SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)<br />   Porifera มาจากภาษาละติน (porudus + ferre = pore + bearing) หมายถึงสัตว์ที่มีรูพรุน สัตว์ในไฟลัมนี้ ได้แก่ ฟองน้ำ (sponge) มีช่องว่างภายในลำตัว (spongocoel) น้ำจะผ่านเข้าทางรูพรุน (ostium) ซึ่งมีอยู่ทั่วตัวสู่ช่องว่างภายในลำตัวและผ่านออกจากตัวทางช่องน้ำไหลออก (osculum) โดยฟองน้ำส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในน้ำเค็มพบประมาณ 10, 000 สปีชีส์ บางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำจืดพบประมาณ 50 สปีชีส์ ลักษณะที่สำคัญ 1. มีสมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) 2. ผนังตัวของฟองน้ำประกอบด้วยเซลล์ที่มาเรียงตัวเป็นชั้นของเซลล์ 2 ชั้น คือชั้นเซลล์ผิว ด้านนอกหรือเอพิเดอมิส (epidermis) ประกอบด้วยเซลล์เพียงชนิดเดียวคือ พินาโคไซท์ (pinacocyte) จึงอาจเรียกเซลล์ผิวนี้ว่า พินาโคเดิร์ม (pinacoderm) ส่วนด้านเซลล์บุช่องกลางตัว คือ โคเอโนไซท์ (choanocyte or collar cell ) จึงเรียกว่า โคเอโนเดิร์ม (choanoderm) โคเอโนไซท์เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายปลอกคอ มีแส้ (flagellum) 1 เส้นทำหน้าที่ให้น้ำไหลเวียนและย่อยอาหาร ระหว่างชั้นของเซลล์ 2 ชั้นนี้จะมีสารคล้ายวุ้น (gelatinous matrix) แทรกอยู่ ซึ่งจะมีเซลล์ที่เคลื่อนที่แบบอะมีบา(amoeboid cell) หรือ อะมีโบไซท์ (amoebocyte) เรียกชั้นนี้ว่า มีโซฮิล (mesohyl) หรือมีเซนไคม์ (mesenchyme) 3. ฟองน้ำมีระบบโครงร่างค้ำจุนให้คงรูปอยู่ได้ บางชนิดแข็งเรียกว่า ขวาก (spicule) ซึ่งมักเป็น หินปูน และซิลิกา (silica) เช่นฟองน้ำหินปูน ฟองน้ำแก้ว บางชนิดเป็นเส้นใยโปรตีน เรียกว่า สพองจิน (spongin) ได้แก่ ฟองน้ำถูตัว 4. ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท ซึ่งจะอาศัยการไหลเวียนน้ำเป็นตัวการสำคัญในกระบวนการเหล่านี้ ฟองน้ำกินอาหารโดยกรองอาหารที่อยู่ในน้ำผ่านเข้ารูพรุนรอบตัว หายใจโดยการดูดซึมออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำผ่านผนังลำตัว 5. มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกัน และจะได้ตัวอ่อนที่มี ซิเลียว่ายน้ำได้ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ (budding) 6. ตัวเต็มวัยจะเกาะอยู่กับที่ (sessile animal)<br />ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) <br />        สัตว์ในไฟลัมนี้เรียนกกันทั่วไปว่าฟองน้ำ ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในน้ำเค็ม มีบางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำจืด มีลักษณะสำคัญดังนี้ <br />มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) <br />มีเนื้อเยื่อ 2-3 ชั้น ชั้นนอกทำหน้าที่เป็นผิวลำตัวหรือเอพิเดอร์มิส ส่วนชั้นในประกอบด้วย เซลล์พิเศษเรียกว่า โคแอโนไซต์ (Choanocyte หรือ Collar cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีแฟเจลลา 1 เส้นและ มีปลอกคอ (Collar) บุอยู่โดยรอบเรียกเซลล์ในชั้นนี้ว่า ชั้นแกสทรัล (Gastral layer) <br />ทางเดินอาหารเป็นแบบช่องร่างแห (Channel network)ซึ่งประกอบ ด้วยรูเปิดเล็กๆออสเทีย(Ostia)ที่บริเวณผิวลำตัวรอบตัวทำหน้าที่เป็น ทางน้ำไหลเข้าภายในตัวและมีรูเปิดขนาดใหญ่ออสคิวลัม(Osculum) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำไหลออกจากตัว <br />        เซลล์โคแอโนไซต์(Choanocyte)ที่บุอยู่ที่ผิวด้านในจะพัดโบกแฟเจลลาอยู่ ตลอดเวลาทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำเข้าทางรูออสเทีย(Ostia)และไหล ออกจากตัวทางออสคิวลัม(Osculum)การไหลเวียนของน้ำผ่านลำตัวนี้ก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการคือ <br />อาหารต่างๆได้แก่พวกแพลงก์ตอนจะไหลเข้ามาพร้อมกับน้ำและถูก เซลล์โคแอโนไซต์จับไว้และย่อยเพื่อส่งไปเลี้ยงเซลล์ทั่วร่างกายต่อไป <br />เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซขึ้นทั่วตัวโดยอาศัยการแพร่ของก๊าซออกซิเจน จากน้ำเข้าสู่เซลล์และคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ออกสู่น้ำรอบตัว <br />เกิดการขับถ่ายของเสียต่างๆจากเซลล์ทั่วร่างกายและของเสียเหล่านี้ จะออกมาพร้อมกับน้ำที่ไหลออกมาทางOsculum <br />ทำให้เกิดการผสมพันธุ์โดยสเปิร์มที่เข้ามาตอนน้ำไหลเข้าจะถูกเซลล์ โคแอโนไซต์จับไว้และจะเกิดการผสมพันธุ์กับไข่ต่อไป <br />4. ไม่มีระบบหมุนเวียนระบบหายใจระบบขับถ่ายและระบบประสาท โดยเฉพาะโดยทั่วไปอาศัยการไหลเวียนของน้ำเป็นตัวการสำคัญใน ขบวนการเหล่านี้5. มีโครงร่างภายใน (Endoskeleton) เรียกว่าหนามฟองน้ำ (Spicule) ซึ่งมักจะเป็นสารพวกหินปูนหรือแก้ว(Silica)บางชนิดมีโครงร่างเป็นพวกใย โปรตีน (Spongin) ทำให้ตัวฟองน้ำมีลักษณะนุ่มนิ่ม6. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อและการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศโดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกันและจะได้ตัวอ่อนที่ มีขนซีเลียว่ายน้ำได้และต่อมาก็หาที่เกาะเจริญเป็นตัวฟองน้ำเต็มวัยต่อไป                 สัตว์จำพวกฟองน้ำมักจะเจริญและอาศัยอยู่ในบริเวณแนวหินปะการัง ดังนั้นฟองน้ำจึงเป็น ส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดสมดุลทางธรรมชาติเช่นเดียวกัน พวกซีเลนเทอเรตภายในตัวหรือโพรงของฟองน้ำจะเป็นที่อยูอาศัยของสัตว์ น้ำขนาดเล็กและพวกลูกกุ้ง ลูกปู ลูกปลา ทำให้มันรอดพ้นจากการถูกจับกิน และทำให้มีโอกาสที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้มากยิ่งขึ้นนอกจากนี้ ฟองน้ำถู ตัวสามารถเลี้ยงและผลิตเป็นอุตสาหกรรมและส่งออกที่มีราคาสูง ทำรายได้ให้แก่ผู้ผลิตได้มากๆดังนั้นการเลี้ยงฟองน้ำจึงเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง ที่ทำรายได้ให้แก่ชาวประมง <br />  <br />ฟองน้ำทะเล (Marine sponges) <br />1.  การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดที่ไม่มีกระดูกสันหลัง1.1  การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดที่ไม่มีทางเดินอาหารฟองน้ำ (Sponge)  เป็นสัตว์ในไฟลัมพอริเฟอรา  ไม่มีปากและทวารหนักที่แท้จริง  ทางเดินอาหารเป็นแบบร่างแห (Channel network)  ซึ่งไม่ใช่ทางเดินอาหารที่แท้จริง  เป็นเพียงรูเปิดเล็กๆ ข้างลำตัว  เรียกว่า ออสเทีย (Ostia)  ทำหน้าที่เป็นทางน้ำไหลเข้าสู่ลำตัวฟองน้ำเป็นการนำอาหารเข้าสู่ลำตัว  ส่วนรูเปิดด้านบนลำตัว เรียกว่า ออสคิวลัม (Osculum) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำออก ผนังด้านในมีเซลล์พิเศษ เรียกว่า เซลล์โคแอนโนไซต์ (Choanocyte) โบกพัดเซลล์อยู่ตลอดเวลา  ทำให้เกิดการไหลเวียนของอาหาร ตัวเซลล์โคแอนโนไซต์นำอาหารเข้าสู่เซลล์โดยฟาโกไซโทซีส (Phagocytosis)เกิดเป็นฟูดแวคิวโอลและมีการย่อยอาหารภายในฟูดแวคิวโอลนอกจากนี้ยังพบเซลล์ บริเวณใกล้กับเซลล์โคแอโนไซต์มีลักษณะคล้ายอะมีบา เรียกว่า อะมีโบไซต์ (Amoebocyte)  สามารถนำสารอินทรีย์ขนาดเล็กเข้าสู่เซลล์และย่อยอาหารภายในเซลล์แล้วส่งอาหารที่ย่อยแล้วไปยังเซลล์อื่นได้                            ภาพที่  2.1  แสดงโครงสร้างภายในของฟองน้ำ  เซลล์โคแอโนไซด์ในการจับ                           อาหารแบบฟาโกไซโทซีสย่อย  แล้วส่งอาหารต่ออะมีโบไซต์<br />ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) <br />        สัตว์ในไฟลัมนี้เรียนกกันทั่วไปว่าฟองน้ำ ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในน้ำเค็ม มีบางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำจืด มีลักษณะสำคัญดังนี้ <br />มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) <br />มีเนื้อเยื่อ 2-3 ชั้น ชั้นนอกทำหน้าที่เป็นผิวลำตัวหรือเอพิเดอร์มิส ส่วนชั้นในประกอบด้วย เซลล์พิเศษเรียกว่า โคแอโนไซต์ (Choanocyte หรือ Collar cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีแฟเจลลา 1 เส้นและ มีปลอกคอ (Collar) บุอยู่โดยรอบเรียกเซลล์ในชั้นนี้ว่า ชั้นแกสทรัล (Gastral layer) <br />ทางเดินอาหารเป็นแบบช่องร่างแห (Channel network)ซึ่งประกอบ ด้วยรูเปิดเล็กๆออสเทีย(Ostia)ที่บริเวณผิวลำตัวรอบตัวทำหน้าที่เป็น ทางน้ำไหลเข้าภายในตัวและมีรูเปิดขนาดใหญ่ออสคิวลัม(Osculum) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำไหลออกจากตัว <br />        เซลล์โคแอโนไซต์(Choanocyte)ที่บุอยู่ที่ผิวด้านในจะพัดโบกแฟเจลลาอยู่ ตลอดเวลาทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำเข้าทางรูออสเทีย(Ostia)และไหล ออกจากตัวทางออสคิวลัม(Osculum)การไหลเวียนของน้ำผ่านลำตัวนี้ก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการคือ <br />อาหารต่างๆได้แก่พวกแพลงก์ตอนจะไหลเข้ามาพร้อมกับน้ำและถูก เซลล์โคแอโนไซต์จับไว้และย่อยเพื่อส่งไปเลี้ยงเซลล์ทั่วร่างกายต่อไป <br />เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซขึ้นทั่วตัวโดยอาศัยการแพร่ของก๊าซออกซิเจน จากน้ำเข้าสู่เซลล์และคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ออกสู่น้ำรอบตัว <br />เกิดการขับถ่ายของเสียต่างๆจากเซลล์ทั่วร่างกายและของเสียเหล่านี้ จะออกมาพร้อมกับน้ำที่ไหลออกมาทางOsculum <br />ทำให้เกิดการผสมพันธุ์โดยสเปิร์มที่เข้ามาตอนน้ำไหลเข้าจะถูกเซลล์ โคแอโนไซต์จับไว้และจะเกิดการผสมพันธุ์กับไข่ต่อไป <br />4. ไม่มีระบบหมุนเวียนระบบหายใจระบบขับถ่ายและระบบประสาท โดยเฉพาะโดยทั่วไปอาศัยการไหลเวียนของน้ำเป็นตัวการสำคัญใน ขบวนการเหล่านี้5. มีโครงร่างภายใน (Endoskeleton) เรียกว่าหนามฟองน้ำ (Spicule) ซึ่งมักจะเป็นสารพวกหินปูนหรือแก้ว(Silica)บางชนิดมีโครงร่างเป็นพวกใย โปรตีน (Spongin) ทำให้ตัวฟองน้ำมีลักษณะนุ่มนิ่ม6. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อและการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศโดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกันและจะได้ตัวอ่อนที่ มีขนซีเลียว่ายน้ำได้และต่อมาก็หาที่เกาะเจริญเป็นตัวฟองน้ำเต็มวัยต่อไป                 สัตว์จำพวกฟองน้ำมักจะเจริญและอาศัยอยู่ในบริเวณแนวหินปะการัง ดังนั้นฟองน้ำจึงเป็น ส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดสมดุลทางธรรมชาติเช่นเดียวกัน พวกซีเลนเทอเรตภายในตัวหรือโพรงของฟองน้ำจะเป็นที่อยูอาศัยของสัตว์ น้ำขนาดเล็กและพวกลูกกุ้ง ลูกปู ลูกปลา ทำให้มันรอดพ้นจากการถูกจับกิน และทำให้มีโอกาสที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้มากยิ่งขึ้นนอกจากนี้ ฟองน้ำถู ตัวสามารถเลี้ยงและผลิตเป็นอุตสาหกรรมและส่งออกที่มีราคาสูง ทำรายได้ให้แก่ผู้ผลิตได้มากๆดังนั้นการเลี้ยงฟองน้ำจึงเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง ที่ทำรายได้ให้แก่ชาวประมง <br />  <br />เซลล์ของฟองน้ำมีการรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์<br /> ได้เเก่ พวกฟองน้ำ ( sponge ) ส่วนใหญ่เป็นสัตว์น้ำเค็ม อาศัยอยู่ในทะเลตื้นๆ รูปร่างฟองน้ำไม่สมมาตร หรืออาจมีสมมาตรเเบบรัศมีก็ได้ ที่ผนังลำตัวมีโครงค้ำจุน เป็นเเท่งเเข็งขนาดเล็กๆเรียกว่า สปิคุล ( spicule ) เเทรกอยู่ ซึ่งเป็นสารประกอบได้หลายชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของฟองน้ำ - ฟองน้ำหินปูน สปิคูลเป็นเเท่งหินปูน - ฟองน้ำเเก้ว สปิคุลเป็นสารซิลิกา - ฟองน้ำถูตัว สปิคุลเป็นสารสปองจิน ( คล้ายโปรตีน )  <br /> <br />   <br /> <br /> เซลล์ร่างกาย ไม่มีการจัดเป็นเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ ลำตัวเป็นโพรง เรียกว่า สปองโกซิล ( spongocoel ) มีช่องเปิดด้านบนเรียกว่า ออสคูลัม ( osculum ) ร่างกายฟองน้ำประกอบด้วยเซลล์ 2 ชั้นได้เเก่ - ชั้นของเซลล์ผิว มีเซลล์ด้านข้างลักษณะเป็นรูเรียกว่า พอโรไซต์( Porocyte ) - ชั้นของเซลล์โคเเอโนไซต์ บุโพรงลำตัว มีสารเเทรกกลางมีเซลล์อะมีโบไซต์ล่องลอยอยู่      ตัวเต็มวัยเกาะนิ่งอยู่กับที่ กินอาหารพวกสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ทีกรองได้จากกรพเเสน้ำที่ไหลผ่านโพรงลำตัว ( น้ำไหลเข้าผ่านพอโรไซต์ --> สู่โพรงกลางลำตัว --> ไหลออกทางช่องเปิดทางด้านบน ) ผนังด้านในของสปองโกซิลบุด้วย เซลล์โคเเอนโนไซต์หรือเซลล์คอลลาร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายปากขอทำหน้าที่จับอาหาร ( อาหารจากเซลล์โคเเอโนไซต์ --> ส่งให้เซลล์อะมีโบไซต์ --> ส่งให้เซลล์อื่นๆ )ฟองน้ำกินอาหารขนาดเล็กได้เท่านั้นเพราะย่อยอาหารภายในเซลล์อะมีโบไซต์การสืบพันธุ์ของฟองน้ำ- เเบบไม่อาศัยเพศ โดยการเเตกหน่อ ( สร้างเจมมูล )- การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศส่วนใหญ่เป็นการปฎิสนธิระหว่างสเปิร์มกับไข่จากตัวเดียวกัน <br /> <br />ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)<br />   Porifera มาจากภาษาละติน (porudus + ferre = pore + bearing) หมายถึงสัตว์ที่มีรูพรุน สัตว์ในไฟลัมนี้ ได้แก่ ฟองน้ำ (sponge) มีช่องว่างภายในลำตัว (spongocoel) น้ำจะผ่านเข้าทางรูพรุน (ostium) ซึ่งมีอยู่ทั่วตัวสู่ช่องว่างภายในลำตัวและผ่านออกจากตัวทางช่องน้ำไหลออก (osculum) โดยฟองน้ำส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในน้ำเค็มพบประมาณ 10, 000 สปีชีส์ บางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำจืดพบประมาณ 50 สปีชีส์ ลักษณะที่สำคัญ 1. มีสมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) 2. ผนังตัวของฟองน้ำประกอบด้วยเซลล์ที่มาเรียงตัวเป็นชั้นของเซลล์ 2 ชั้น คือชั้นเซลล์ผิว ด้านนอกหรือเอพิเดอมิส (epidermis) ประกอบด้วยเซลล์เพียงชนิดเดียวคือ พินาโคไซท์ (pinacocyte) จึงอาจเรียกเซลล์ผิวนี้ว่า พินาโคเดิร์ม (pinacoderm) ส่วนด้านเซลล์บุช่องกลางตัว คือ โคเอโนไซท์ (choanocyte or collar cell ) จึงเรียกว่า โคเอโนเดิร์ม (choanoderm) โคเอโนไซท์เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายปลอกคอ มีแส้ (flagellum) 1 เส้นทำหน้าที่ให้น้ำไหลเวียนและย่อยอาหาร ระหว่างชั้นของเซลล์ 2 ชั้นนี้จะมีสารคล้ายวุ้น (gelatinous matrix) แทรกอยู่ ซึ่งจะมีเซลล์ที่เคลื่อนที่แบบอะมีบา(amoeboid cell) หรือ อะมีโบไซท์ (amoebocyte) เรียกชั้นนี้ว่า มีโซฮิล (mesohyl) หรือมีเซนไคม์ (mesenchyme) 3. ฟองน้ำมีระบบโครงร่างค้ำจุนให้คงรูปอยู่ได้ บางชนิดแข็งเรียกว่า ขวาก (spicule) ซึ่งมักเป็น หินปูน และซิลิกา (silica) เช่นฟองน้ำหินปูน ฟองน้ำแก้ว บางชนิดเป็นเส้นใยโปรตีน เรียกว่า สพองจิน (spongin) ได้แก่ ฟองน้ำถูตัว 4. ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท ซึ่งจะอาศัยการไหลเวียนน้ำเป็นตัวการสำคัญในกระบวนการเหล่านี้ ฟองน้ำกินอาหารโดยกรองอาหารที่อยู่ในน้ำผ่านเข้ารูพรุนรอบตัว หายใจโดยการดูดซึมออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำผ่านผนังลำตัว 5. มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกัน และจะได้ตัวอ่อนที่มี ซิเลียว่ายน้ำได้ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ (budding) 6. ตัวเต็มวัยจะเกาะอยู่กับที่ (sessile animal)<br />1.2 การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง<br />1.2.1 การย่อยอาหารในสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์<br />รูปแสดงระบบย่อยอาหารของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์<br />ชนิดของสัตว์ลักษณะทางเดินอาหารและการย่อยอาหาร1. ฟองน้ำ- ยังไม่มีทางเดินอาหาร แต่มีเซลล์พิเศษอยู่ผนังด้านในของฟองน้ำ เรียกว่า เซลล์ปลอกคอ (Collar Cell) ทำหน้าที่จับอาหาร แล้วสร้างแวคิวโอลอาหาร (Food Vacuole) เพื่อย่อยอาหาร<br />
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

