SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  35
พุทธศาสนามหายาน
นิกายสุขาวดี
Pure Land
School of
Buddhism
ประวัติความเป็นมา
พุทธศาสนานิกายสุขาวดี (PURE LAND) แปลว่า ดินแดน
บริสุทธิ์ หรือ วิสุทธิภูมิ
ชื่อเรียกในภาษาจีน >> จิ้งถู่ (Ching T’u) /ภาษาญี่ปุ่น >>
โจโดะ (Jodo) หรือ ชิน (Shin)
เป็นนิกายหรือสานักที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีน พ.ศ. ๘๐๐
มีเป้ าหมาย คือ การได้ไปอยู่ในพุทธเกษตรสุขาวดีของ
พระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง ที่มีนามว่า “อมิตาภะ”
www.philosophychicchic.com
นิกายสุขาวดีแยกตัวออกมาจากพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน
ดั้งเดิมที่เกิดในประเทศอินเดีย >> นิกายมาธยมิกะ และ
โยคาจาระ
พระเสวียนจั้ง หรือ พระถังซัมจั๋ง ได้นาคาสอนและพระสูตร
ของมหายานจากอินเดียมาเผยแพร่ในประเทศจีน ทาให้ชาว
จีนมีความสนใจมากขึ้น
เชื่อกันว่า นิกายสุขาวดี ได้รับการถ่ายทอด สืบต่อมาจาก
อินเดีย โดยอ้างถึงข้อความในคัมภีร์ที่กล่าวถึงดินแดนสุขาวดี
เช่น ทศภูมิวิภาษา / อมิตายุสูตรอุปเทศะ
 เนื้อหาคาสอนของนิกายสุขาวดี
มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง
มีเพียงชื่อคัมภีร์ที่เกี่ยวข้องกับ
แนวคิดเรื่องดินแดนสุขาวดี
คัมภีร์ที่เกี่ยวข้องกับนิกายสุขาวดี
ได้รับการแปลเป็นภาษาจีน พ.ศ.
๖๐๐-๘๐๐
การนาแนวคิดเรื่องดินแดน
สุขาวดี มาก่อตั้งเป็นนิกายสุขาวดี
น่าจะเกิดขึ้นที่ประเทศจีน
คณาจารย์สาคัญ
ท่านฮุย-หยวน (Hui – yuan) >> เป็นผู้ก่อตั้งนิกายสุขาวดี
มีชีวิตอยู่ปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ในราชวงศ์จิ้น (Jin)
ตะวันออก พักที่ วัดตังนิ่มยี่ บนภูเขาลู้ซัว มณฑลกังไส
ท่านและศิษย์ปฏิบัติสวดมนต์ กาหนดจิตเพ่งมองสระบัว ให้
เป็นสระทิพย์ในดินแดนสุขาวดี โดยการภาวนาเอ่ยนามของ
พระอมิตาภะเป็นอารมณ์
ก่อตั้ง สมาคมบัวขาว หรือ สุขาวดี พ.ศ. ๙๔๕ >> ปฏิบัติ ทา
สมาธิ ตั้งความปรารถนาที่จะไปเกิดในดินแดนสุขาวดี
www.philosophychicchic.com
www.philosophychicchic.com
คณาจารย์สาคัญ
ท่าน ถัน-หลวน (T’an – Luan) (พ.ศ. ๑๐๑๙-๑๑๙๕) เป็นอาจารย์
คนสาคัญของนิกายสุขาวดีและเผยแพร่นิกายออกไปในหมู่ชาว
จีนอย่างกว้างขวาง
ได้พบและได้รับการถ่ายทอดคาสอนจากท่านโพธิรุจิ ชาวอินเดีย
เชื่อมโยงหลักคาสอนของนิกายสุขาวดี กับแนวคิดเรื่องความ
เสื่อมแห่งพระพุทธศาสนา >> เมื่อกาลเวลายิ่งผ่านไป
พระพุทธศาสนายิ่งเสื่อมโทรมลงถึงที่สุด >> มนุษย์เต็มไปด้วย
กิเลสตัณหา >> ไม่ปฏิบัติธรรม ไม่บรรลุมรรคผลใดๆ >> มนุษย์
ไม่มีกาลังพอจะช่วยเหลือตัวเองได้....
