำให้เป็ น “ควำมรักที่แท้” หรือ “เมตตำ” อันเป็ น ควำมรักที่อยู่เหนือเงื่อนไขและตัวตน อีกทั้งจะน้อมนำควำมสุข สงบ มำสู่ตัวของผู้รัก ผู้ที่ถูกรัก และสรรพสิ่งทั้งปวง อย่ำงแท้จริง สำหรับผู้ที่เจริญเมตตำเป็นประจำจนเป็นนิสัยย่อมจะได้อำนิสงค์ของกำรเจริญเมตตำ 11 ประกำร ดังนี้ 1. หลับเป็นสุข 2. ตื่นเป็นสุข 3. ไม่ฝันร้ำย 4. มีคนรักมำก 5. พวกอมนุษย์รักใคร่ 6. เทวดำรักษำ 7. ไฟ ยำพิษ และศำสตรำไม่ทำอันตรำย 8. จิตสงบเร็ว 9. ใบหน้ำเปล่งปลั่ง 10. มีสติเวลำตำย 11. ไปเกิดบนพรหมโลก (ชัยวัฒน์, 2545: 82) จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้น แม้ว่ำ “เมตตำ” ดูจะครอบคลุมในเรื่องของ “ควำมรักที่แท้” ใน พระพุทธศำสนำอย่ำงชัดแจ้ง แต่กระนั้น ถ้ำพิจำรณำกันในแง่ของควำมหมำยแล้ว...”รักที่แท้” คือ ควำมปรำรถนำที่ ต้องกำรให้ผู้อื่นมีควำมสุข เมตตำ ก็ดูจะไม่สมบูรณ์และไม่ครบถ้วนเท่ำใด ถ้ำปรำศจำก ควำมปรำรถนำที่จะให้ผู้อื่น
  • 4. 4 พ้นทุกข์ และควำมรู้สึกยินดีเมื่อผู้อื่นมีควำมสุข รวมทั้งกำรวำงใจเป็นกลำงด้วยปัญญำ นั่นเอง กล่ำวคือ ความรัก จะเป็น รักที่แท้ได้ถ้าครบถ้วนด้วยเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา หรือ พรหมวิหาร 4 นั่นเอง ซึ่งจะได้ กล่ำวต่อไป การเมตตาต่อตนเอง ในทำงพระพุทธศำสนำนั้น สอนว่ำ ควำมรัก ควรจะเริ่มต้นที่ตนเองก่อน ดัง พุทธศำสนสุภำษิตที่ว่ำ “ความรักอื่นเสมอด้วยตนไม่มี” (นตฺถิ อตฺตสมเปม) ตราบใดที่ ตัวเรายังไม่สามารถรักและเข้าใจในตัวของตนดีแล้ว ก็คงไม่สามารถรักและเข้าใจ ผู้อื่นได้เช่นกัน นั่นคือ ตรำบใดที่ตัวเรำยังมีควำมทุกข์ และ ไม่สำมำรถเข้ำใจถึงควำมเป็นจริงของชีวิตได้ ยังคงมีรัก โลภ โกรธ หลง ยังมีควำมแปรปรวนในจิตใจ ยังมีควำมเห็นแก่ตัวอยู่ จิตใจก็จะวุ่นวำย และไม่มั่นคง สภำพ จิตใจที่เปลี่ยนแปลง แปรปรวนดังกล่ำว คงไม่มีพลังพอที่จะเอำใจใส่หรือช่วยเหลือผู้อื่นอย่ำงเต็มที่ได้ นั่นคือ ตนนั้นก็ ยังมีควำมบกพร่องอยู่ ดังนั้น วิธีที่ดีที่สุดในการเจริญเมตตาให้สัมฤทธิ์ผลนั้น ควรเริ่มจาก การเจริญเมตตา แก่ตนเองก่อน เริ่มต้นที่การรู้จักตนเอง การเข้าใจตนเอง การเยียวยาตนเอง และการพึ่งพาตนเอง กำรรักตนเองอย่ำงถูกต้องนั้น ต้องดูแลตนเองทั้งทำงร่ำงกำย และจิตใจ ทำงร่ำงกำยก็ควรบริโภคแต่สิ่งที่มีประโยชน์ และไม่เป็นโทษต่อร่ำงกำย ส่งเสริมสุขภำพร่ำงกำยให้แข็งแรง ควบคู่ไปกับสุขภำพของจิตใจ โดยกำรสำรวจดูว่ำ ณ เวลำนี้เรำมีควำมสุข ควำมทุกข์ในเรื่องใด และพยำยำมช่วยตนเองให้พ้นจำกควำมทุกข์นั้น โดยกำรรักษำใจตนเองให้ เป็นอิสระจำกควำมอยำก หรือ ควำมโลภ ควำมโกรธ และควำมหลง ละคลำยควำมยึดมั่นถือมั่นในสิ่งต่ำงๆ อันเป็น เหตุให้เกิดควำมทุกข์รวมทั้งพัฒนำจิตใจของตนให้มีควำมแช่มชื่น เบิกบำน อย่ำงคนที่รู้เท่ำทันควำมเป็นจริงของชีวิต สำมำรถมีควำมสุขได้ด้วยตนเอง และเมื่อเราสามารถพึ่งตาตนเองได้แล้วเราก็จะสามารถเป็นที่พึ่งให้คนอื่น ได้เช่นกัน เพรำะอย่ำงน้อย กำรมีเมตตำต่อผู้อื่นนั้น เกิดจำก “กำรเอำใจเขำมำใส่ใจเรำ” ถ้ำใจของเรำเข้มแข็ง มั่นคง และเข้ำใจสัจธรรมแล้ว เรำก็สำมำรถเข้ำถึงใจของผู้อื่น และมีศักยภำพเพียงพอที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่นได้อย่ำง แท้จริง การเมตตาต่อผู้อื่น เมื่อผู้ใดเจริญเมตตำต่อตนเองจนเข้ำใจสภำพควำมเป็นจริงของชีวิต ผู้นั้นย่อมบังเกิดควำมเข้ำใจและ เห็นใจต่อควำมรู้สึกและชีวิตของเพื่อนมนุษย์ ด้วยเช่นกัน เพรำะอย่ำงน้อย เขำก็เข้ำใจว่ำ ถ้าตัวเขารักสุขเกลียด ทุกข์เช่น ไร ผู้อื่นสัตว์อื่นก็เช่นกัน ย่อมรักชีวิตและต้องการหลุดพ้นจากความทุกข์ทรมานด้วยกันทั้งสิ้น ถึง พุทธศำสนสุภำษิตที่ว่ำ “สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงย่อมสะดุ้งกลัวต่ออาชญา ชีวิตย่อมเป็ นที่รักของสัตว์ทั้งปวง บุคคลพึงทาตนให้เป็นเครื่องเปรียบเทียบ แล้วไม่พึงฆ่าเองหรือใช้ให้ใครฆ่า” (ฟื้น, 2542: 7) กล่ำวคือ พระ พุทธองค์สอนให้ เอาใจเขามาใส่ใจเรา เรำเมตตำต่อตนเองเช่นไร พึงกระทำต่อผู้อื่นเช่นนั้น เพรำะสุดท้ำยแล้ว ควำมสุข ควำมอิ่มเอิบใจย่อมกลับคืนสู่ผู้ให้ ดังพุทธภำษิตที่ว่ำ “ปราชญ์ผู้ให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข ” (ธรรมสภำ, 2540: 265)
  • 5. 5 “เมตตำ” มีควำมหมำยเป็นที่เข้ำใจกันว่ำ เป็นเรื่องของ “ควำมรัก” แต่ทั้งนี้กำรที่มนุษย์จะพัฒนำเมตตำ หรือควำมรัก ให้ถูกวิธีได้นั้น ควรจะทำควำมเข้ำใจ ในเรื่องของ “ควำมรัก” ให้ชัดเจนเสียก่อน อำจสรุปได้ว่ำ ควำมรัก นั้นมี 2 ประเภท และให้อำนิสงค์หรือส่งผลที่แตกต่ำงกันอย่ำงชัดเจน กล่ำวคือ 1. ความรักแบบมีเงื่อนไข หรือ ควำมรักที่ต้องกำรเงื่อนไขตอบแทนนั่นเอง นั่นคือ เป็นความรักที่ เจือด้วยกิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่น มีราคะ โทสะ โมหะ เป็ นเงื่อนไขของความรักดังกล่าว เป็น ควำมรักที่เป็นไปเพื่อเสพเวทนำ หรือ รักเพื่อให้เกิดความสุขเป็นที่ตั้ง เมื่อรักแล้วต้องเกิดควำมสุข ควำมพอใจ คลั่ง ไคล้ ตื่นเต้น วูบวำบ แต่เมื่อผิดหวังย่อมเกิดความทุกข์ได้ในทันที ไม่ว่ำจะเป็นทุกข์จำกกำรพลัดพรำก สูญเสีย หรือแปรเปลี่ยน ทุกข์จำกควำมเบื่อหน่ำย ฝืนทน เหงำเศร้ำ เป็นต้น และ ความรักแบบมีเงื่อนไขนั้น ย่อมเป็นไป เพื่อ “ตนเอง” ด้วยประการทั้งปวง แต่อำจจะต่ำงรูปแบบ กล่ำวคือ เมื่อมีควำมรักแล้ว “ความมีตัวตน” หรือ “อัตตา” จะเกิดขึ้นทันที ควำมรักที่เห็นแก่ตัวนั้นจะผูกขำดไปว่ำ คนรัก หรือสิ่งที่รัก เป็นของ ๆ ตนเกิด “ตัวกู” “ของกู” เมื่อผิดหวังก็จะเกิดทุกข์ ยอมรับกำรจำกไปหรือกำรสูญเสียไม่ได้ ร่ำไรรำพันว่ำ เพรำะรักจึงไม่สำมำรถตัดใจได้ เมื่อ พิจำรณำอย่ำงเป็นธรรม จะพบว่ำแท้จริงแล้ว ........ผู้ที่มีความรักประกอบด้วยเงื่อนไขดังกล่าว ถือเป็นผู้ที่รัก ตัวเองมากกว่าผู้อื่น แม้ว่ำ เขำจะเศร้ำโศกจนกระทั้งฆ่ำตัวตำยเพรำะผิดหวัง นั่นก็พอสรุปได้ว่ำ .....เขายอมหรือทา ใจไม่ได้ที่จะสูญเสียคนรัก ผู้ซึ่งทาให้เขามีความสุข กล่ำวคือ มองที่ควำมสุขของตนเองมำกกว่ำควำมสุขของคนรัก เพรำะถ้ำกำรที่คนรักของเขำเลือกที่จะจำกไปกับคนอื่น นั่นแสดงว่ำเขำเลือกทำงที่ดีกว่ำ มีควำมสุขกว่ำ ถ้าเรารักคน รักของเราจริง เราก็ควรที่จะยินดีด้วยที่เห็นเขามีความสุข มิใช่เสียใจจนกระทั่งทาร้ายตนเองและผู้อื่น เพราะนั่นเท่ากับว่าถือความสุขของตนเป็นตัวตัดสินการกระทาทั้งปวง ควำมรักแบบมีเงื่อนไข นั้น เป็นควำมรักที่ประกอบด้วยกามคุณ 5 กล่ำวคือ กำรยึดติดพึงพอใจกับกำร สัมผัส รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส เช่น เมื่อเห็นผู้หญิงสวย ก็รักใคร่หลงใหลจนลืมภรรยำที่บ้ำน เป็นต้น และเมื่อเกิด ควำมพึงพอใจแล้วก็เอำตัวไปผูกติดยึดมั่นถือมั่น เป็นเจ้ำของด้วยตัณหำ กล่ำวคือ เกิดควำมอยำก อยำกได้ – อยำก มี - อยำกเป็น พัฒนำเป็นกิเลส คือ รักด้วยควำมใคร่ เมื่อไม่ถูกใจก็โกรธ อำฆำตแค้น พยำบำท และเมื่อพอใจ ก็ หลงใหล มืดบอดจนไม่รู้ผิดชอบชั่วดี พุทธศำสนำถือว่ำ ควำมรักที่เกิดจำกกำมคุณทั้ง 5 เป็นเสมือน ตะปูตรึงใจ ทำให้เกิดควำมสุขแบบ “กามสุข” ซึ่งเป็นควำมสุขที่เจือด้วยควำมทุกข์ คือ ยังไม่ปลอดภัยแท้จริง เต็มไปด้วยภัยอันตรำย มีเรื่องมำก มีปัญหำ มำก กล่ำวคือ มีทุกข์มำก และมีควำมสุขน้อย(วศิน, 2546: 14-16) ความรักด้วยตัณหา หรือ ความยึดมั่นถือมั่น นี้ มิใช่ความรักที่เกิดจากความเข้าใจ ซึ่งเป็นวิถีสู่รักแท้ แต่เป็นความรักที่เกิดจากความเอาแต่ใจ อันเป็น วิถีแห่งทุกข์ แม่ชีศันสนีย์ ท่ำนได้กล่ำวไว้ว่า “กำรยึดติดเป็ นเหตุแห่งทุกข์ ถ้ำเรำรักอย่ำงยึดติด กำรยึดติดจะ นำมำซึ่งควำมทุกข์ ควำมรักไม่ได้ทำให้เรำทุกข์ แต่กำรยึดติดต่ำงหำกที่ทำให้เรำทุกข์” ซึ่งสอดคล้องกับ พุทธวจนะที่ว่ำ “สิ่งใดที่เข้าไปยึดมั่น ถือมั่นอยู่จะพึงหาโทษมิได้ สิ่งนั้นไม่มีในโลก ” (แม่ชีศันสนีย์, 2546: 200) ดังนั้นเมื่อ ควำมรักแบบมีเงื่อนไขนี้เป็นต้นเหตุแห่งควำมทุกข์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่นเช่นนี้แล้ว เรำจึงควร ทำลำยเงื่อนไขดังกล่ำว (กิเลส ตัณหำ อุปำทำน กำมคุณ) และพัฒนำควำมรักของตนให้เป็น “ควำมรักที่ไม่มี เงื่อนไข” โดยอำศัย สติ ปัญญำ และเหตุผล เป็นตัวนำ เพื่อจะได้ “ รักให้เป็น” อย่ำง “ไม่เป็นทุกข์”
  • 6. 6 ความรักแบบไม่มีเงื่อนไข ความรักแบบไม่มีเงื่อนไข นั้น หมำยถึง ความรักและหวังดีกับผู้อื่นด้วยความบริสุทธิ์ ใจ ไม่ต้องการสิ่งใดตอบแทนเพื่อตนเอง หรือถ้ำเทียบกับคำสอนทำงพระพุทธศำสนำ ก็ คือ การเจริญพรหมวิหาร 4 หรือ การพัฒนา เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ให้มีขึ้นในจิต และเผื่อแผ่ ความรักที่แท้ ดังกล่าวไปสู่เพื่อนมนุษย์ สรรพสัตว์ และ สิ่งทั้งปวงอย่างกว้างขวาง 2.1 การก่อกาเนิดแห่งความรักที่ไม่มีเงื่อนไข ท่ำนติช นัท ฮันห์ กล่ำวไว้ว่ำ “เราทุกคนล้วนมีเมล็ดพันธุ์ของความรักอยู่ในตัว เรา สามารถพัฒนาพลังอันน่าอัศจรรย์นี้ บ่มเพาะความรักที่ไม่มีเงื่อนไข ชนิดที่ไม่ต้องคาดหวังว่าจะได้อะไร ตอบแทน หากเราเข้าใจใครสักคนดีพอแล้วถึงคน ๆ นั้นจะทาร้ายเรา เราก็จะยังคงรักคนผู้นั้นอยู่...” (ติช นัท ฮันห์, 2542: 6) กล่ำวคือ ความรักแบบไม่มีเงื่อนไขนั้น คือ ความรักที่หลุดพ้นจาก กามคุณ กิเลส ตัณหา และอุปาทาน เป็นควำมรักที่ไม่ขึ้นอยู่กับควำมน่ำรักของคนอื่น หรือควำมพึงพอใจของเรำ เป็นควำมรักที่ไม่ขึ้นอยู่ กับอำรมณ์ ควำมรู้สึกของเรำ เป็นควำมรักที่ไม่ขึ้นอยู่กับควำมต้องกำรของเรำ (ตัณหำ) และเป็นควำมรักที่ไม่ขึ้นอยู่ กับผลประโยชน์ใด ๆ ของเรำ นั่นคือ ความรักที่ไม่มีเงื่อนไขจะทาให้เรามีพลังที่จะรักได้อย่างมีเมตตากรุณา ไม่เลือกปฏิบัติ คือ ความรักของเราไม่ได้ขึ้นอยู่กับความน่ารัก ความดี ความไม่ดี ของคนอื่น แต่มันขึ้นอยู่ กับเมตตาและปัญญาของเราต่างหาก ในยำมที่เรำอยำกให้สรรพสัตว์ทั้งหลำยมีควำมสุขนั้น ควำมมุ่งมำดปรำรถนำที่จะรัก ก็ได้ก่อ เกิดขึ้นภำยในตัวเรำ จนปรำกฏออกมำในรูปของกำรกระทำ คำพูด และควำมรู้สึกนึกคิดต่ำง ๆ สภำวะดังกล่ำวเกิด จำก ความรัก หรือ ความเมตตา เป็ นรากฐานอันจะเป็ นพลังขับเคลื่อนในการกระทา และคาพูดของเรา การกระทาล้วนเป็นผลผลิตของเจตนา ดังนั้น เมื่อจิตใจหรือเจตนาของเราถูกห่อหุ้มอยู่ด้วยความรัก ความ เมตตา คาพูดและการกระทาของเราก็จะท่วมท้นไปด้วยความรัก ความเมตตา เช่นเดียวกัน กล่ำวคือ เรำ จะพูดจำด้วยถ้อยคำที่สร้ำงสรรค์ เปี่ยมเมตตำ และกระทำในสิ่งที่ซึ่งจะนำมำซึ่งควำมสุข ช่วยปลดเปลื้องควำมทุกข์ เท่ำนั้น (ติช นัท ฮันห์, 2542: 17-18) ดังนั้น กำรจะกล่ำวว่ำ ควำมรัก ควำมเมตตำ กรุณำ มุทิตำ อุเบกขำ เป็นเพียง แค่ควำมมุ่งมำดในใจนั้น จึงเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เราไม่ได้ฝึ กพรหมวิหาร 4 ให้เกิดขึ้นแค่ในใจเท่านั้น หากแต่ จะต้องชักนามาสู่โลกจริง ๆ ด้วยวาจาและการกระทา 2.2 ลักษณะของความรักที่ไม่มีเงื่อนไข ความรักที่ไม่มีเงื่อนไขนั้น หมายถึง ความรักที่ปราศจากเงื่อนไข ที่เป็นอกุศลทั้งปวง นั่นคือ เป็นความรักที่เป็นอิสระจาก กามคุณ กิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่น เป็นอิสระจาก “ตัวตน” ไม่มี ตัวกู ของกู ไม่มีตัวเขา ตัวเรา เป็นอิสระจากความคาดหวัง เป็นอิสระจากผลประโยชน์ เป็นอิสระจากความเห็นแก่ตัว เป็น อิสระจากการเบียดเบียน และสุดท้ายเป็นอิสระจากความทุกข์ ความรักที่ไม่มีเงื่อนไขนั้น อาจเรียกได้ว่า เป็น “รักแท้” เป็นรักที่เสียสละ เป็นความรัก ที่ “อยากให้ มากกว่า อยากเอา” เป็นความรักที่ไม่ทุกข์เพราะรัก และมีความสุขที่ได้รักและช่วยเหลือผู้อื่น
  • 7. 7 ควำมรักที่ไม่มีเงื่อนไขนั้น เป็นเรื่องของกำรพัฒนำเมตตำและปัญญำที่ได้มำจำกผลแห่งกำร ปฏิบัติ (รู้และเข้ำใจควำมจริง) ที่มีกำรฝึกฝนที่จะระลึกรู้เท่ำทันในปัจจุบันขณะ ว่ำจะไม่ข่มเหงตนเอง และไม่หยำบ คำยต่อผู้อื่น ซึ่งจะเป็นพลังที่น้อมนำควำมสงบและชื่นบำนในขณะแห่งรัก.........ควำมรักที่มำจำกควำมคิดที่เห็นแก่ตัว จะนำมำซึ่งควำมอึดอัดคับข้อง แล้วควำมรักก็จะจืดจำงเพรำะมันไม่เป็นอย่ำงใจ ถ้ำเรำต้องกำรควำมรักแค่เพียง ให้ทุกอย่ำงเป็นอย่ำงใจ ควำมรักของเรำจะตื้นเขิน....ความรักที่แท้จะลึกซึ้ง นามาซึ่งความเข้าใจที่จะให้อภัยและ พร้อมที่จะงอกงามต่อไปใม่หยุดยั้ง และความงอกงามนี้จะแผ่คลุมออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ไม่มีประมาณ เพราะเรารู้และเข้าใจดีว่า สรรพชีวิตทั้งหลายเป็ นเพื่อนร่วมทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เหมือนกัน และเป็ น เพื่อนกันทางจิตใจ คือ สุข ทุกข์ เหมือนกัน เราจึงไม่เลือกปฏิบัติ ไม่เลือกที่จะรักเฉพำะกับคนที่ดีกับเรำ แม้แต่คนที่ไม่ดี ไม่น่ำรัก เรำก็จะทำควำมเข้ำใจ และพร้อมที่จะรักและให้อภัยได้อย่ำงง่ำยดำย เพรำะจิตที่ฝึกเมตตำ ภำวนำดีแล้ว จะทำให้ผู้ปฏิบัติมีควำมสงบที่ได้รัก ควำมรักที่ยึดติด ตื่นเต้น หวือหวำ จะเป็นควำมเหน็ดเหนื่อย แต่ ควำมรักที่มีพลังของจิตที่สงบเย็น จะหล่อเลี้ยงชีวิตของเรำให้เบิกบำนและมีควำมสุขที่ได้รักอย่ำงแท้จริง 2.3 องค์ประกอบแห่งความรักที่ไม่มีเงื่อนไข หรือ รักแท้ องค์ประกอบแห่งควำมรักที่แท้หรือควำมรัก ที่เป็นกุศล ในเพระพุทธศำสนำนั้น ได้แก่ หลักธรรมที่เรียกว่ำ “พรหมวิหาร 4” ซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ประกำร ด้วยกันคือ 1. เมตตา ได้แก่ การมีไมตรี หรือ ความตั้งใจ และความปรารถนาที่จะให้ผู้อื่นเบิก บาน เป็นสุข ในกำรเสริมสร้ำงควำมเมตตำนั้น เรำจะต้องเริ่มจำกกำรฝึกเฝ้ำดูและกำรฟังอย่ำงตั้งใจ จำกนั้นจึงทำ ควำมเข้ำใจผู้อื่น โดยใช้วิธี “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” เพื่อที่จะได้รู้ว่ำ อะไรที่ควรทำและไม่ควรทำเพื่อให้ผู้อื่นมี ควำมสุข ควำมรักที่ขำดควำมเข้ำใจนั้นไม่ใช่รักแท้ เรำจะต้องมองลึกลงไปให้เห็นและเข้ำใจถึงควำมต้องกำร ควำม ปรำรถนำ ตลอดจนควำมสุข หรือควำมทุกข์ทรมำนของคนที่เรำรัก เพื่อที่จะได้หำทำงช่วยเหลือตำมกำลัง ควำมสำมำรถ ทั้งนี้เมตตำจะต้องปรำศจำกผลประโยชน์ หรือควำมเห็นแก่ตัวใด ๆ ทั้งสิ้น แต่เป็นควำมปรำรถนำดี และมิตรภำพที่บริสุทธิ์และจริงใจ มิได้ต้องกำรสิ่งตอบแทน หรือหวังผลใดๆ 2. กรุณา หรือ ความตั้งใจและปรารถนาอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ เศร้าเสียใจน้อยลง แต่ เรำก็ไม่จำเป็นต้องทนทุกข์เพื่อช่วยขจัดทุกข์ไปจำกผู้อื่น ควำมกรุณำนั้นเปี่ยมไปด้วยควำมห่วงใยอย่ำงจริงใจ เพียงแค่ ควำมคิด กำรกระทำ หรือคำพูดแสดงควำมเห็นใจ ย่อมสำมำรถช่วยบรรเทำควำมทุกข์ สร้ำงควำมเบิกบำนให้แก่ผู้อื่น ได้ คำพูดเพียงคำเดียวอำจสำมำรถสร้ำงควำมเชื่อมั่น ปลอบประโลมใจ เพียงหนึ่งกำรกระทำอำจสำมำรถช่วยชีวิต คนได้ เพียงหนึ่งควำมคิดที่กรุณำ สำมำรถก่อให้เกิดควำมช่วยเหลือ เกื้อกูลกันและกันได้ ถ้ำหัวใจของมนุษย์มีควำม กรุณำ ทุก ๆ ควำมคิด คำพูด และกำรกระทำย่อมสำมำรถก่อให้เกิดปำฏิหำริย์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่นได้ 3. มุทิตา คือ ความยินดีเบิกบานอย่างจริงใจเมื่อเห็นผู้อื่นรวมทั้งตัวเรามีความสุข กล่ำวคือ เป็นควำมยินดีเบิกบำนที่แบ่งปันซึ่งกันและกันอย่ำงไม่เห็นแก่ตัว เป็นควำมยินดี เบิกบำนที่เจือไปด้วย ควำมสงบ และควำมพอเพียง เรำชื่นบำนเมื่อได้เห็นผู้อื่นมีควำมสุข ขณะเดียวกันตัวเรำก็ชื่นบำนไปกับควำมสุขของ ตัวเองด้วย 4. อุเบกขา หมำยถึง การไม่ยินดียินร้าย วางใจเป็ นกลาง ไม่ยึดมั่นถือมั่น นั่นคือ สำมำรถรักทุกคนได้อย่ำงเท่ำเทียม ไม่มีกำรแบ่งแยกระหว่ำงคนนั้น คนนี้หรือระหว่ำงตัวเองกับคนอื่น ผู้ปฏิบัติต้อง
  • 8. 8 หลอมตัวเองให้กลำยเป็นหนึ่งเดียวกับผู้อื่น เพื่อกำจัดอคติ กำรเปรียบเทียบและควำมไม่เท่ำเทียมทั้งหลำย จน สำมำรถรักได้อย่ำงกว้ำงขวำง ทั่วถึงและไม่มีเงื่อนไข ดังนั้น ควำมรักที่แท้จริง ต้องเป็นควำมรักที่สร้ำงสรรค์ และปรำศจำกทุกข์ นั่นคือ กำรดำเนิน ตำมหลักของพรหมวิหำร 4 หรือ องค์ประกอบแห่งรักแท้ 4 ประกำรนั่นเอง …….. กำรที่จะจัดกำรแก้ไข หรือดับควำมทุกข์ที่เกิดจำกควำมรักนั้น กระทำได้ โดยกำรเจริญควำมรักของตน ให้เป็นควำมรักแบบไม่มีเงื่อนไข ซึ่งเป็นควำมรักที่ไม่ เห็นแก่ตัวและไม่ก่อให้เกิดทุกข์ใด ๆ ควำมรักนั้นไม่ได้ทำให้ทุกข์ แต่ควำมยึดติด ต่ำงหำกที่ทำให้เรำทุกข์ จงอย่ำกลัวที่จะรัก แต่ควรฝึกพัฒนำควำมรักด้วยปัญญำ เมื่อคนรักจำกไปกับคนอื่น แน่นอนว่ำอำจจะทำใจให้ยอมรับได้ยำกและต้องใช้เวลำ แต่ให้คิด เสียว่ำ “รักแท้คือ ความรู้สึกเป็นสุขที่ได้รัก การที่เรารักใครสักคน นั่นคือ การที่เราต้องการให้เขามีความสุข แม้ว่าความสุขนั้น จะหมายความถึงความสุขที่เรามิได้เป็นส่วนหนึ่งของมันก็ตาม” (นวพันธ์, 2545: 144) เมื่อ คิดได้เช่นนี้เสียแล้วเรำเองจะรู้สึกสงบลง เมื่อคนที่เรำรักและเคยดีกับเรำ เขำไปมีควำมสุข เรำก็ควรจะยินดีด้วย เพรำะ อย่ำงน้อยเรำก็หมดกังวล หมดห่วง แต่ถ้าเรารู้ว่าเขาไปมีความสุข แต่เรายังอยากจะให้เขากลับคืนมา นั่น แสดงว่าแท้จริงแล้วเรารักตัวเองมากกว่า เราไม่ต้องการสูญเสียของที่คิดว่าเป็นของตนไป...นั่นมิใช่รักแท้ เพราะเจือด้วยความเห็นแก่ตัว การรักด้วยปัญญานั้น คือ การมีการจัดการที่ดีกับความรัก จัดการในเหตุกล่าวคือ ทา เหตุแห่งรักให้ไม่ประมาท มีความสุขที่ได้รักและปล่อยวางความยึดมั่นในสิ่งที่รัก .......มองสิ่งที่รักด้วย ปัญญา เข้าใจว่าสิ่งทั้งหลายในโลกนี้อยู่ภายใต้กฎของธรรมชาติที่เกิดขึ้นแล้วเปลี่ยนแปลง ไม่มีสิ่งใดไม่ เปลี่ยนแปลง เมื่อเราเข้าใจในกฎของกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง เราก็จะเข้าใจและไม่เข้าไปครอบครอง เป็ นเจ้าของ........การฝึ กที่จะเข้าใจสิ่งที่เรารักตามสภาพความเป็ นจริงนั้น จะช่วยพัฒนาความรักที่ไม่มี เงื่อนไขให้เกิดขึ้นแก่จิตใจเรา …………ความรักนี้เองที่จะช่วยเยียวยาความทุกข์ของเรา ให้แปรเปลี่ยน กลายมาเป็นความเมตตา กรุณา ทั้งต่อตัวเราเองและคนที่เรารัก......... “ความเข้าใจ” จะช่วยแปรเปลี่ยนความทุกข์ ให้กลายมาเป็นความเบิก บานและสงบเย็นในจิตใจ และเป็นต้นทางในการเผื่อแผ่ความสุขนี้แก่ผู้อื่นต่อไป เมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ สรรพสัตว์และสิ่งแวดล้อม 1. การเจริญเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ หลังจำกที่ผู้ฝึกปฏิบัติเมตตำภำวนำ สำมำรถรู้จักและเข้ำใจในควำมรักที่แท้จริง หรือรักที่ ไม่มีเงื่อนไขแล้ว รวมทั้งได้ลองฝึกปฏิบัติเมตตำภำวนำต่อตนเอง จนกระทั่งรู้จักรักและดูแลตนเองอย่ำงถูกต้องแล้วนั้น ในขั้นตอนต่อไป จะเป็นกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงควำมรัก ควำมเมตตำ ดังกล่ำวสู่เพื่อนมนุษย์ผู้ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมทุกข์ กับเรำ และยังคงต้องกำรควำมรัก และกำลังใจอีกมำกนัก
  • 9. 9 เมื่อเราสามารถพัฒนาเมตตา จนอยู่ในระดับที่สามารถสัมผัสได้ถึงความทุกข์ของ เพื่อนมนุษย์แล้วละก็ ขอจงพัฒนาความกรุณาเพื่อช่วยเหลือพวกเขาตามกาลังความสามารถ เท่ากับว่าเป็น การใช้พลังแห่งความรัก ความเข้าใจไปในทางสร้างสรรค์จนบังเกิดสิ่งที่ดีงามขึ้นในสังคม มุ่งมั่นที่จะ เปลี่ยนแปลงพลังแห่งเมตตาซึ่งเป็นความรู้สึกให้ปรากฏเป็นรูปธรรม อันจะน้อมนาความสุขความเจริญมา ให้แก่ผู้อื่น สุดท้ายแล้ว ความสุขใจที่มากกว่าจะคืนกลับสู่ตัวผู้ให้อย่างแน่นนอนทีเดียว 1.1 กุศโลบายเพื่อเจริญเมตตาภาวนา กำรเจริญเมตตำภำวนำหรือกำรพัฒนำ “ควำมรัก” “ควำมเมตตำ” ให้มีขึ้นในจิตใจนั้น มิใช่สิ่งที่ทำได้ง่ำย หรือเกิดขึ้นได้เอง หำกแต่เป็นเรื่องที่จะต้อง ฝึกฝนโดยปลุกมโนธรรม ให้เกิดขึ้นในจิตใจได้เสียก่อน นอกจำกวิธีพิจำรณำเพื่อสร้ำงควำมเมตตำในเบื้องต้นใน หัวข้อก่อน ๆ แล้ว ในหัวข้อนี้จะนำเสนอวิธีคิดเพื่อเสริมสร้ำงควำมเมตตำตำมแนวทำง ของพระพุทธศำสนำให้เกิดขึ้น ดังต่อไปนี้ ก. “ทุกสรรพชีวิตไม่ว่ำจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เมื่อเกิดมำแล้ว ล้วนแต่ต้องเผชิญกับ ควำมทุกข์ ทั้งควำมทุกข์กำย และทุกข์ใจ ด้วยกันทั้งสิ้น” ดังนั้นเมื่อทุกสรรพชีวิตล้วนอยู่บนกองทุกข์ด้วยกัน ทั้งนั้น เรำก็ไม่ควรที่จะไปเพิ่มควำมทุกข์ ให้แก่ทั้งตนเองและผู้อื่นเพิ่มขึ้นอีก แต่ควรที่จะเห็นอกเห็นใจและช่วยกันผ่อน คลำยควำมทุกข์แก่กันและกัน หรืออย่ำงน้อยเรำก็ไม่ควรไปสร้ำงทุกข์ซ้ำเติมหรือเพิ่มขึ้นให้ใคร อีกประกำรหนึ่ง ทุก สรรพสิ่งทั้งปวงล้วนรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น กลัวภัยอันตรำยเหมือนกันหมด ดังนั้น ผู้ที่มีเมตตำจึงไม่ควรไป เบียดเบียนหรือเพิ่มทุกข์ให้แก่ตนเองและผู้อื่นอีก ควรเอาใจเขามาใส่ใจเรา เรารักสุขเกลียดทุกข์ฉันใด ผู้อื่นก็เช่นกัน ข. “ทุกคนไม่มีใครดีครบทุกอย่ำง มีส่วนที่ดีบ้ำง ส่วนที่ชั่วบ้ำงปะปนกันไปเป็ น ธรรมดำ ดังนั้น มนุษย์จึงควรให้อภัยกัน” อย่ำไปคอยมองหรือจับผิดส่วนที่ไม่ดีของผู้อื่น เพรำะเป็นสำเหตุให้เกิด ควำมเกลียดชัง แตกแยกและทำให้จิตใจของเรำขุ่นมัว ดังเช่นที่ท่ำนพุทธทำสภิกขุ ได้กล่ำวไว้ว่ำ “เขามีส่วนเลวบ้างช่างหัวเขา จงเลือกเอาส่วนที่ดีเขามีอยู่ เป็นประโยชน์ต่อโลกบ้างยังน่าดู ส่วนที่ชั่วอย่าไปรู้ของเขาเลย จะหาคนมีดีโดยส่วนเดียว อย่ามัวเที่ยวค้นหาสหายเอ๋ย เหมือนเที่ยวหาหนวดเต่าตายเปล่าเอย ฝึกให้เคยมองแต่ดีมีคุณจริง” (ฟื้น,2542:298-299) ค. “ตำมควำมเชื่อทำงพระพุทธศำสนำนั้น มนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งปวงเคยเกี่ยวข้อง กัน” เป็นญำติพี่น้องกัน แต่ละคนเกิดมำแล้วหลำยภพหลำยชำติ ดังนั้นชีวิตจึงมิได้เริ่มต้น ที่ท้องมำรดำในชำตินี้แต่ ชีวิตได้มีมำนำนแล้ว และชีวิตก็ไม่ได้สิ้นสุดที่หลุมศพ แต่ชีวิตจะมีต่อไปเรื่อย ๆ ตำมวิบำกกรรมและสังสำรวัฏ....กำรที่ แต่ละคนเคยเกิดมำนับชำติไม่ถ้วนนั้น จึงเป็นธรรมดำที่จะต้องเกี่ยวข้องกัน เคยเป็นบิดำมำรดำบ้ำง เคยเป็นบุตรธิดำ บ้ำง เคยเป็นคู่ครอง พี่น้อง เพื่อนพ้อง กันบ้ำง ดังที่พระพุทธเจ้ำตรัสว่ำ “...ตลอดกำลนำนนี้ผู้ที่ไม่เคยเป็นมำรดำ ไม่ เคยเป็นบิดำ ไม่เคยเป็นพี่ชำย น้องชำย...ไม่เคยเป็นบุตรธิดำ มิใช่หำได้ง่ำยเลย” (ฟื้น,2542:299-300)
  • 10. 10 ดังนั้นในเมื่อทุกสรรพชีวิตอำจจะเคยผูกพันเกี่ยวข้องกันมำ จึงไม่ควรกระทำกำรเบียดเบียนทำ ร้ำยกัน คนที่เรำทำร้ำยเพรำะคิดว่ำเป็นศัตรูในชำตินี้ที่แท้อำจจะเคยเป็นบิดำมำรดำของเรำในอดีตชำติก็ได้ ดังนั้นเมื่อ ควำมจริงเป็นเช่นนี้จึงควรมีเมตตำเป็นพื้นฐำนในกำรอยู่ร่วมกันในสังคมจะเป็นทำงออกที่ดีที่สุด ง. “กำรหลอมรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับสิ่งที่ทำกำรเพ่งพิจำรณำ” กล่ำวคือ กำรที่ เรำจะทำควำมเข้ำใจต่อใครนั้น เรำจำเป็นต้องหลอมรวมให้ตัวเองเป็นหนึ่งเดียวกับผู้นั้น โดยกำรสมมุติว่ำเรำเป็นคน ๆ นั้น พร้อมทั้งทำกำรสำรวจ ทำควำมเข้ำใจถึงธำตุแท้ หรือรำกเหง้ำของนิสัยใจคอ อำรมณ์ ควำมรู้สึกของเขำ ไม่ ว่ำจะเป็น ควำมทุกข์ ควำมโกรธ ควำมเจ็บปวด ควำมท้อแท้ทุก ๆ อย่ำง รวมทั้งพิจำรณำถึงสภำพกำรณ์แวดล้อมทุก ๆ อย่ำงของคนผู้นั้น ควำมกดดัน ควำมยำกลำบำก ควำมเคร่งเครียด กำรดิ้นรนต่อสู้ ฯลฯ เมื่อเราเข้าใจได้ถึง สาเหตุแห่งความทุกข์ และสภาพจิตใจที่ทรมานของเขาแล้ว ความรักก็จะงอกเงยในตัวของเรา ทาให้ อยากที่จะช่วยเหลือผู้นั้น........ ความเข้าใจถือเป็นกุญแจดอกสาคัญ (ติช นัท ฮันห์, 2542: 56) ในกรณีที่ตัวของเรำถูกเบียดเบียน จำเป็นที่จะต้องอำศัยสติและปัญญำในกำรที่จะสำรวจดูควำม เจ็บปวดของผู้ทำร้ำยตน จนเห็นต้นตอของกำรกระทำที่เลวร้ำยเหล่ำนั้น และเห็นผู้ที่ทำร้ำยตนเป็นดั่งนักโทษ ที่ถูก ควำมโลภ โกรธ หลง กัดกร่อน จิตใจ แล้วหัวใจของเรำก็จะเปิดกว้ำง ทำให้ควำมกลัวและควำมเกลียดชัง ค่อย ๆ มลำยไป จ. “กำรรู้สึกกตัญญูต่อเพื่อนมนุษย์ในภำวะที่อิงอำศัยกัน” คือ กำรพัฒนำควำมรู้สึกกตัญญูกตเวทีต่อเพื่อนมนุษย์ โดยพิจำรณำจำกภำวะที่อิงอำศัยหรือพึ่งพิงกัน กล่ำวคือ ตระหนักว่ำ มนุษย์ทุก ๆ คน ล้วนมีบุญคุณต่อกันและกันในฐานะที่มีส่วนในการเป็นปัจจัยแก่กันและกัน เช่น นักศึกษำมหำวิทยำลัยของรัฐควรที่จะมีเมตตำ อ่อนน้อมถ่อมตน และไม่ดูถูกผู้อื่น ไม่ว่ำจะเป็นคนจน คนรวย หรือใคร ก็ตำม เพรำะนักศึกษำต้องตระหนักว่ำ กำรที่พวกเรำได้ศึกษำในมหำวิทยำลัยที่ใหญ่โตและทันสมัย พร้อมสรรพ ด้วยอุปกรณ์กำรศึกษำครบถ้วน ในค่ำเทอมที่ถูกกว่ำเอกชนนั้น ส่วนหนึ่งเป็นเพรำะเงินบำรุงจำกภำษีของประชำชน เป็นจำนวนมำก ดังนั้น นอกจำกนักศึกษำจะต้องไม่ดูถูก เหยียดหยำมใคร ๆ หรือยกตนข่มท่ำน แล้วยังต้องมีควำม กตัญญู และใส่ใจที่จะตอบแทนสิ่งที่ดี ๆ คืนสู่สังคมด้วย หรือ นำยจ้ำงก็ควรจะเมตตำต่อลูกจ้ำงและตระหนักถึง ควำมสำคัญของลูกจ้ำง ที่มีส่วนสำคัญที่ทำให้นำยจ้ำงร่ำรวยขึ้นมำได้ เป็นต้น ในเรื่องการเจริญเมตตาภาวนาด้วย การพัฒนาความกตัญญูนั้น นอกจากจะกระทาต่อเพื่อนมนุษย์แล้วยังสามารถพัฒนา ความกตัญญูดังกล่าว ต่อสรรพสัตว์และสิ่งแวดล้อมทั้งปวง ภายใต้ภาวะที่อาศัยกันได้อีกด้วย 1.2 ลาดับชั้นในการเจริญเมตตา ในกำรเจริญเมตตำภำวนำจะต้องฝึกไปตำมลำดับขั้นตอนเพื่อให้เกิด ประสิทธิภำพสูงสุดกล่ำวคือ 1. แผ่เมตตำให้แก่ตนเองก่อนเป็ นเบื้องต้น เพรำะตนเองย่อมเป็นที่ตั้งแห่งควำมสุขควำม เจริญทั้งปวง เช่น ภำวนำให้ตัวเรำมีควำมสุข ปรำศจำกทุกข์ทั้งปวง ขอให้เข้ำใจสัจธรรม และเรียนรู้ที่จะมีชีวิตที่ไม่มี ทุกข์อีกเลย รวมทั้ง ควรทะนุบำรุงร่ำงกำยตนเอง ละเว้นนำสิ่งที่เป็นโทษมำสู่ร่ำงกำย เป็นต้น
  • 11. 11 2. แผ่เมตตำแก่คนที่เรำรัก กำรเริ่มต้นแผ่เมตตำให้กับคนที่เรำรักก่อนนั้นเป็นกำรง่ำยที่จะมอบ จิตที่เปี่ยมรักของเรำไปให้ เมื่อเรำเริ่มต้นปฏิบัติจำกคนที่เรำรักก็จะสำมำรถเอำชนะเวทนำ หรือควำมรู้สึกที่รุนแรงได้ กล่ำวคือ สำมำรถระงับควำมโกรธ ควำมเกลียดและให้อภัยได้โดยง่ำย เนื่องจำกมีควำมชอบพอผูกพันกันเป็นทุนเดิม อยู่แล้วจำกนั้นก็แปรเปลี่ยนจิตที่อกุศล นั้นเป็นกำรให้อภัย และเผื่อแผ่ ควำมเมตตำ กรุณำ มุทิตำ และอุเบกขำ ออกไปได้โดยง่ำย 3. แผ่เมตตำแก่คนที่เรำไม่รัก ไม่ชัง หรือรู้สึกเฉยๆ ซึ่งถือว่ำไม่ใช่เรื่องง่ำย แต่สำมำรถทำให้ เกิดขึ้นได้ด้วยกุศโลบำยทั้ง 5 ข้อที่กล่ำวมำก่อนหน้ำที่ คนที่เรำรู้สึกเฉย ๆ นั้นสำมำรถเป็นตัวแทนของคนอื่นอีกนับ ล้ำน ๆ ทั้งที่รู้จัก และไม่รู้จัก เช่น ในสภำวะแห่งควำมขัดแย้งนี้เรำต้องกำรแผ่เมตตำไปให้ชำวบ้ำน 3 จังหวัดชำยแดน ภำคใต้ของประเทศไทย ก็ให้นึกถึงชำวบ้ำนชำยหรือหญิงที่นั่นสักคนที่กำลังเจ็บปวดและทุกข์ทรมำนจำกกำรก่อกำร ร้ำย จำกนั้นจึงสำรวจ รูป เวทนำ สัญญำ สังขำร และวิญญำณ ของชำวบ้ำนผู้นั้น แล้วเรำก็จะมองเห็นสภำพของ ประชำชนของทั้ง 3 จังหวัดที่กำลังเผชิญกับควำมทุกข์จำกกำรก่อกำรร้ำย หำกเรำสำมำรถเข้ำใจชำวบ้ำนคนนั้นได้ เรำก็จะรักและเข้ำใจชำวบ้ำนทั้งหมดได้ จำกนั้นจึงตั้งจิตแผ่เมตตำออกไป เมื่อนั้นควำมรักของผู้ปฏิบัติก็จะเป็นจริง เมตตำภำวนำมิใช่กำรคิดฝันเอำเอง แต่เป็นกำรลงมือปฏิบัติจริง ในกำรพินิจพิเครำะห์ดูสิ่งใด ควรทำด้วยควำมตั้งใจ และมีสติ เพรำะกำรมองที่แท้ มักจะก่อให้เกิดควำมรักที่แท้ด้วย 4. แผ่เมตตำแก่คนที่เกลียดชังเป็นศัตรูกัน ถือว่ำทำได้ยำกมำก ยิ่งเกลียดกันมำก ก็ยิ่งแผ่ได้ ยำกมำก วิธีที่ดีสุดคือ การหลอมรวมและสมมุติตนเองว่าเป็นคนผู้นั้น ตกอยู่ในสภาวะเดียวกับเขา พิจำรณำ ถึง ควำมสุข ควำมทุกข์ ควำมต้องกำร หรืออำรมณ์ต่ำง ๆ และ พิจำรณำถึงสภำพแวดล้อมที่คนผู้นั้นต้องเผชิญ ไม่ว่ำ จะเป็นควำมกดดัน บีบคั้น และอิทธิพลใด ที่ส่งผ่ำนถึงผู้ที่เป็นศัตรูของเรำ อันเป็นต้นกำเนิดแห่งบุคลิก อุปนิสัยและ อำรมณ์ กำรกระทำต่ำง ๆ ขณะปฏิบัติได้เช่นนั้น....... เราจะเห็นว่าผู้ที่เราเรียกว่าเป็นศัตรูจริง ๆ แล้วก็เป็น เพียงมนุษย์คนหนึ่งที่กาลังทุกข์ทรมานอยู่ .......จากนั้นจึงแผ่เมตตาสู่พวกเขา.......ทันทีที่เราเห็นและเข้าใจ ว่าผู้ที่เราเรียกว่าเป็นศัตรูนั้น กาลังเป็นทุกข์อยู่ด้วยเช่นกัน เราก็ต้องพร้อมที่จะรักและยอมรับคนผู้นั้น แล้ว ความคิดที่เป็ น “ปฏิปักษ์” จะมลายไปและถูกทดแทนด้วยสภาพความเป็ นจริงของคนที่กาลังทุกข์ และ ต้องการความเมตตากรุณาจากเรา กล่าวโดยสรุป การที่มนุษย์รู้จักที่จะเรียนรู้และพัฒนาความเข้าใจของตนในเรื่องของ “ความรัก” ได้อย่างถูกต้องนั้น นอกจากจะทาให้ตัวผู้ปฏิบัติเองได้มอง “ความรัก” ในโลกทัศน์ ที่กว้างขวางขึ้นแล้ว ยังสามารถเรียนรู้และเข้าใจถึงลักษณะอิทธิพลของความรักแบบต่าง ๆ ได้ กระทั่งสามารถใช้ปัญญาพิจารณาจนเข้าใจความหมายของ “รักแท้” อันเป็นวิถีทางนาไปสู่การเข้าใจตนเอง เข้าใจเพื่อนมนุษย์และสรรพสิ่งทั้งปวง ผู้ใดที่ได้เข้าใจและปฏิบัติพัฒนาความรักของตนในวิถีแห่งเมตตา หรือรักแท้ที่ปราศจากเงื่อนไขนี้แล้ว เขาผู้นั้นจะเต็มเปี่ ยมไปด้วยความสุข ความเบิกบาน และอิสระ.....
  • 12. 12 เมตตาจะช่วยน้อมนาความสงบ และความชื่นบานในขณะแห่งรัก รักได้อย่างสร้างสรรค์ กว้างขวาง และไม่ มีทุกข์ ความรักที่ประกอบด้วยปัญญานี้ จะช่วยหลอมรวมให้ผู้รักและผู้ที่ถูกรัก มีความสุขสงบและสันติ ร่วมกันได้อย่างแท้จริ สรุปคาสอนเรื่องความรักของศาสนาคริสต์ ศำสนำคริสต์ เป็นศำสนำแห่งควำมรักต่อพระเจ้ำ และมนุษยชำติ พระเยซูทรง สอนว่ำ “...จงรักพระเจ้ำ (พระยะโฮวำห์) อย่ำงสุดจิตสุดใจ” “..จงรักเพื่อนบ้ำนเหมือนรักตัวเอง” คาสอนอื่นๆ ***สอนให้มีเมตตากรุณาต่อกัน - “จงเมตตำปรำณี เหมือนพระบิดำของท่ำน...อย่ำกล่ำวโทษผู้อื่น จงรู้จักให้อภัย จงให้แล้วท่ำนจะได้รับ..” - “กำรรับใช้พระเจ้ำ ก็คือกำรรับใช้เพื่อนมนุษย์ มนุษย์ควรกำจัดควำมเห็นแก่ตัวแล้วอุทิศตัวเพื่อมนุษยชำติ” - “ถ้ำใครขอสิ่งใดจำกท่ำนก็จงให้ อย่ำเมินหน้ำหนี” ฯลฯ ***สอนให้รักกันในระหว่างพี่น้อง - “ผู้ใดโกรธพี่น้องของตน ผู้นั้นจะถูกพิพำกษำลงโทษ” ***สอนให้ทาความดีเพื่อความดี - “จงระวัง อย่ำทำศำสนกิจเพื่ออวดคนอื่น เมื่อท่ำนให้ทำนก็ไม้ต้องเป่ำแตรให้คนรู้....” ***สอนให้แสวงหาคุณธรรมยิ่งกว่าสิ่งอื่น - “อย่ำสะสมทรัพย์สมบัติไว้ในโลกนี้เพรำะตัวแมลงและสนิมอำจทำลำยได้ ขโมยอำจลักเอำไปได้ แต่จงสะสม ทรัพย์สมบัติไว้ในสวรรค์” ***สอนหลักการดารงชีวิต - ถ้ำท่ำนปรำรถนำจะให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อท่ำนอย่ำงไร ก็จงปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่ำงนั้น (GOLDEN RULE) - ขอให้ต่อต้ำนควำมอยุติธรรมทุกอย่ำงและจงเกลียดชังมัน - ควำมสุขของมนุษย์ไม่ได้อยู่ที่ทรัพย์สินเงินทอง แต่อยู่ที่จิตใจ อย่ำปล่อยใจให้ติดอยู่ในโลก กำรทำใจให้เป็น อิสระมำกเท่ำไหร่ ก็จงยิ่งมีควำมสุขมำกขึ้นเท่ำนั้น - อย่ำกล่ำวโทษเขำ แล้วเจ้ำจะไม่ถูกกล่ำวโทษ ฯลฯ ***ศำสนำคริสต์ได้ชื่อ ว่ำเป็นศำสนำแห่งควำมรัก ที่บริสุทธิ์ คือ ควำมรักใน พระเจ้ำ และควำมรักต่อ เพื่อน มนุษย์อย่ำงไม่มีเงื่อนไข....เป็นคำสอนเพื่อสันติภำพ เพื่อควำมสงบสุขทั้งแก่ตนเองและสังคม “.......คนที่สุขสบายแล้วไม่จาต้องอาศัยหมอ แต่คนทุกข์ยากเปรียบเหมือนคนไข้หนัก ต้องการหมอเป็นอย่างมาก เรา มามิใช่เพื่อลาภสักการะ แต่เพื่อช่วยบรรเทาความทุกข์ยาก...” / “...ผู้ใดในพวกท่านที่ไม่เคยทาผิด ก็ให้ผู้นั้นเอาหินขว้างนางก็แล้วกัน”
  • 13. 13 สรุปคาสอนเรื่องความรักของศาสนาอิสลาม ศำสนำอิสลำมเน้นเรื่องศรัทธำหรือควำมเชื่อในพระอัลเลำะห์ตำมที่ปรำกฏในคัมภีร์อัล-กุรอำน พระองค์ทรงสร้ำงโลกและสรรพสิ่ง ทรงรู้ ทรงเห็น ทรงได้ยินทุกสิ่งทั้งในที่แจ้งและที่ลับ ตลอดจนใจมนุษย์ว่ำกำลังคิด อะไร ทรงไม่ง่วง ไม่หลับ ทรงมีควำมเมตตำกรุณำ ควำมยุติธรรม และมุสลิมต้องเชื่อว่ำมีพระเจ้ำองค์เดียว คือ พระอัลเลำะห์ และต้องเคำรพรักพระองค์อย่ำงสุดจิตสุดใจ หลักคำสอนของศำสนำอิสลำมที่เน้นในเรื่องควำมมีเมตตำกรุณำต่อกัน เช่น “แท้จริงมนุษย์นั้นเป็นประชำชำติเดียวกัน ดังนั้นพระอัลเลำะห์จึงทรงตั้งบรรดำนบีเป็นผู้แจ้งข่ำวดี และผู้ตักเตือน ทั้งได้ประทำนคัมภีร์พร้อมด้วยสัจจธรรมลงมำยังสูเจ้ำทั้งหลำย” “มนุษย์ชำติเอ๋ย แท้จริงชุมชนของสูเจ้ำเป็นชุมชนเดียวกัน และเรำ(อัลเลำะห์) เป็นพระผู้อภิบำลของ สูเจ้ำ ดังนั้นจงเคำรพภักดีเรำ” “จงปฏิบัติดีต่อบิดำมำรดำ ญำติสนิท และเด็กกำพร้ำ และจงสนทนำกับผู้คนด้วยดี” “จงช่วยเหลือญำติสนิท เด็กกำพร้ำ คนขัดสน คนเดินทำง และผู้ขอ ตลอดจนถึงเชลย” “ใครที่สังหำรชีวิตผู้ใดที่ไม่ใช่ฆำตกร หรือผู้ก่อควำมเสียหำยให้แก่ประเทศชำติ ก็เท่ำกับได้สังหำร ชีวิตมนุษย์ทั้งหมด แต่ผู้ใดได้ช่วยชีวิตหนึ่งก็เท่ำกับช่วยชีวิตมนุษย์ทั้งหลำยด้วย” “จงให้อำหำรแก่คนหิว.....จงบอกทำงให้แก่ผู้หลงทำง เก็บสิ่งอันตรำยออกจำกทำงเดิน และจ่ำย ค่ำแรงก่อนเหงื่อแห้ง” นอกจำกนี้คำสอนในเรื่องกำรบริจำคทำนให้แก่ผู้ขัดสน หรือ ซะกำต และกำรถือศีลอด ก็เป็นข้อ ปฏิบัติเพื่อขัดเกลำจิตใจของชำวมุสลิมให้บริสุทธิ์ และเผื่อแผ่ควำมรัก ควำมเมตตำให้แก่เพื่อนมนุษย์อีกด้วย เป็นต้น ขอบคุณค่ะ ^__^ เอกสำรประกอบกำรเรียน เรื่อง “ศิลปะแห่งควำมรัก” ประกอบวิชำ “ศิลปะกำรดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น” โดย อำจำรย์ สรณีย์ สำยศร ภำควิชำปรัชญำและศำสนำ คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์