En vedette

ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)Churuthikorn Kummoo
 
แบบทดสอบที่ 6
แบบทดสอบที่ 6แบบทดสอบที่ 6
แบบทดสอบที่ 6Churuthikorn Kummoo
 
ไฟลัมแอเนลิดา(Phylum Annelida)
ไฟลัมแอเนลิดา(Phylum Annelida)ไฟลัมแอเนลิดา(Phylum Annelida)
ไฟลัมแอเนลิดา(Phylum Annelida)Churuthikorn Kummoo
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศWan Kanlayarat
 

En vedette (8)

ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
 
แบบทดสอบที่ 6
แบบทดสอบที่ 6แบบทดสอบที่ 6
แบบทดสอบที่ 6
 
ไฟลัมแอเนลิดา(Phylum Annelida)
ไฟลัมแอเนลิดา(Phylum Annelida)ไฟลัมแอเนลิดา(Phylum Annelida)
ไฟลัมแอเนลิดา(Phylum Annelida)
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 

Similaire à ไฟลัมพอริเฟอรา

อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสารPinNii Natthaya
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
ปลูกปะการัง
ปลูกปะการังปลูกปะการัง
ปลูกปะการังsuphakrit
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 

Similaire à ไฟลัมพอริเฟอรา (20)

ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
 
ปลูกปะการัง
ปลูกปะการังปลูกปะการัง
ปลูกปะการัง
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 

ไฟลัมพอริเฟอรา

  • 1. ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)<br />   Porifera มาจากภาษาละติน (porudus + ferre = pore + bearing) หมายถึงสัตว์ที่มีรูพรุน สัตว์ในไฟลัมนี้ ได้แก่ ฟองน้ำ (sponge) มีช่องว่างภายในลำตัว (spongocoel) น้ำจะผ่านเข้าทางรูพรุน (ostium) ซึ่งมีอยู่ทั่วตัวสู่ช่องว่างภายในลำตัวและผ่านออกจากตัวทางช่องน้ำไหลออก (osculum) โดยฟองน้ำส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในน้ำเค็มพบประมาณ 10, 000 สปีชีส์ บางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำจืดพบประมาณ 50 สปีชีส์ ลักษณะที่สำคัญ 1. มีสมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) 2. ผนังตัวของฟองน้ำประกอบด้วยเซลล์ที่มาเรียงตัวเป็นชั้นของเซลล์ 2 ชั้น คือชั้นเซลล์ผิว ด้านนอกหรือเอพิเดอมิส (epidermis) ประกอบด้วยเซลล์เพียงชนิดเดียวคือ พินาโคไซท์ (pinacocyte) จึงอาจเรียกเซลล์ผิวนี้ว่า พินาโคเดิร์ม (pinacoderm) ส่วนด้านเซลล์บุช่องกลางตัว คือ โคเอโนไซท์ (choanocyte or collar cell ) จึงเรียกว่า โคเอโนเดิร์ม (choanoderm) โคเอโนไซท์เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายปลอกคอ มีแส้ (flagellum) 1 เส้นทำหน้าที่ให้น้ำไหลเวียนและย่อยอาหาร ระหว่างชั้นของเซลล์ 2 ชั้นนี้จะมีสารคล้ายวุ้น (gelatinous matrix) แทรกอยู่ ซึ่งจะมีเซลล์ที่เคลื่อนที่แบบอะมีบา(amoeboid cell) หรือ อะมีโบไซท์ (amoebocyte) เรียกชั้นนี้ว่า มีโซฮิล (mesohyl) หรือมีเซนไคม์ (mesenchyme) 3. ฟองน้ำมีระบบโครงร่างค้ำจุนให้คงรูปอยู่ได้ บางชนิดแข็งเรียกว่า ขวาก (spicule) ซึ่งมักเป็น หินปูน และซิลิกา (silica) เช่นฟองน้ำหินปูน ฟองน้ำแก้ว บางชนิดเป็นเส้นใยโปรตีน เรียกว่า สพองจิน (spongin) ได้แก่ ฟองน้ำถูตัว 4. ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท ซึ่งจะอาศัยการไหลเวียนน้ำเป็นตัวการสำคัญในกระบวนการเหล่านี้ ฟองน้ำกินอาหารโดยกรองอาหารที่อยู่ในน้ำผ่านเข้ารูพรุนรอบตัว หายใจโดยการดูดซึมออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำผ่านผนังลำตัว 5. มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกัน และจะได้ตัวอ่อนที่มี ซิเลียว่ายน้ำได้ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ (budding) 6. ตัวเต็มวัยจะเกาะอยู่กับที่ (sessile animal)<br />ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) <br />        สัตว์ในไฟลัมนี้เรียนกกันทั่วไปว่าฟองน้ำ ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในน้ำเค็ม มีบางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำจืด มีลักษณะสำคัญดังนี้ <br />มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) <br />มีเนื้อเยื่อ 2-3 ชั้น ชั้นนอกทำหน้าที่เป็นผิวลำตัวหรือเอพิเดอร์มิส ส่วนชั้นในประกอบด้วย เซลล์พิเศษเรียกว่า โคแอโนไซต์ (Choanocyte หรือ Collar cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีแฟเจลลา 1 เส้นและ มีปลอกคอ (Collar) บุอยู่โดยรอบเรียกเซลล์ในชั้นนี้ว่า ชั้นแกสทรัล (Gastral layer) <br />ทางเดินอาหารเป็นแบบช่องร่างแห (Channel network)ซึ่งประกอบ ด้วยรูเปิดเล็กๆออสเทีย(Ostia)ที่บริเวณผิวลำตัวรอบตัวทำหน้าที่เป็น ทางน้ำไหลเข้าภายในตัวและมีรูเปิดขนาดใหญ่ออสคิวลัม(Osculum) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำไหลออกจากตัว <br />        เซลล์โคแอโนไซต์(Choanocyte)ที่บุอยู่ที่ผิวด้านในจะพัดโบกแฟเจลลาอยู่ ตลอดเวลาทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำเข้าทางรูออสเทีย(Ostia)และไหล ออกจากตัวทางออสคิวลัม(Osculum)การไหลเวียนของน้ำผ่านลำตัวนี้ก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการคือ <br />อาหารต่างๆได้แก่พวกแพลงก์ตอนจะไหลเข้ามาพร้อมกับน้ำและถูก