www.philosophychicchic.com
ยุคปัจจุบัน เป็นช่วงที่พระ
ธรรมเสื่อม มนุษย์ไม่สามารถ
ปฏิบัติธรรม และตรัสรู้ได้ด้วย
ตนเอง
ดังนั้น หลักธรรมที่เหมาะสม
ในยุคนี้คือ คาสอนของนิกาย
สุขาวดี
บรรลุความรอดด้วยการพึ่งพิง
อานาจการช่วยเหลือของ
พระพุทธเจ้า
www.philosophychicchic.com
คณาจารย์สาคัญ
ท่านเต้า-โจ (Tao-Ch’o) และ ศิษย์ คือ ชาน-เต้า (Shan-Tao)
เป็นผู้นาของนิกายสุขาวดีในการเผยแพร่คาสอนแบบง่ายๆ
เน้นศรัทธาต่อพระอมิตาภพุทธเจ้าเป็นหลัก
สอนว่า วิธีที่จะช่วยให้คนไปเกิดยังดินแดนสุขาวดี ก็คือ การ
เอ่ยนามของพระอมิตาภพุทธเจ้า
ถ้าเอ่ยด้วยใจที่แน่วแน่มุ่งสู่ดินแดนสุขาวดี จนจิตกลายเป็น
หนึ่งเดียว ไม่แบ่งแยก บุคคลก็สามารถเอาชนะบาปและ
ความชั่วร้ายในยุคเลื่อมได้
www.philosophychicchic.com
www.philosophychicchic.com
แนวคิดสาคัญของนิกายสุขาวดี
พระสูตรสาคัญของนิกายสุขาวดี มี ๓ พระสูตร คือ
มหาสุขาวตีวยูหสูตร >> ธรรมกรโพธิสัตว์และมหาปณิธาน ๔๘
ประการ // การประกอบกุศลกรรมและท่องพระนามพระอมิตาภ
พุทธเจ้า จะนาไปสู่ดินแดนสุขาวดี
จุลสุขาวตีวยูหสูตร >> บุคคลสามารถไปเกิดในดินแดนสุขาวดีได้
ด้วยการท่องบ่นพระนามของพระอมิตาภะในช่วงเวลาหนึ่งก่อน
สิ้นใจ
อมิตายุรธยานสูตร >> คุณธรรม ๓ ด้าน คือ คุณธรรมทางโลก
ศีล และการปฎฎิบัติบารมี ๖ ทาให้ไปอุบัติในดินแดนสุขาวดี
www.philosophychicchic.com
แนวคิดสาคัญของนิกายสุขาวดี
 พระสูตรในนิกายสุขาวดีล้วนแสดงให้ผู้คนเห็นถึงความ
มหัศจรรย์ของพุทธเกษตร (Buddha Land) ที่เรียกว่า สุขาวดี
ให้ผู้คนบังเกิดความศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า นามว่า อมิตาภะ
และให้มีเป้ าหมายสุดท้ายอยู่ที่การได้ไปอุบัติอยู่ในดินแดน
แห่งนั้น เพื่อให้พระอมิตาภะ สั่งสอน แนะนาการปฏิบัติ
ธรรมจนกว่าจะหลุดพ้น
แนวคิดสาคัญของนิกายสุขาวดี >> ดินแดนสุขาวดี ,
พระอมิตาภะ, วิธีปฏิบัติที่จะเข้าสู่ดินแดนสุขาวดี
www.philosophychicchic.com
วิสุทธิภูมิ เป็ นโลกธาตุที่บริสุทธิ์ เป็ น
ภูมิหรือดินแดนที่พระพุทธเจ้าและ
พระโพธิสัตว์ในรูปสัมโภคกายจานวน
มากมายอุบัติขึ้นเพื่อแสดงธรรมโปรด
เวไนยสัตว์
เรียกอีกอย่างว่า “พุทธเกษตร” >> มี
ความงดงามราวกับสวรรค์ สมบูรณ์
ด้วยสิ่งดีงามและไม่มีความทุกข์
พุทธเกษตรไม่ใช่ภาวะนิพพาน แต่
เป็ นภาวะที่อยู่กึ่งกลางระหว่างสวรรค์
กับนิพพาน >> เป็ นแดนพักระหว่าง
โลกกับนิพพาน
๑. แนวคิดเรื่องดินแดนสุขาวดีพุทธเกษตร
ผู้ใดอุบัติอยู่ในพุทธเกษตร ถือว่าอยู่เหนือ
กรรม ไม่ต้องดิ้นรนทรมานในสังสารวัฏ
ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิด
ผู้นั้นสามารถใช้ชีวิตอย่างสุขสงบอยู่ที่พุทธ
เกษตรจนกว่าจะหลุดพ้นเมื่อใดที่หลุดพ้น
แล้ว สามารถตั้งจิตอธิษฐานเพื่อกลับมา
ช่วยเหลือเวไนยสัตว์ได้
พุทธเกษตรที่มีชื่อเสียงและมหาชนใฝ่ ฝัน
จะไปให้ถึงมากที่สุด คือ พุทธเกษตร ของ
พระอมิตาภพุทธเจ้า >> ดินแดนสุขาวดี
๑.แนวคิดเรื่องดินแดนสุขาวดีพุทธเกษตร
 ที่ได้ชื่อว่าสุขาวดีก็เพราะผู้อยู่ในดินแดนนี้ย่อมไม่มีความทุกข์เลย แต่เสวย
สุขอยู่เสมอ สุขาวดีเป็ นดินแดนที่สวยงามและสุขสบาย ล้อมรอบด้วยภูเขา
แก้ว กาแพงแก้ว มีสระโบกขรณีที่ประดับด้วยแก้วมณี มีดนตรีทิพย์บรรเลง
อยู่เสมอ ได้ยินเสียงพระธรรมเทศนาของพระอมิตาภพุทธเจ้าและพระ
โพธิสัตว์เสมอจนกว่าจะหลุดพ้น บรรยากาศต่าง ๆ นี้ทาให้ผู้อาศัยเกิด
พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ และสังฆานุสสติ และตั้งใจปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุ
นิพพานในดินแดนแห่งนี้
๑. แนวคิดเรื่องดินแดนสุขาวดีพุทธเกษตร
การบาเพ็ญบุญปฏิบัติธรรมเพื่อสั่งสม
บารมีให้เพียงพอ และการผูกจิตมั่นต่อ
แดนนี้ (เช่น การภาวนาถึงพระนามของ
พระอมิตาภพุทธเจ้า) จะสามารถทาให้
ไปเกิดในแดนนี้ได้ ซึ่งจะได้มีโอกาสฟัง
ธรรมจากพระพุทธเจ้า และปฏิบัติธรรม
จนบรรลุมรรคผลเข้านิพพานพ้นทุกข์
โดยเด็ดขาดได้ต่อไป
แนวคิด “วิสุทธิภูมิ” พุทธศาสนาเถรวาท
คิดอย่างไร?
ภาวะของพรหมชั้นสุทธาวาส
๑. แนวคิดเรื่องดินแดนสุขาวดีพุทธเกษตร
พระอมิตาภะพุทธเจ้า ทรงพระสัมโภคกายพุทธเจ้า (พระธยานิ
พุทธะ) ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในพุทธศาสนาแบบมหายาน ทั้ง
นิกายวัชรยาน และ มหายานนิกายต่างๆ
พระอมิตาภะพุทธะ ทรงเป็ นสัญลักษณ์แห่ง ปัญญาที่ทาให้มนุษย์
รู้จักผิดชอบชั่วดี และเลือกปฏิบัติในทางที่ถูก ประทับอยู่ทาง
ตะวันตกของพุทธมณฑล ณ ดินแดนพุทธเกษตรสุขาวดี
ภาพวาดของพระองค์มักวาดให้พระหัตถ์ยาว หมายถึง
ความสามารถที่จะเอื้อมพาสรรพสัตว์เข้าสู่แดนสุขาวดี มีพระชิวหา
ยาวตะหวัดได้รอบโลก อันหมายถึงความสามารถในการแสดง
ธรรมโปรดสัตว์ได้ทั่วโลก
๒. แนวคิดเรื่อง พระอมิตาภพุทธเจ้า
พระอมิตาภพุทธเจ้า มีเมตตาต่อสรรพสัตว์อย่างไม่มีประมาณ ทรง
ตั้งสัตย์อธิษฐานว่า ผู้ใดก็ตามที่มีความเชื่อมั่นอย่างแท้จริงต่อ
พระองค์ จะได้ไปเกิด ณ ดินแดนสุขาวดี
พระอมิตาภพุทธเจ้าเนรมิตพระธยานิโพธิสัตว์ ๒ พระองค์จากอานาจ
ฌาน คือ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และ พระมหาสถามปราปต์
โพธิสัตว์ เพื่อช่วยในการช่วยเหลือสรรพสัตว์
ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายานเกือบทุกนิกาย โดยเฉพาะ
ชาวจีนมีความปรารถนาสูงสุดว่า เมื่อตายไปแล้วขอให้ไปเกิดในแดน
สุขาวดีของพระอมิตาภะพุทธเจ้า จนทาให้เกิด “นิกายสุขาวดี”
๒. แนวคิดเรื่อง พระอมิตาภพุทธเจ้า
 พระอวโลกิเตศวร เป็นพระโพธิสัตว์ในนิกายมหายานที่ได้รับการบูชา
แพร่หลายมากที่สุด สาเนียงจีนเรียกพระองค์ว่า กวนอิม,ญี่ปุ่นเรียก กันนอน
,ทิเบต เรียก เชนเรซิก
 เป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตา
 คาว่า “อวโลกิเตศวร” มาจากคาสันสกฤตสองคาคือ อวโลกิต กับ อิศวร
แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ที่เฝ้ ามองจากเบื้องบน หรือพระผู้ทัศนาดูโลก ซึ่งหมายถึง
เฝ้ าดูแลสรรพสัตว์ที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์
 พุทธศาสนิกชนชาวจีนจะรู้จักในพระนามว่า กวนซีอิม หรือ กวนอิม ซึ่งก็มี
ความหมาย คือผู้เพ่งสดับเสียงแห่งโลก หรือ พระผู้สดับฟังเสียงคร่าครวญ
ของสัตว์โลก (ที่กาลังตกอยู่ในห้วงทุกข์)
๓. แนวคิดเรื่องพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
 ในคัมภีร์พระสูตรหลายเล่ม >> หากได้เอ่ยขาน
พระนามของพระองค์ด้วยความศรัทธา ถึงแม้จะ
ตกในหลุมเพลิง หลุมเพลิงจะกลายเปลี่ยนเป็นสาย
ชล หากจมน้าจะได้พบที่ตื้นเขิน หากพลัดตกจาก
เขาสูง ก็จะล่องลอยอยู่ในอากาศ ฯลฯ
 พระอวโลกิเตศวรสามารถนิรมาณกายในลักษณะ
ต่างๆ เพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์และสั่งสอนธรรม
เป็นทั้งภาคบุรุษ ภาคสตรี ไปจนถึงปางอันแสดง
ลักษณาการที่ดุร้าย ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการ
ปราบมารที่นิยมมี ๓๓ ปาง เป็นปางที่สาคัญ
ที่สุด ๖ ปาง เช่นปางพันมือพันกร
๓. แนวคิดเรื่องพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
 พระโพธิสัตว์องค์นี้มีชื่อปรากฏชัดใน
คัมภีร์สัทธรรมปุณฑริกสูตร และวิมล
เกียรตินิทเทสสูตร คัมภีร์สุขาวดีวยูห
สูตร
 พระองค์ทรงเป็นอัครสาวกเบื้องซ้าย
ของพระอมิตาภพุทธะ
 เป็นโพธิสัตว์แห่งดวงปัญญา ที่สามารถ
รู้ถึงความต้องการทางสติปัญญาของทุก
คน
๔. พระมหาสถามปราปโพธิสัตว์
คัมภีร์อมิตายุรธยานสูตร
บุคคลที่จะไปบังเกิดในดินแดนสุขาวดี จะต้องมีคุณธรรม ดังนี้
๑. มีความกตัญญู
๒. เคารพครูอาจารย์
๓. มีจิตกรุณาต่อสรรพสัตว์
๔. ปฏิบัติกุศลกรรมบถ ๑๐
๕. ตั้งปณิธานถือพระรัตนตรัยเป็ นที่พึ่ง
๖. รักษาศีล
๗. ตั้งใจมั่นเพื่อบรรลุโพธิญาณ
๘. เชื่อในกฎแห่งกรรม
๙. ศึกษาและท่องสูตรมหายาน
๑๐. ชักชวนให้ผู้อื่นศึกษาพระสูตรมหายาน
๕. หลักปฏิบัติเพื่อเข้าถึงดินแดนสุขาวดี
คัมภีร์ อมิตายุอุปเทศศาสตร์ ของท่านวสุพันธุ >> บุคคลที่
ปรารถนาจะไปบังเกิดในดินแดนสุขาวดีต้องมีคุณธรรม ดังนี้
๑. เคารพพระอมิตาภพุทธเจ้าเป็ นนิตย์
๒. ยกย่องพระเกียรติและท่องพระนามของพระองค์ เช่น สวดว่า
“นโม อมิตาภะ”
๓. ตั้งสัจจะ และอธิษฐานเพื่อไปบังเกิดในแดนสุขาวดี
๔. มีจิตตั้งมั่นในพระอมิตาภะ พระโพธิสัตว์และดินแดนสุขาวดี
๕. มีจิตเมตตากรุณา ปรารถนาให้สรรพสัตว์เห็นแจ้งในสัจธรรม
*** สรุป >> มีศรัทธา มีปณิธาน และกระทาความดี (กุศลกรรม
– เริ่มจากท่องพระนามเป็ นต้นไป)