เซลล์โคแอโนไซต์จับไว้และย่อยเพื่อส่งไปเลี้ยงเซลล์ทั่วร่างกายต่อไป <br />เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซขึ้นทั่วตัวโดยอาศัยการแพร่ของก๊าซออกซิเจน จากน้ำเข้าสู่เซลล์และคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ออกสู่น้ำรอบตัว <br />เกิดการขับถ่ายของเสียต่างๆจากเซลล์ทั่วร่างกายและของเสียเหล่านี้ จะออกมาพร้อมกับน้ำที่ไหลออกมาทางOsculum <br />ทำให้เกิดการผสมพันธุ์โดยสเปิร์มที่เข้ามาตอนน้ำไหลเข้าจะถูกเซลล์ โคแอโนไซต์จับไว้และจะเกิดการผสมพันธุ์กับไข่ต่อไป <br />4. ไม่มีระบบหมุนเวียนระบบหายใจระบบขับถ่ายและระบบประสาท โดยเฉพาะโดยทั่วไปอาศัยการไหลเวียนของน้ำเป็นตัวการสำคัญใน ขบวนการเหล่านี้5. มีโครงร่างภายใน (Endoskeleton) เรียกว่าหนามฟองน้ำ (Spicule) ซึ่งมักจะเป็นสารพวกหินปูนหรือแก้ว(Silica)บางชนิดมีโครงร่างเป็นพวกใย โปรตีน (Spongin) ทำให้ตัวฟองน้ำมีลักษณะนุ่มนิ่ม6. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อและการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศโดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกันและจะได้ตัวอ่อนที่ มีขนซีเลียว่ายน้ำได้และต่อมาก็หาที่เกาะเจริญเป็นตัวฟองน้ำเต็มวัยต่อไป                 สัตว์จำพวกฟองน้ำมักจะเจริญและอาศัยอยู่ในบริเวณแนวหินปะการัง ดังนั้นฟองน้ำจึงเป็น ส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดสมดุลทางธรรมชาติเช่นเดียวกัน พวกซีเลนเทอเรตภายในตัวหรือโพรงของฟองน้ำจะเป็นที่อยูอาศัยของสัตว์ น้ำขนาดเล็กและพวกลูกกุ้ง ลูกปู ลูกปลา ทำให้มันรอดพ้นจากการถูกจับกิน และทำให้มีโอกาสที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้มากยิ่งขึ้นนอกจากนี้ ฟองน้ำถู ตัวสามารถเลี้ยงและผลิตเป็นอุตสาหกรรมและส่งออกที่มีราคาสูง ทำรายได้ให้แก่ผู้ผลิตได้มากๆดังนั้นการเลี้ยงฟองน้ำจึงเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง ที่ทำรายได้ให้แก่ชาวประมง <br />  <br />ฟองน้ำทะเล (Marine sponges) <br />1. การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดที่ไม่มีกระดูกสันหลัง1.1 การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดที่ไม่มีทางเดินอาหารฟองน้ำ (Sponge) เป็นสัตว์ในไฟลัมพอริเฟอรา  ไม่มีปากและทวารหนักที่แท้จริง ทางเดินอาหารเป็นแบบร่างแห (Channel network) ซึ่งไม่ใช่ทางเดินอาหารที่แท้จริง เป็นเพียงรูเปิดเล็กๆ ข้างลำตัว เรียกว่า ออสเทีย (Ostia) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำไหลเข้าสู่ลำตัวฟองน้ำเป็นการนำอาหารเข้าสู่ลำตัว ส่วนรูเปิดด้านบนลำตัว เรียกว่า ออสคิวลัม (Osculum) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำออก ผนังด้านในมีเซลล์พิเศษ เรียกว่า เซลล์โคแอนโนไซต์ (Choanocyte) โบกพัดเซลล์อยู่ตลอดเวลา ทำให้เกิดการไหลเวียนของอาหาร ตัวเซลล์โคแอนโนไซต์นำอาหารเข้าสู่เซลล์โดยฟาโกไซโทซีส (Phagocytosis)เกิดเป็นฟูดแวคิวโอลและมีการย่อยอาหารภายในฟูดแวคิวโอลนอกจากนี้ยังพบเซลล์ บริเวณใกล้กับเซลล์โคแอโนไซต์มีลักษณะคล้ายอะมีบา เรียกว่า อะมีโบไซต์ (Amoebocyte) สามารถนำสารอินทรีย์ขนาดเล็กเข้าสู่เซลล์และย่อยอาหารภายในเซลล์แล้วส่งอาหารที่ย่อยแล้วไปยังเซลล์อื่นได้ ภาพที่ 2.1 แสดงโครงสร้างภายในของฟองน้ำ เซลล์โคแอโนไซด์ในการจับ อาหารแบบฟาโกไซโทซีสย่อย แล้วส่งอาหารต่ออะมีโบไซต์<br />ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) <br />        สัตว์ในไฟลัมนี้เรียนกกันทั่วไปว่าฟองน้ำ ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในน้ำเค็ม มีบางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำจืด มีลักษณะสำคัญดังนี้ <br />มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) <br />มีเนื้อเยื่อ 2-3 ชั้น ชั้นนอกทำหน้าที่เป็นผิวลำตัวหรือเอพิเดอร์มิส ส่วนชั้นในประกอบด้วย เซลล์พิเศษเรียกว่า โคแอโนไซต์ (Choanocyte หรือ Collar cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีแฟเจลลา 1 เส้นและ มีปลอกคอ (Collar) บุอยู่โดยรอบเรียกเซลล์ในชั้นนี้ว่า ชั้นแกสทรัล (Gastral layer) <br />ทางเดินอาหารเป็นแบบช่องร่างแห (Channel network)ซึ่งประกอบ ด้วยรูเปิดเล็กๆออสเทีย(Ostia)ที่บริเวณผิวลำตัวรอบตัวทำหน้าที่เป็น ทางน้ำไหลเข้าภายในตัวและมีรูเปิดขนาดใหญ่ออสคิวลัม(Osculum) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำไหลออกจากตัว <br />        เซลล์โคแอโนไซต์(Choanocyte)ที่บุอยู่ที่ผิวด้านในจะพัดโบกแฟเจลลาอยู่ ตลอดเวลาทำให้เกิดการไหลเวียนของน้ำเข้าทางรูออสเทีย(Ostia)และไหล ออกจากตัวทางออสคิวลัม(Osculum)การไหลเวียนของน้ำผ่านลำตัวนี้ก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการคือ <br />อาหารต่างๆได้แก่พวกแพลงก์ตอนจะไหลเข้ามาพร้อมกับน้ำและถูก เซลล์โคแอโนไซต์จับไว้และย่อยเพื่อส่งไปเลี้ยงเซลล์ทั่วร่างกายต่อไป <br />เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซขึ้นทั่วตัวโดยอาศัยการแพร่ของก๊าซออกซิเจน จากน้ำเข้าสู่เซลล์และคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ออกสู่น้ำรอบตัว <br />เกิดการขับถ่ายของเสียต่างๆจากเซลล์ทั่วร่างกายและของเสียเหล่านี้ จะออกมาพร้อมกับน้ำที่ไหลออกมาทางOsculum <br />ทำให้เกิดการผสมพันธุ์โดยสเปิร์มที่เข้ามาตอนน้ำไหลเข้าจะถูกเซลล์ โคแอโนไซต์จับไว้และจะเกิดการผสมพันธุ์กับไข่ต่อไป <br />4. ไม่มีระบบหมุนเวียนระบบหายใจระบบขับถ่ายและระบบประสาท โดยเฉพาะโดยทั่วไปอาศัยการไหลเวียนของน้ำเป็นตัวการสำคัญใน ขบวนการเหล่านี้5. มีโครงร่างภายใน (Endoskeleton) เรียกว่าหนามฟองน้ำ (Spicule) ซึ่งมักจะเป็นสารพวกหินปูนหรือแก้ว(Silica)บางชนิดมีโครงร่างเป็นพวกใย โปรตีน (Spongin) ทำให้ตัวฟองน้ำมีลักษณะนุ่มนิ่ม6. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อและการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศโดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกันและจะได้ตัวอ่อนที่ มีขนซีเลียว่ายน้ำได้และต่อมาก็หาที่เกาะเจริญเป็นตัวฟองน้ำเต็มวัยต่อไป                 สัตว์จำพวกฟองน้ำมักจะเจริญและอาศัยอยู่ในบริเวณแนวหินปะการัง ดังนั้นฟองน้ำจึงเป็น ส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดสมดุลทางธรรมชาติเช่นเดียวกัน พวกซีเลนเทอเรตภายในตัวหรือโพรงของฟองน้ำจะเป็นที่อยูอาศัยของสัตว์ น้ำขนาดเล็กและพวกลูกกุ้ง ลูกปู ลูกปลา ทำให้มันรอดพ้นจากการถูกจับกิน และทำให้มีโอกาสที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้มากยิ่งขึ้นนอกจากนี้ ฟองน้ำถู ตัวสามารถเลี้ยงและผลิตเป็นอุตสาหกรรมและส่งออกที่มีราคาสูง ทำรายได้ให้แก่ผู้ผลิตได้มากๆดังนั้นการเลี้ยงฟองน้ำจึงเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง ที่ทำรายได้ให้แก่ชาวประมง <br />  <br />เซลล์ของฟองน้ำมีการรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์<br /> ได้เเก่ พวกฟองน้ำ ( sponge ) ส่วนใหญ่เป็นสัตว์น้ำเค็ม อาศัยอยู่ในทะเลตื้นๆ รูปร่างฟองน้ำไม่สมมาตร หรืออาจมีสมมาตรเเบบรัศมีก็ได้ ที่ผนังลำตัวมีโครงค้ำจุน เป็นเเท่งเเข็งขนาดเล็กๆเรียกว่า สปิคุล ( spicule ) เเทรกอยู่ ซึ่งเป็นสารประกอบได้หลายชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของฟองน้ำ - ฟองน้ำหินปูน สปิคูลเป็นเเท่งหินปูน - ฟองน้ำเเก้ว สปิคุลเป็นสารซิลิกา - ฟองน้ำถูตัว สปิคุลเป็นสารสปองจิน ( คล้ายโปรตีน )  <br /> <br />   <br /> <br /> เซลล์ร่างกาย ไม่มีการจัดเป็นเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ ลำตัวเป็นโพรง เรียกว่า สปองโกซิล ( spongocoel ) มีช่องเปิดด้านบนเรียกว่า ออสคูลัม ( osculum ) ร่างกายฟองน้ำประกอบด้วยเซลล์ 2 ชั้นได้เเก่ - ชั้นของเซลล์ผิว มีเซลล์ด้านข้างลักษณะเป็นรูเรียกว่า พอโรไซต์( Porocyte ) - ชั้นของเซลล์โคเเอโนไซต์ บุโพรงลำตัว มีสารเเทรกกลางมีเซลล์อะมีโบไซต์ล่องลอยอยู่      ตัวเต็มวัยเกาะนิ่งอยู่กับที่ กินอาหารพวกสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ทีกรองได้จากกรพเเสน้ำที่ไหลผ่านโพรงลำตัว ( น้ำไหลเข้าผ่านพอโรไซต์ --> สู่โพรงกลางลำตัว --> ไหลออกทางช่องเปิดทางด้านบน ) ผนังด้านในของสปองโกซิลบุด้วย เซลล์โคเเอนโนไซต์หรือเซลล์คอลลาร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายปากขอทำหน้าที่จับอาหาร ( อาหารจากเซลล์โคเเอโนไซต์ --> ส่งให้เซลล์อะมีโบไซต์ --> ส่งให้เซลล์อื่นๆ )ฟองน้ำกินอาหารขนาดเล็กได้เท่านั้นเพราะย่อยอาหารภายในเซลล์อะมีโบไซต์การสืบพันธุ์ของฟองน้ำ- เเบบไม่อาศัยเพศ โดยการเเตกหน่อ ( สร้างเจมมูล )- การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศส่วนใหญ่เป็นการปฎิสนธิระหว่างสเปิร์มกับไข่จากตัวเดียวกัน <br /> <br />ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)<br />   Porifera มาจากภาษาละติน (porudus + ferre = pore + bearing) หมายถึงสัตว์ที่มีรูพรุน สัตว์ในไฟลัมนี้ ได้แก่ ฟองน้ำ (sponge) มีช่องว่างภายในลำตัว (spongocoel) น้ำจะผ่านเข้าทางรูพรุน (ostium) ซึ่งมีอยู่ทั่วตัวสู่ช่องว่างภายในลำตัวและผ่านออกจากตัวทางช่องน้ำไหลออก (osculum) โดยฟองน้ำส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในน้ำเค็มพบประมาณ 10, 000 สปีชีส์ บางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำจืดพบประมาณ 50 สปีชีส์ ลักษณะที่สำคัญ 1. มีสมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) 2. ผนังตัวของฟองน้ำประกอบด้วยเซลล์ที่มาเรียงตัวเป็นชั้นของเซลล์ 2 ชั้น คือชั้นเซลล์ผิว ด้านนอกหรือเอพิเดอมิส (epidermis) ประกอบด้วยเซลล์เพียงชนิดเดียวคือ พินาโคไซท์ (pinacocyte) จึงอาจเรียกเซลล์ผิวนี้ว่า พินาโคเดิร์ม (pinacoderm) ส่วนด้านเซลล์บุช่องกลางตัว คือ โคเอโนไซท์ (choanocyte or collar cell ) จึงเรียกว่า โคเอโนเดิร์ม (choanoderm) โคเอโนไซท์เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายปลอกคอ มีแส้ (flagellum) 1 เส้นทำหน้าที่ให้น้ำไหลเวียนและย่อยอาหาร ระหว่างชั้นของเซลล์ 2 ชั้นนี้จะมีสารคล้ายวุ้น (gelatinous matrix) แทรกอยู่ ซึ่งจะมีเซลล์ที่เคลื่อนที่แบบอะมีบา(amoeboid cell) หรือ อะมีโบไซท์ (amoebocyte) เรียกชั้นนี้ว่า มีโซฮิล (mesohyl) หรือมีเซนไคม์ (mesenchyme) 3. ฟองน้ำมีระบบโครงร่างค้ำจุนให้คงรูปอยู่ได้ บางชนิดแข็งเรียกว่า ขวาก (spicule) ซึ่งมักเป็น หินปูน และซิลิกา (silica) เช่นฟองน้ำหินปูน ฟองน้ำแก้ว บางชนิดเป็นเส้นใยโปรตีน เรียกว่า สพองจิน (spongin) ได้แก่ ฟองน้ำถูตัว 4. ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท ซึ่งจะอาศัยการไหลเวียนน้ำเป็นตัวการสำคัญในกระบวนการเหล่านี้ ฟองน้ำกินอาหารโดยกรองอาหารที่อยู่ในน้ำผ่านเข้ารูพรุนรอบตัว หายใจโดยการดูดซึมออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำผ่านผนังลำตัว 5. มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกัน และจะได้ตัวอ่อนที่มี ซิเลียว่ายน้ำได้ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ (budding) 6. ตัวเต็มวัยจะเกาะอยู่กับที่ (sessile animal)<br />1.2 การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง<br />1.2.1 การย่อยอาหารในสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์<br />รูปแสดงระบบย่อยอาหารของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์<br />ชนิดของสัตว์ลักษณะทางเดินอาหารและการย่อยอาหาร1. ฟองน้ำ- ยังไม่มีทางเดินอาหาร แต่มีเซลล์พิเศษอยู่ผนังด้านในของฟองน้ำ เรียกว่า เซลล์ปลอกคอ (Collar Cell) ทำหน้าที่จับอาหาร แล้วสร้างแวคิวโอลอาหาร (Food Vacuole) เพื่อย่อยอาหาร<br />