๕. หลักปฏิบัติเพื่อเข้าถึงดินแดนสุขาวดี
คัมภีร์สมาธินิเทศสูตร ของท่านชานเต้า เสนอวิธีปฏิบัติเพื่อ
ชาระบาปและนาไปอุบัติในแดนสุขาวดี :
๑. การเอ่ยพระนามของพระอมิตาภพุทธเจ้า ***
๒. การท่องพระสูตรมหายาน
๓. การทาสมาธิโดยใช้จิตเพ่งที่องค์
พระอมิตาภะ
๔. การเคารพสักการะพระพุทธปฏิมา
๕. การสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ
๕. หลักปฏิบัติเพื่อเข้าถึงดินแดนสุขาวดี
๑.คาสอนแบบสุขาวดีสนับสนุนแนวคิดแบบเทวนิยมหรือไม่ ?
๒. หากคาสอนสุขาวดีเน้นศรัทธาเพื่อให้อานาจภายนอกช่วย
ให้หลุดพ้น หมายความว่า ปัญญาเป็ นเรื่องที่ไม่จาเป็ นใช่
หรือไม่ ? เพราะดูเหมือนเราไม่ต้องอาศัยปัญญาอะไรเลยใน
การนาไปสู่ดินแดนสุขาวดี
๓. คาสอนของสุขาวดีขัดกับคาสอนของชาวพุทธทั่วไปในเรื่อง
กฎแห่งกรรมหรือไม่? >> เพียงการเอ่ยพระนามของ
พระอมิตาภะ คนบาปที่มีศรัทธาก็สามารถหลุดพ้นได้ ?
ปัญหาที่เกี่ยวกับนิกายสุขาวดี -
เป็ นพุทธหรือไม่?
สานักสุขาวดีและพระอมิตาภะ เป็ นที่รู้จักของชาวพุทธจีน
และญี่ปุ่ นมากกว่าสานักพุทธอื่น และอิทธิพลของคาสอนก็
ยังคงแทรกซึมอยู่มากในวัฒนธรรมของพวกเขา
การเผยแพร่คาสอนของนิกายสุขาวดีทาให้ผู้คนจานวนมาก
หลั่งไหลเข้ามาในพุทธศาสนา
การให้ความหวังกับผู้คนหรือสร้างศรัทธาไม่ใช่ความผิด
ตราบเท่าที่เป้ าหมายของคาสอนไม่ถูกบิดเบือน
ขอบคุณค่ะ ^___^
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Contenu connexe

Tendances

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 

Tendances (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 

Similaire à พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกchaichaichaiyoyoyo
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teachพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teachSarod Paichayonrittha
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
087ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
087ความสำคัญของพระพุทธศาสนา087ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
087ความสำคัญของพระพุทธศาสนาniralai
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 

Similaire à พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teachพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
087ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
087ความสำคัญของพระพุทธศาสนา087ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
087ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

Plus de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism