SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  56
การพยาบาลผู้ป่วยใส่
Port A Cath
วิทยากร
Katekanok Kamonmarttayakul, MSN, RN
Oncology & Oncological Clinical Research Nurse
Head of Oncology Center
Wanassada Wongyudtha, RN
Oncology Nurse
Parinya Damrongpokkapun, RN
Oncology Nurse
Workshop Objectives
1. วัตถุประสงค์การใส่ Port A Cath
2. ประเภทของ Port A Cath
3. ขั้นตอนการใส่ Port A Cath
4. การทาหัตถการทาง Port A Cath
5. การพยาบาลผู้ป่วยใส่ Port A Cath
6. ปัญหาและการแก้ไข
วัตถุประสงค์การใส่ Port A Cath
Port A Cath(Implantable Venous Access Systems)
 Port-a-Cath ™ is used for patients who need repeated long
term intravenous drug therapy.
 In many cases other forms of venous access have become
difficult or impossible. (Janes Royle, Davies and Gannon
2008).
 Parenteral delivery of medications, fluids, and nutritional
solutions and for the sampling of venous blood
ประเภทของ Port A Cath
1.a titanium portal with a self-sealing
silicone septum and a catheter made of
either silicone or polyurethane
2. a plastic and titanium portal with a
self-sealing silicone septum and a
catheter made of either silicone or
polyurethane
3.a plastic portal with a self sealing
silicone septum and a catheter made of
either silicone or polyurethane
องค์ประกอบของ Port A Cath
PFMmedical
ขั้นตอนการใส่ Port A Cath
 under local anesthesia
percutaneous puncture of the
subclavian vein or by surgical
cutdown on a suitable vein
 Tip positioned in the superior
venacava
The portal is sutured to the
underlying fascia
Catheter tip placement is
confirmed by chest x-ray.
Position of Port A Cath Implantation
PARINYA DAMRONGPOKKAPUN, RN
ONCOLOGY NURSE
การทาหัตถการทาง Port A Cath
การทาหัตถการทาง Port A Cath
1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
2.การฉีดยา (INTRAVENOUS PUSH) เข้าทาง PORT
3. การให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง
(CONTINUOUS DRIP) เข้าทางPORT
4. การยุติการให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง หรือ
เป็นระยะๆ (DISCONTINUING INFUSION)
5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ (BLOOD SAMPLING)
1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วัสดุอุปกรณ์ จานวน
1. Sterile Dressing pack
2. Sterile Gloves
3. 2% Chlorhexidine /70% Alcohol impregnated swab
(Chloraprep)/Povidone-iodine
4. Non coring needle (e.g. Huber or Gripper needle) 20/22 G
5. Mask
6. Heparine solution (1:100 IU/ml) in syringe 10 ml
7. 0.9% Sodium chloride in syringe 10 ml
8. 0.9% Sodium chloride in syringe 20 ml
9. Tape and gauze or transparent dressing
10. Aperture
1 set
2 paired
ชนิดใดชนิดหนึ่ง
1 set
1 piece
5 ml
3 ml
20 ml
1 set
1 piece
1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
1) ตรวจสอบชื่อ-สกุล และวัน เดือน ปี เกิดของ
ผู้ป่วย พร้อมแจ้งผู้ป่วยและญาติให้ทราบถึงหัตถการ
และเหตุผลในการล้างPort
-เพื่อยืนยันตัวผู้ป่วยและการทา
หัตถการถูกต้องถูกคน
2) อธิบายการเตรียมความพร้อมก่อนทาหัตถการ
ให้ผู้ป่วยเซ็นต์ใบยินยอมทาหัตถการ(Inform consent)
พร้อมบันทึกในรายงานการพยาบาล
-เพื่อเตรียมร่างกายและจิตใจ
ผู้ป่วย
1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
3) เตรียมผู้ป่วยในห้องที่เป็นส่วนตัว พร้อมจัดท่าให้
ผู้ป่วย อยู่ในลักษณะที่สุขสบายและสามารถทาหัตถการ
ได้สะดวก เช่น นอนยกศีรษะสูง 30-45 องศา หรือนั่ง
บนเก้าอี้ที่มีพนักพิง
-เพื่อความสุขสบายของผู้ป่วยและ
ความสะดวกในการทาหัตถการ
4) ล้างมือแบบ Hygienic hand washing -เพื่อป้ องกันการติดเชื้อ
5) เปิด Set dressingและเปิดอุปกรณ์ต่างๆลงไปใน
Set โดยยึดหลัก Sterile techniqueพร้อมตรวจเช็ค
Expired date
- เพี่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
6) เตรียม 0.9% Sodium chloride และ
Heparin solution ไว้ในตาแหน่งที่ง่ายต่อการ
หยิบใช้
-ในกรณีทาหัตถการคนเดียว จะทาให้หยิบ
ของสะดวกและลดความเลี่ยงในการปนเปื้อน
เชื้อโรค
7) ใส่ถุงมือ Sterile คู่ที่ 1 - ป้ องกันการติดเชื้อ
8) ใช้ Syringe 10 mlและ20 ml ต่อกับ
Needle No.18 เพื่อดูด 0.9% Sodium chloride
ประมาณ 3-5 ml.และ 20 ml. ตามลาดับ ใน
กรณีนี้ให้ใช้ Sterile Gauge หยิบจับของที่อยู่
นอก Set dressing
-ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ
1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
9) นาSyringe 10 ml. ที่มี 0.9% Sodium
chloride ประมาณ 3-5 ml. ต่อเข้ากับ Non
coring needle พร้อมกับ Prime สายไล่ Air
ออกจากเข็มและ Syringe แล้ว Clamp สายไว้
- เพื่อตรวจสอบการใช้งานของ Non coring
needle และ Extension set ที่ต่อกับเข็ม
- ป้ องกันการเกิด Air embolism
1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
10) เตรียมSyringe ที่บรรจุด้วย Heparin ใน
0.9% Sodium chloride 100 Unit/ml จานวน
5 ml
11) เช็ดทาความสะอาดผิวหนังบริเวณ Port
ด้วย 2% Chlorhexidine (ตามนโยบาย
โรงพยาบาล) โดยเช็ดวนออกนอกจาก
ตาแหน่งที่จะเจาะเข็ม (Septum) เป็นรัศมี
ประมาณ 8 cms. ประมาณ 2-3 ครั้ง จากนั้น
รอให้แห้ง
-เพื่อให้น้ายาสามารถออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรคได้
หมด
1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
12) ปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง(Aperture) -เพื่อกาหนดพื้นที่Sterile
13) ถอดถุงมือ Sterile คู่ที่ 1 ออกและใส่คู่ใหม่ -ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ
14) ถอดปลอกพลาสติกที่หุ้มปลายNon coring
needle ออก จับปีกเข็มด้วยมือข้างที่ถนัด
15) มืออีกข้างตรึง Port ด้วยนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ
นิ้วชี้และนิ้วกลางหรือนิ้วชี้และนิ้วกลางดังรูป
- เพื่อหาตาแหน่งของPort และยึด
ตาแหน่งของPortให้อยู่กับที่ ป้ องกัน
การเคลื่อนย้ายขณะเจาะเข็ม
1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
16) แจ้งผู้ป่วยให้ทราบว่ากาลังจะแทงเข็มPort
โดยให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ และกลั้นหายใจไว้
ชั่วขณะ
-เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าอกยกตัว ทาให้
มองเห็นและคลาบริเวณPortได้ชัดเจนขึ้น
17) จับNon coring needle ตั้งฉากกับผิวหนัง
บริเวณ Septum 90 องศา กดเข็มจนกระทบกับ
ฐานPort แจ้งให้ผู้ป่วยหายใจได้ตามปกติ
1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
18) เปิด Clamp และ Check blood return โดยดึง
Syringe ดูว่ามีเลือดไหลเข้ามา Flow ดีหรือไม่
-เพื่อทดสอบว่าเข็มยังคงอยู่ใน
หลอดเลือดและไม่มีการอุดตันของ
สาย
19) หากเลือดไหล flow ดี ให้ดูดเลือดทิ้งประมาณ 3-5
ml จากนั้นให้ Clamp สายพร้อมกับปลดSyringe ออก ใช้
Sterile Gauge รองบริเวณข้อต่อเสมอ
-เพื่อป้ องกันลิ้มเลือดที่อาจเกิดขึ้น
ในPort เข้าไปในระบบไหลเวียน
เลือด
-เพื่อป้ องกันอากาศเข้าไปใน Port
และป้ องกันการย้อนกลับของเลือด
20) ต่อ Syringe ที่บรรจุ 0.9% Sodium chloride
20 ml และปลด Clamp พร้อมค่อยๆฉีด 0.9% Sodium
chloride 20 ml สังเกตรอบๆ Port ว่ามีบวมแดงหรือไม่
และสอบถามผู้ป่วยว่ามีอาการปวดบริเวณPortหรือไม่
-เพื่อประเมินตาแหน่งเข็มว่าอยู่ใน
Port และไม่มีการ leak ของสารน้า
1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
21) เมื่อ0.9% Sodium chloride ใกล้จะหมด
ให้รีบ Clamp สาย ขณะ Push syringe แล้ว
ปลด Syringeออก
-เพื่อป้ องกันการไหลย้อนกลับของเลือด อาจ
ทาให้เกิดการอุดตันของสาย
22) ต่อด้วยSyringeที่บรรจุด้วย Heparin ใน
0.9% Sodium chloride 100 Unit/ml จานวน
5 ml เปิดClampแล้วฉีดจนหมด และ Clamp
สายไว้
-เพื่อป้ องกันการอุดตันของเลือดใน Port
23) ตรึง Port ด้วยนิ้วมือเหมือนเดิม ค่อยๆ
ดึงเข็มออกด้วยแรงที่คงที่
- ถ้าใช้แรงค่อยเกินไปหรือใช้แรงไม่เท่ากัน
อาจทาให้ดึงเข็มไม่ออก
1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
24) ใช้ Sterile Gauge กดบริเวณรอยเข็ม
2-3 นาที จากนั้นปิดรอยเข็มด้วย
พลาสเตอร์
-ปิดตาแหน่งรูเข็ม ป้ องกันการติดเชื้อ
25) เก็บอุปกรณ์และลงบันทึกทางการ
พยาบาล
2. การฉีดยา (INTRAVENOUS PUSH) เข้าทาง PORT
วิธีการ หลักการและเหตุผล
1-21 ทาตามวิธีการสวนล้างPort ด้วย Heparin
22) โดยหลังจากปลด Syringeที่บรรจุ 0.9%
Sodium chloride แล้ว ให้เปลี่ยนเป็น Syringe
ของยาที่จะให้ หากมียาหลายชนิด หลังการ
ให้ยาแต่ละชนิดจะต้องฉีดล้างด้วย
0.9% Sodium chloride 3-5 ml ทุกครั้ง
- เพื่อป้ องกันยาแต่ละตัวทาปฏิกิริยาต่อกัน
23) เมื่อให้ยาครบแล้วให้ฉีด 0.9% Sodium
chloride 5 ml แล้วตามด้วยHeparin ใน 0.9%
Sodium chloride 100 Unit/ml จานวน 5 ml
3. การให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง
(CONTINUOUS DRIP) เข้าทางPORT
วิธีการ หลักการและเหตุผล
1-21 ทาตามวิธีการสวนล้างPort ด้วย Heparin
พร้อมกับเตรียมต่อชุดให้สายน้าหรือขวดยาที่
จะให้โดยไล่อากาศออก
22) โดยหลังจากปลด Syringeที่บรรจุ 0.9%
Sodium chloride ออกแล้ว ให้ต่อด้วยชุดให้
สารน้า
-เพื่อป้ องกันยาแต่ละตัวทาปฏิกิริยาต่อกัน
23) หากมีช่องว่างเหลืออยู่ระหว่างผิวหนัง
กับหัวเข็มให้ใช้Sterile Gauge รองเข็มเพื่อ
เป็นการพยุงเข็ม
-เพื่อป้ องกันการเลื่อนของเข็ม Port
3. การให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง
(CONTINUOUS DRIP) เข้าทางPORT
วิธีการ หลักการและเหตุผล
24) ปิดด้วยtransparent dressing/พลา
สเตอร์ใสปิดแผล และปรับ rate สารน้า
- เพื่อช่วยยึดป้ องกันการเคลื่อนของเข็มและ
สามารถมองเห็นผิวหนังบริเวณรอบๆ Port ได้
4. การยุติการให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นระยะๆ
(DISCONTINUING INFUSION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
1) ล้างมือแบบ Hygienic hand washing - ป้ องกันการติดเชื้อ
2) ปิด CLAMP ที่ EXTENSION SET ของเข็ม
และที่ชุดสายน้า
- เพื่อป้ องกันอากาศเข้าไปใน PORT และ
ป้ องกันเลือดไหลย้อนกลับ
3) ใช้ไม้พันสาลีชุบ 2% Chlorhexidine (หรือ
ตามนโยบายโรงพยาบาล) เช็ดบริเวณรอยต่อ
- เพื่อฆ่าเชื้อและป้ องกันการติดเชื้อ
4. การยุติการให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นระยะๆ
(DISCONTINUING INFUSION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
4) ปลดชุดสายให้สารน้าออกจาก
EXTENSION SET ของเข็มแล้วต่อด้วย
SYRINGE ที่บรรจุ ด้วย 0.9% Sodium chloride
20 ml สาหรับฉีดล้างภายในสาย
5) FLUSH ด้วย Heparin ใน 0.9% Sodium
chloride 100 Unit/ml จานวน 5 ml แล้วปิด
CLAMP
-เพื่อป้ องกันการอุดตันภายในสายPort
6) หากยังคงต้องให้ยาเป็นระยะนาควรใช้
STERILE CAP ของเข็ม HUBER POINT
ชนิด WINGED EXTENSION SET ปิดบริเวณ
ข้อต่อ
4. การยุติการให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นระยะๆ
(DISCONTINUING INFUSION)
วิธีการ หลักการและเหตุผล
7) ในกรณีที่ยุติการให้สารน้า ให้แกะแผ่นใส
ปิดแผล เช็ดรอบๆเข็ม ด้วย 2%
Chlorhexidine (หรือตามนโยบายโรงพยาบาล)
ปิดด้วย Sterile gauge
- เพื่อลดความสี่ยงของการติดเชื้อ
5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ ( BLOOD SAMPLING )
A. ในกรณีที่ไม่ได้ให้สารน้าอยู่
วิธีการ หลักการและเหตุผล
1-19ทาตามวิธีการสวนล้างPort ด้วย Heparin
20. ดูดเลือดออกประมาณ 3 CC เลือดที่
ดูดออกมานี้ เพราะมี HEPARIN ปนอยู่ ใช้ส่ง
ตรวจไม่ได้
-ป้ องกันอากาศเข้าไป
5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ ( BLOOD SAMPLING )
A. ในกรณีที่ไม่ได้ให้สารน้าอยู่
วิธีการ หลักการและเหตุผล
21) CLAMP สาย แล้วเปลี่ยน SYRINGE
ขนาดที่จะเตรียม เลือดส่งตรวจเปิด CLAMP
เก็บเลือดตามจานวนที่ต้องการ
22) CLAMP สาย แล้วเปลี่ยนเป็น SYRINGE
ที่บรรจุด้วย NORMAL SALINE 20 CC เปิด CLAMP
แล้วค่อยๆ ฉีด NORMAL SALINE จนหมด
23) FLUSH ด้วย HEPARINIZED SALINE
100 Unit/CC เพื่อป้ องกันการอุดตัน ภายใน
สาย จานวน 5 CC แล้วถอดเข็ม
HUBER POINT ออก
5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ (BLOOD SAMPLING)
B. กรณีที่ให้สายน้าหยดอย่างต่อเนื่อง
วิธีการ หลักการและเหตุผล
1) ยุติการให้สารน้า ปิด CLAMP ที่ WINGED
EXTENSION SET ที่เข็มและ ที่ชุดให้สารน้า
2) ปลดชุดให้สารน้าออก KEEP STERILE ชุด
ให้สารน้าไว้ เพื่อให้ต่อ
3) เปิด CLAMP ที่ WINGED EXTENSION
SET ต่อ SYRINGE ค่อยๆ ฉีด
NORMAL SALINE ก่อนประมาณ 5 CC
5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ (BLOOD SAMPLING)
B. กรณีที่ให้สายน้าหยดอย่างต่อเนื่อง
วิธีการ หลักการและเหตุผล
4) เปลี่ยน SYRINGE ขนาดที่จะต้องเก็บ
เลือดส่งตรวจ ตามจานวนที่ต้องการ
5) FLUSH ต่อด้วย NORMAL SALINE
20 CC
6) จากนั้นต่อชุดให้สารน้า และปรับอัตรา
การไหล ของสารน้า
-เพื่อทดสอบว่าไม่มีการอุดตันภายในเส้น
เลือด ก่อนจะต่อชุดให้สารน้า
WANASSADA WONGYUDTHA, RN
ONCOLOGY NURSE
การพยาบาลผู้ป่วยใส่ Port A Cath
ปัญหาและการแก้ไข
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
ปฎิบัติอย่างเข้มงวดในเรื่อง ASEPTIC TECHNIQUE
• AIR EMBOLISM
• รวมทั้งป้ องกัน และเฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น
การอุดตันจากลิ่มเลือดหรือตะกอนของยา หรือสารน้า
ที่เข้ากันไม่ได้
 ใช้ ASEPTIC TECHNIQUE ทุกขั้นตอน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในขณะแทงเข็ม เพราะเป็นทาง
ที่จะนาเชื้อโรคเข้าไปได้
 หมั่นตรวจดูบริเวณ PORT และรอบๆ ทุกเวร
ว่ามี บวม แดง ปวด การขยายของหลอดเลือดฝอย
รอบๆ PORT
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
 ถ้ามีไข้ ให้รายงานแพทย์ เพราะอาจเกิดจากการติดเชื้อ
หรือถูกต่อต้านจากเนื้อเยื่อในร่างกาย ซึ่งในกรณีนี้แพทย์จะ
ให้ผ่าตัดเอา PORT ออก
แขนบวม แดง อาจเกิดจากภาวะ THROMBOSIS
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
 การเปลี่ยน IV set ต่างๆ
เปลี่ยนสาย I.V. ทุก 48-72 ชั่วโมง
เปลี่ยนสาย I.V. สาหรับ TPN ทุก 24 ชั่วโมง
VOLUTROL หรือ SOLUSET สาหรับหยดยาให้
เปลี่ยนได้ทุก 5 วัน
Blood set ควรเอาออกทันทีเมื่อให้เสร็จแล้ว
 STERILE-CAP ควรเปลี่ยนทุก 48 ชั่วโมง

การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
 เปลี่ยน DRESSING และเข็มทุก 7 วัน มักจะเปลี่ยน
พร้อมๆ กัน เว้นเสียแต่ว่า DRESSING หลวมหลุด ซึ่งอาจทา
ให้เข็มเคลื่อนออกมาเกิด BLOOD CLOT ปลาย CATHETER
ได้ ให้เปลี่ยนได้ตามจาเป็น หาก DRESSING เป็น ผ้าก็อซ
ควรเปลี่ยนทุก 48 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นกับนโยบายของ
โรงพยาบาล
 ควรเปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มบน PORT อย่าแทงซ้าจุด
เดียวกันบ่อยๆ
ป้ องกันการย้อนกลับของเลือดเข้า PORT ซึ่งหากเกิดลิ่ม
เลือดขึ้น จะทาให้เกิดการอุดตัน และเป็นแหล่งที่มาของการติด
เชื้อ นั่นคือ ไม่ปล่อยให้ยา หรือสารน้าหยุดนานเกินไป การ
FLUSH ด้วย HEPARIN ตามอัตราส่วน และจานวนอย่างถูกวิธี
ใช้เข็มชนิดที่มี EXTENSION SET ต่อเข้ากับ SYRINGE และ
CLAMP เวลาเปลี่ยน SYRINGE หลายชนิด จะช่วยป้ องกัน AIR
EMBOLISM ได้ดีขึ้น
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
 เข็ม HUBER POINT ชนิด ที่ไม่มี EXTENSION SET ห้าม
คาเข็มโดยให้หัวเข็ม NEEDLE เปิดโล่งสัมผัสอากาศ ส่วนเข็ม
ชนิดที่มี EXTENSION SET ให้ปิด CLAMP ไว้
ควรใช้ SYRINGE ขนาด 10 CC ขึ้นไป เพื่อช่วยลด
แรงดันต่อ CATHETER เพราะแรงดันที่สูงมากๆ อาจทาให้
CATHETER แตกได้
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
 ใช้ INFUSION PUMP หากต้องการควบคุมอัตราการหยด
ของยา และสารน้า ทั้งนี้ความดันต้องไม่เกินกาหนดที่ PORT
และ CATHETER รับได้
 ตรวจดู BLOOD RETURN ทุกครั้ง ก่อนให้ยาเคมีบาบัด
ชนิดที่มีฤทธิ์ทาลายเนื้อเยื่อ (VESICANTS)
 ละลายยาผงให้เข้ากันดีกับตัวทาละลาย เพื่อป้ องกัน
การตกตะกอนใน PORT และ CATHETER ซึ่งจะทาให้เกิด
การอุดตันได้
 ควรรู้ว่ายา หรือสารละลาย หรือสารน้าใด ที่เข้ากัน
ไม่ได้ (INCOMPATIBLE) เพราะปัญหาการอุดตันของ
PORT ที่มักจะแก้ไขไม่ได้ เกิดจากสาเหตุของตะกอนของ
สารเหล่านี้
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
 ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
เมื่อพบว่ายา หรือสารน้าไม่ไหล อัตราการไหลลดลง
ฉีดยา หรือสารน้าเข้าไม่ได้ หรือเตรียมเก็บเลือดไม่ได้
ควรปฎิบัติดังนี้
1. ถามผู้ป่วยว่าเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นก่อนมีปัญหา เพื่อหา
สาเหตุ
2. ตรวจสอบอุปกรณ์ในการให้ยา และสารน้าทั้งหมดว่า มี
จุดบกพร่องที่ใด เช่น สายหักงอ ขวดสารน้าไม่มีการระบาย
อากาศ หรือท่อระบายอากาศอุดตัน
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
3. ตรวจดูบริเวณ PORT และรอบๆ ว่ามี บวม แดง หรือมี
อาการแน่นอึดอัดหน้าอก หรือไม่
4. ตรวจดูตาแหน่งเข็ม ให้แน่ใจว่าปลายเข็มกระทบกับฐาน
ของ PORT ห้ามโยกเข็ม การเคลื่อนของเข็มออกมา เป็น
เหตุให้ปลายเข็มอยู่นอก SEPTUM เกิดการย้อนกลับของ
เลือดมาเข้า PORT และอาจทาให้เกิดการรั่วของยา และ
สารน้าออกมาบริเวณ SUBCUTANEOUS TISSUE ได้
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
5. หากเก็บเลือดสาหรับตรวจไม่ได้ ให้ผู้ป่วยเปลี่ยนท่า
เช่น ให้นอนตะแคง นั่ง อาจช่วยแก้ไขได้ในกรณีที่ปลาย
CATHETER ชนผนังหลอดเลือด
6. IRRIGATE เบาๆ ด้วย NORMAL SALINE 10-20 CC
ห้าม PUSH แรงๆ เพราะ หากมีลิ่มเลือด หรือFIBRIN
SHEET ขนาดใหญ่ จะทาให้เกิด EMBOLISM ได้ หากไม่
สาเร็จให้รายงานแพทย์ หรือเจ้าหน้าที่ผู้ดูแล
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
การแก้ไขเมื่อมีการอุดตัน หรืออุดตันบางส่วน
เป็นหน้าที่ หรืออยู่ในความดูแลของแพทย์ ซึ่งการอุดตันนี้
เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น CATHETER ขดหรือหักงอ
โดยแพทย์จะทาการปรับ CATHETER ใหม่ หรือลองให้
ผู้ป่วยเปลี่ยนท่า สาเหตุใหญ่ๆ ของการอุดตันมักเกิดจากลิ่ม
เลือด และตะกอนของสารที่ค้างอยู่ใน PORT
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
การอุดตันที่เกิดจากลิ่มเลือด เมื่อค้นพบสาเหตุว่าเกิดจาก
ลิ่มเลือดแล้ว แพทย์อาจจะ IRRIGATE ด้วย HEPARIN
ตามอัตราส่วนที่แพทย์ต้องการ เช่น 1000 UNITS ใน
NORMAL SALINE 1CC จานวน 1-2 ซีซี หรืออาจให้หยด
HEPARIN อย่างต่อเนื่องในกรณีที่มีการอุดตันบางส่วน
โดยใช้เข็มขนาดใหญ่ที่สามารถนาเอา CLOT ออกมาได้
เช่น เบอร์ 19 หรือ 20
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
หากไม่สาเร็จ แพทย์อาจให้ใช้ UROKINASE
(หรือสารประเภทเดียวกัน) โดยทั่วไปใช้อัตราส่วน
5000 UNITS ใน NORMAL SALINE จานวน 1 ซีซี ใส่ใน
PORT ทิ้งไว้ประมาณ 5-15 นาที ค่อยๆดูดออก หากไม่ออก
ทิ้งไว้อีก 5-15 นาที สลับกันเช่นนี้ หรืออาจจะใช้วิธีการหยด
อย่างต่อเนื่องก็ได้
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
 หากพบว่าการอุดตันเกิดจากตะกอนของยา หรือสารน้า
แพทย์อาจให้ประคบร้อน เพื่อ ช่วยให้ตะกอนนั้น ละลายตัวดี
ขึ้น
หรือใส่สารละลายเพื่อเข้าไปปรับสมดุลกรด-ด่าง เช่น ใส่
HYDROCHLORIC ACID ในกรณีที่เกิดจากตะกอนของ
เกลือแร่
SODIUM BICARBONATE ในกรณีที่เกิดจากตะกอนของยา
ETHYL ALCOHOL ในกรณีที่เกิดจากตะกอนของไขมัน
การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
 หากไม่สามารถแก้ปัญหาการอุดตันได้ จาเป็นต้อง
ผ่าตัดเอา PORT ออก เพราะถ้าทิ้งไว้ ลิ่มเลือด หรือ
ตะกอนเหล่านี้อาจเป็นแหล่งที่มาของการติดเชื้อ
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital

Contenu connexe

Tendances

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)Utai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 

Tendances (20)

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
A003
A003A003
A003
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 

En vedette

การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดkalzitem
 
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012Jumpon Utta
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว techno UCH
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดJumpon Utta
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
2 why 4 life(th)
2   why 4 life(th)2   why 4 life(th)
2 why 4 life(th)pyopyo
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
Side effects of chemotherapy
Side effects of chemotherapy Side effects of chemotherapy
Side effects of chemotherapy Pratima Patil
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
Management of chemotherapy complications
Management of chemotherapy complicationsManagement of chemotherapy complications
Management of chemotherapy complicationssalaheldin abusin
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 

En vedette (19)

การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
 
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
2 why 4 life(th)
2   why 4 life(th)2   why 4 life(th)
2 why 4 life(th)
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
Side effects of chemotherapy
Side effects of chemotherapy Side effects of chemotherapy
Side effects of chemotherapy
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Management of chemotherapy complications
Management of chemotherapy complicationsManagement of chemotherapy complications
Management of chemotherapy complications
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 

Similaire à Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital

การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยNakhon Pathom Rajabhat University
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการThorsang Chayovan
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Technology Innovation Center
 
TAEM10:Airway care
TAEM10:Airway careTAEM10:Airway care
TAEM10:Airway caretaem
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Utai Sukviwatsirikul
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 

Similaire à Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital (20)

การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
 
Up ebook ic
Up ebook ic Up ebook ic
Up ebook ic
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
 
TAEM10:Airway care
TAEM10:Airway careTAEM10:Airway care
TAEM10:Airway care
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Ppe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnelPpe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnel
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 

Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital

  • 2. วิทยากร Katekanok Kamonmarttayakul, MSN, RN Oncology & Oncological Clinical Research Nurse Head of Oncology Center Wanassada Wongyudtha, RN Oncology Nurse Parinya Damrongpokkapun, RN Oncology Nurse
  • 3. Workshop Objectives 1. วัตถุประสงค์การใส่ Port A Cath 2. ประเภทของ Port A Cath 3. ขั้นตอนการใส่ Port A Cath 4. การทาหัตถการทาง Port A Cath 5. การพยาบาลผู้ป่วยใส่ Port A Cath 6. ปัญหาและการแก้ไข
  • 4.
  • 5. วัตถุประสงค์การใส่ Port A Cath Port A Cath(Implantable Venous Access Systems)  Port-a-Cath ™ is used for patients who need repeated long term intravenous drug therapy.  In many cases other forms of venous access have become difficult or impossible. (Janes Royle, Davies and Gannon 2008).  Parenteral delivery of medications, fluids, and nutritional solutions and for the sampling of venous blood
  • 6.
  • 7. ประเภทของ Port A Cath 1.a titanium portal with a self-sealing silicone septum and a catheter made of either silicone or polyurethane 2. a plastic and titanium portal with a self-sealing silicone septum and a catheter made of either silicone or polyurethane 3.a plastic portal with a self sealing silicone septum and a catheter made of either silicone or polyurethane
  • 10. ขั้นตอนการใส่ Port A Cath  under local anesthesia percutaneous puncture of the subclavian vein or by surgical cutdown on a suitable vein  Tip positioned in the superior venacava The portal is sutured to the underlying fascia Catheter tip placement is confirmed by chest x-ray.
  • 11. Position of Port A Cath Implantation
  • 12. PARINYA DAMRONGPOKKAPUN, RN ONCOLOGY NURSE การทาหัตถการทาง Port A Cath
  • 13. การทาหัตถการทาง Port A Cath 1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) 2.การฉีดยา (INTRAVENOUS PUSH) เข้าทาง PORT 3. การให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง (CONTINUOUS DRIP) เข้าทางPORT 4. การยุติการให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง หรือ เป็นระยะๆ (DISCONTINUING INFUSION) 5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ (BLOOD SAMPLING)
  • 14. 1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วัสดุอุปกรณ์ จานวน 1. Sterile Dressing pack 2. Sterile Gloves 3. 2% Chlorhexidine /70% Alcohol impregnated swab (Chloraprep)/Povidone-iodine 4. Non coring needle (e.g. Huber or Gripper needle) 20/22 G 5. Mask 6. Heparine solution (1:100 IU/ml) in syringe 10 ml 7. 0.9% Sodium chloride in syringe 10 ml 8. 0.9% Sodium chloride in syringe 20 ml 9. Tape and gauze or transparent dressing 10. Aperture 1 set 2 paired ชนิดใดชนิดหนึ่ง 1 set 1 piece 5 ml 3 ml 20 ml 1 set 1 piece
  • 15.
  • 16. 1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 1) ตรวจสอบชื่อ-สกุล และวัน เดือน ปี เกิดของ ผู้ป่วย พร้อมแจ้งผู้ป่วยและญาติให้ทราบถึงหัตถการ และเหตุผลในการล้างPort -เพื่อยืนยันตัวผู้ป่วยและการทา หัตถการถูกต้องถูกคน 2) อธิบายการเตรียมความพร้อมก่อนทาหัตถการ ให้ผู้ป่วยเซ็นต์ใบยินยอมทาหัตถการ(Inform consent) พร้อมบันทึกในรายงานการพยาบาล -เพื่อเตรียมร่างกายและจิตใจ ผู้ป่วย
  • 17. 1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 3) เตรียมผู้ป่วยในห้องที่เป็นส่วนตัว พร้อมจัดท่าให้ ผู้ป่วย อยู่ในลักษณะที่สุขสบายและสามารถทาหัตถการ ได้สะดวก เช่น นอนยกศีรษะสูง 30-45 องศา หรือนั่ง บนเก้าอี้ที่มีพนักพิง -เพื่อความสุขสบายของผู้ป่วยและ ความสะดวกในการทาหัตถการ 4) ล้างมือแบบ Hygienic hand washing -เพื่อป้ องกันการติดเชื้อ 5) เปิด Set dressingและเปิดอุปกรณ์ต่างๆลงไปใน Set โดยยึดหลัก Sterile techniqueพร้อมตรวจเช็ค Expired date - เพี่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
  • 18. 1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 6) เตรียม 0.9% Sodium chloride และ Heparin solution ไว้ในตาแหน่งที่ง่ายต่อการ หยิบใช้ -ในกรณีทาหัตถการคนเดียว จะทาให้หยิบ ของสะดวกและลดความเลี่ยงในการปนเปื้อน เชื้อโรค 7) ใส่ถุงมือ Sterile คู่ที่ 1 - ป้ องกันการติดเชื้อ 8) ใช้ Syringe 10 mlและ20 ml ต่อกับ Needle No.18 เพื่อดูด 0.9% Sodium chloride ประมาณ 3-5 ml.และ 20 ml. ตามลาดับ ใน กรณีนี้ให้ใช้ Sterile Gauge หยิบจับของที่อยู่ นอก Set dressing -ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ
  • 19. 1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 9) นาSyringe 10 ml. ที่มี 0.9% Sodium chloride ประมาณ 3-5 ml. ต่อเข้ากับ Non coring needle พร้อมกับ Prime สายไล่ Air ออกจากเข็มและ Syringe แล้ว Clamp สายไว้ - เพื่อตรวจสอบการใช้งานของ Non coring needle และ Extension set ที่ต่อกับเข็ม - ป้ องกันการเกิด Air embolism
  • 20. 1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 10) เตรียมSyringe ที่บรรจุด้วย Heparin ใน 0.9% Sodium chloride 100 Unit/ml จานวน 5 ml 11) เช็ดทาความสะอาดผิวหนังบริเวณ Port ด้วย 2% Chlorhexidine (ตามนโยบาย โรงพยาบาล) โดยเช็ดวนออกนอกจาก ตาแหน่งที่จะเจาะเข็ม (Septum) เป็นรัศมี ประมาณ 8 cms. ประมาณ 2-3 ครั้ง จากนั้น รอให้แห้ง -เพื่อให้น้ายาสามารถออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรคได้ หมด
  • 21. 1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 12) ปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง(Aperture) -เพื่อกาหนดพื้นที่Sterile 13) ถอดถุงมือ Sterile คู่ที่ 1 ออกและใส่คู่ใหม่ -ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ 14) ถอดปลอกพลาสติกที่หุ้มปลายNon coring needle ออก จับปีกเข็มด้วยมือข้างที่ถนัด 15) มืออีกข้างตรึง Port ด้วยนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้และนิ้วกลางหรือนิ้วชี้และนิ้วกลางดังรูป - เพื่อหาตาแหน่งของPort และยึด ตาแหน่งของPortให้อยู่กับที่ ป้ องกัน การเคลื่อนย้ายขณะเจาะเข็ม
  • 22. 1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 16) แจ้งผู้ป่วยให้ทราบว่ากาลังจะแทงเข็มPort โดยให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ และกลั้นหายใจไว้ ชั่วขณะ -เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าอกยกตัว ทาให้ มองเห็นและคลาบริเวณPortได้ชัดเจนขึ้น 17) จับNon coring needle ตั้งฉากกับผิวหนัง บริเวณ Septum 90 องศา กดเข็มจนกระทบกับ ฐานPort แจ้งให้ผู้ป่วยหายใจได้ตามปกติ
  • 23. 1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 18) เปิด Clamp และ Check blood return โดยดึง Syringe ดูว่ามีเลือดไหลเข้ามา Flow ดีหรือไม่ -เพื่อทดสอบว่าเข็มยังคงอยู่ใน หลอดเลือดและไม่มีการอุดตันของ สาย 19) หากเลือดไหล flow ดี ให้ดูดเลือดทิ้งประมาณ 3-5 ml จากนั้นให้ Clamp สายพร้อมกับปลดSyringe ออก ใช้ Sterile Gauge รองบริเวณข้อต่อเสมอ -เพื่อป้ องกันลิ้มเลือดที่อาจเกิดขึ้น ในPort เข้าไปในระบบไหลเวียน เลือด -เพื่อป้ องกันอากาศเข้าไปใน Port และป้ องกันการย้อนกลับของเลือด 20) ต่อ Syringe ที่บรรจุ 0.9% Sodium chloride 20 ml และปลด Clamp พร้อมค่อยๆฉีด 0.9% Sodium chloride 20 ml สังเกตรอบๆ Port ว่ามีบวมแดงหรือไม่ และสอบถามผู้ป่วยว่ามีอาการปวดบริเวณPortหรือไม่ -เพื่อประเมินตาแหน่งเข็มว่าอยู่ใน Port และไม่มีการ leak ของสารน้า
  • 24. 1.การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 21) เมื่อ0.9% Sodium chloride ใกล้จะหมด ให้รีบ Clamp สาย ขณะ Push syringe แล้ว ปลด Syringeออก -เพื่อป้ องกันการไหลย้อนกลับของเลือด อาจ ทาให้เกิดการอุดตันของสาย 22) ต่อด้วยSyringeที่บรรจุด้วย Heparin ใน 0.9% Sodium chloride 100 Unit/ml จานวน 5 ml เปิดClampแล้วฉีดจนหมด และ Clamp สายไว้ -เพื่อป้ องกันการอุดตันของเลือดใน Port 23) ตรึง Port ด้วยนิ้วมือเหมือนเดิม ค่อยๆ ดึงเข็มออกด้วยแรงที่คงที่ - ถ้าใช้แรงค่อยเกินไปหรือใช้แรงไม่เท่ากัน อาจทาให้ดึงเข็มไม่ออก
  • 25. 1. การสวนล้าง PORT ด้วย HEPARIN (HEPARINIZATION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 24) ใช้ Sterile Gauge กดบริเวณรอยเข็ม 2-3 นาที จากนั้นปิดรอยเข็มด้วย พลาสเตอร์ -ปิดตาแหน่งรูเข็ม ป้ องกันการติดเชื้อ 25) เก็บอุปกรณ์และลงบันทึกทางการ พยาบาล
  • 26. 2. การฉีดยา (INTRAVENOUS PUSH) เข้าทาง PORT วิธีการ หลักการและเหตุผล 1-21 ทาตามวิธีการสวนล้างPort ด้วย Heparin 22) โดยหลังจากปลด Syringeที่บรรจุ 0.9% Sodium chloride แล้ว ให้เปลี่ยนเป็น Syringe ของยาที่จะให้ หากมียาหลายชนิด หลังการ ให้ยาแต่ละชนิดจะต้องฉีดล้างด้วย 0.9% Sodium chloride 3-5 ml ทุกครั้ง - เพื่อป้ องกันยาแต่ละตัวทาปฏิกิริยาต่อกัน 23) เมื่อให้ยาครบแล้วให้ฉีด 0.9% Sodium chloride 5 ml แล้วตามด้วยHeparin ใน 0.9% Sodium chloride 100 Unit/ml จานวน 5 ml
  • 27. 3. การให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง (CONTINUOUS DRIP) เข้าทางPORT วิธีการ หลักการและเหตุผล 1-21 ทาตามวิธีการสวนล้างPort ด้วย Heparin พร้อมกับเตรียมต่อชุดให้สายน้าหรือขวดยาที่ จะให้โดยไล่อากาศออก 22) โดยหลังจากปลด Syringeที่บรรจุ 0.9% Sodium chloride ออกแล้ว ให้ต่อด้วยชุดให้ สารน้า -เพื่อป้ องกันยาแต่ละตัวทาปฏิกิริยาต่อกัน 23) หากมีช่องว่างเหลืออยู่ระหว่างผิวหนัง กับหัวเข็มให้ใช้Sterile Gauge รองเข็มเพื่อ เป็นการพยุงเข็ม -เพื่อป้ องกันการเลื่อนของเข็ม Port
  • 28. 3. การให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง (CONTINUOUS DRIP) เข้าทางPORT วิธีการ หลักการและเหตุผล 24) ปิดด้วยtransparent dressing/พลา สเตอร์ใสปิดแผล และปรับ rate สารน้า - เพื่อช่วยยึดป้ องกันการเคลื่อนของเข็มและ สามารถมองเห็นผิวหนังบริเวณรอบๆ Port ได้
  • 29. 4. การยุติการให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นระยะๆ (DISCONTINUING INFUSION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 1) ล้างมือแบบ Hygienic hand washing - ป้ องกันการติดเชื้อ 2) ปิด CLAMP ที่ EXTENSION SET ของเข็ม และที่ชุดสายน้า - เพื่อป้ องกันอากาศเข้าไปใน PORT และ ป้ องกันเลือดไหลย้อนกลับ 3) ใช้ไม้พันสาลีชุบ 2% Chlorhexidine (หรือ ตามนโยบายโรงพยาบาล) เช็ดบริเวณรอยต่อ - เพื่อฆ่าเชื้อและป้ องกันการติดเชื้อ
  • 30. 4. การยุติการให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นระยะๆ (DISCONTINUING INFUSION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 4) ปลดชุดสายให้สารน้าออกจาก EXTENSION SET ของเข็มแล้วต่อด้วย SYRINGE ที่บรรจุ ด้วย 0.9% Sodium chloride 20 ml สาหรับฉีดล้างภายในสาย 5) FLUSH ด้วย Heparin ใน 0.9% Sodium chloride 100 Unit/ml จานวน 5 ml แล้วปิด CLAMP -เพื่อป้ องกันการอุดตันภายในสายPort 6) หากยังคงต้องให้ยาเป็นระยะนาควรใช้ STERILE CAP ของเข็ม HUBER POINT ชนิด WINGED EXTENSION SET ปิดบริเวณ ข้อต่อ
  • 31. 4. การยุติการให้ยา หรือสารน้าโดยการหยดอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นระยะๆ (DISCONTINUING INFUSION) วิธีการ หลักการและเหตุผล 7) ในกรณีที่ยุติการให้สารน้า ให้แกะแผ่นใส ปิดแผล เช็ดรอบๆเข็ม ด้วย 2% Chlorhexidine (หรือตามนโยบายโรงพยาบาล) ปิดด้วย Sterile gauge - เพื่อลดความสี่ยงของการติดเชื้อ
  • 32. 5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ ( BLOOD SAMPLING ) A. ในกรณีที่ไม่ได้ให้สารน้าอยู่ วิธีการ หลักการและเหตุผล 1-19ทาตามวิธีการสวนล้างPort ด้วย Heparin 20. ดูดเลือดออกประมาณ 3 CC เลือดที่ ดูดออกมานี้ เพราะมี HEPARIN ปนอยู่ ใช้ส่ง ตรวจไม่ได้ -ป้ องกันอากาศเข้าไป
  • 33. 5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ ( BLOOD SAMPLING ) A. ในกรณีที่ไม่ได้ให้สารน้าอยู่ วิธีการ หลักการและเหตุผล 21) CLAMP สาย แล้วเปลี่ยน SYRINGE ขนาดที่จะเตรียม เลือดส่งตรวจเปิด CLAMP เก็บเลือดตามจานวนที่ต้องการ 22) CLAMP สาย แล้วเปลี่ยนเป็น SYRINGE ที่บรรจุด้วย NORMAL SALINE 20 CC เปิด CLAMP แล้วค่อยๆ ฉีด NORMAL SALINE จนหมด 23) FLUSH ด้วย HEPARINIZED SALINE 100 Unit/CC เพื่อป้ องกันการอุดตัน ภายใน สาย จานวน 5 CC แล้วถอดเข็ม HUBER POINT ออก
  • 34. 5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ (BLOOD SAMPLING) B. กรณีที่ให้สายน้าหยดอย่างต่อเนื่อง วิธีการ หลักการและเหตุผล 1) ยุติการให้สารน้า ปิด CLAMP ที่ WINGED EXTENSION SET ที่เข็มและ ที่ชุดให้สารน้า 2) ปลดชุดให้สารน้าออก KEEP STERILE ชุด ให้สารน้าไว้ เพื่อให้ต่อ 3) เปิด CLAMP ที่ WINGED EXTENSION SET ต่อ SYRINGE ค่อยๆ ฉีด NORMAL SALINE ก่อนประมาณ 5 CC
  • 35. 5. การเก็บเลือดเพื่อส่งตรวจ (BLOOD SAMPLING) B. กรณีที่ให้สายน้าหยดอย่างต่อเนื่อง วิธีการ หลักการและเหตุผล 4) เปลี่ยน SYRINGE ขนาดที่จะต้องเก็บ เลือดส่งตรวจ ตามจานวนที่ต้องการ 5) FLUSH ต่อด้วย NORMAL SALINE 20 CC 6) จากนั้นต่อชุดให้สารน้า และปรับอัตรา การไหล ของสารน้า -เพื่อทดสอบว่าไม่มีการอุดตันภายในเส้น เลือด ก่อนจะต่อชุดให้สารน้า
  • 36. WANASSADA WONGYUDTHA, RN ONCOLOGY NURSE การพยาบาลผู้ป่วยใส่ Port A Cath ปัญหาและการแก้ไข
  • 37. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath ปฎิบัติอย่างเข้มงวดในเรื่อง ASEPTIC TECHNIQUE • AIR EMBOLISM • รวมทั้งป้ องกัน และเฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น การอุดตันจากลิ่มเลือดหรือตะกอนของยา หรือสารน้า ที่เข้ากันไม่ได้
  • 38.  ใช้ ASEPTIC TECHNIQUE ทุกขั้นตอน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในขณะแทงเข็ม เพราะเป็นทาง ที่จะนาเชื้อโรคเข้าไปได้  หมั่นตรวจดูบริเวณ PORT และรอบๆ ทุกเวร ว่ามี บวม แดง ปวด การขยายของหลอดเลือดฝอย รอบๆ PORT การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
  • 39. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath  ถ้ามีไข้ ให้รายงานแพทย์ เพราะอาจเกิดจากการติดเชื้อ หรือถูกต่อต้านจากเนื้อเยื่อในร่างกาย ซึ่งในกรณีนี้แพทย์จะ ให้ผ่าตัดเอา PORT ออก แขนบวม แดง อาจเกิดจากภาวะ THROMBOSIS
  • 40. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath  การเปลี่ยน IV set ต่างๆ เปลี่ยนสาย I.V. ทุก 48-72 ชั่วโมง เปลี่ยนสาย I.V. สาหรับ TPN ทุก 24 ชั่วโมง VOLUTROL หรือ SOLUSET สาหรับหยดยาให้ เปลี่ยนได้ทุก 5 วัน Blood set ควรเอาออกทันทีเมื่อให้เสร็จแล้ว  STERILE-CAP ควรเปลี่ยนทุก 48 ชั่วโมง 
  • 41. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath  เปลี่ยน DRESSING และเข็มทุก 7 วัน มักจะเปลี่ยน พร้อมๆ กัน เว้นเสียแต่ว่า DRESSING หลวมหลุด ซึ่งอาจทา ให้เข็มเคลื่อนออกมาเกิด BLOOD CLOT ปลาย CATHETER ได้ ให้เปลี่ยนได้ตามจาเป็น หาก DRESSING เป็น ผ้าก็อซ ควรเปลี่ยนทุก 48 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นกับนโยบายของ โรงพยาบาล  ควรเปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มบน PORT อย่าแทงซ้าจุด เดียวกันบ่อยๆ
  • 42. ป้ องกันการย้อนกลับของเลือดเข้า PORT ซึ่งหากเกิดลิ่ม เลือดขึ้น จะทาให้เกิดการอุดตัน และเป็นแหล่งที่มาของการติด เชื้อ นั่นคือ ไม่ปล่อยให้ยา หรือสารน้าหยุดนานเกินไป การ FLUSH ด้วย HEPARIN ตามอัตราส่วน และจานวนอย่างถูกวิธี ใช้เข็มชนิดที่มี EXTENSION SET ต่อเข้ากับ SYRINGE และ CLAMP เวลาเปลี่ยน SYRINGE หลายชนิด จะช่วยป้ องกัน AIR EMBOLISM ได้ดีขึ้น การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
  • 43. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath  เข็ม HUBER POINT ชนิด ที่ไม่มี EXTENSION SET ห้าม คาเข็มโดยให้หัวเข็ม NEEDLE เปิดโล่งสัมผัสอากาศ ส่วนเข็ม ชนิดที่มี EXTENSION SET ให้ปิด CLAMP ไว้ ควรใช้ SYRINGE ขนาด 10 CC ขึ้นไป เพื่อช่วยลด แรงดันต่อ CATHETER เพราะแรงดันที่สูงมากๆ อาจทาให้ CATHETER แตกได้
  • 44. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath  ใช้ INFUSION PUMP หากต้องการควบคุมอัตราการหยด ของยา และสารน้า ทั้งนี้ความดันต้องไม่เกินกาหนดที่ PORT และ CATHETER รับได้  ตรวจดู BLOOD RETURN ทุกครั้ง ก่อนให้ยาเคมีบาบัด ชนิดที่มีฤทธิ์ทาลายเนื้อเยื่อ (VESICANTS)
  • 45.  ละลายยาผงให้เข้ากันดีกับตัวทาละลาย เพื่อป้ องกัน การตกตะกอนใน PORT และ CATHETER ซึ่งจะทาให้เกิด การอุดตันได้  ควรรู้ว่ายา หรือสารละลาย หรือสารน้าใด ที่เข้ากัน ไม่ได้ (INCOMPATIBLE) เพราะปัญหาการอุดตันของ PORT ที่มักจะแก้ไขไม่ได้ เกิดจากสาเหตุของตะกอนของ สารเหล่านี้ การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
  • 46.  ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อพบว่ายา หรือสารน้าไม่ไหล อัตราการไหลลดลง ฉีดยา หรือสารน้าเข้าไม่ได้ หรือเตรียมเก็บเลือดไม่ได้ ควรปฎิบัติดังนี้ 1. ถามผู้ป่วยว่าเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นก่อนมีปัญหา เพื่อหา สาเหตุ 2. ตรวจสอบอุปกรณ์ในการให้ยา และสารน้าทั้งหมดว่า มี จุดบกพร่องที่ใด เช่น สายหักงอ ขวดสารน้าไม่มีการระบาย อากาศ หรือท่อระบายอากาศอุดตัน การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
  • 47. 3. ตรวจดูบริเวณ PORT และรอบๆ ว่ามี บวม แดง หรือมี อาการแน่นอึดอัดหน้าอก หรือไม่ 4. ตรวจดูตาแหน่งเข็ม ให้แน่ใจว่าปลายเข็มกระทบกับฐาน ของ PORT ห้ามโยกเข็ม การเคลื่อนของเข็มออกมา เป็น เหตุให้ปลายเข็มอยู่นอก SEPTUM เกิดการย้อนกลับของ เลือดมาเข้า PORT และอาจทาให้เกิดการรั่วของยา และ สารน้าออกมาบริเวณ SUBCUTANEOUS TISSUE ได้ การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath
  • 48. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath 5. หากเก็บเลือดสาหรับตรวจไม่ได้ ให้ผู้ป่วยเปลี่ยนท่า เช่น ให้นอนตะแคง นั่ง อาจช่วยแก้ไขได้ในกรณีที่ปลาย CATHETER ชนผนังหลอดเลือด 6. IRRIGATE เบาๆ ด้วย NORMAL SALINE 10-20 CC ห้าม PUSH แรงๆ เพราะ หากมีลิ่มเลือด หรือFIBRIN SHEET ขนาดใหญ่ จะทาให้เกิด EMBOLISM ได้ หากไม่ สาเร็จให้รายงานแพทย์ หรือเจ้าหน้าที่ผู้ดูแล
  • 49. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath การแก้ไขเมื่อมีการอุดตัน หรืออุดตันบางส่วน เป็นหน้าที่ หรืออยู่ในความดูแลของแพทย์ ซึ่งการอุดตันนี้ เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น CATHETER ขดหรือหักงอ โดยแพทย์จะทาการปรับ CATHETER ใหม่ หรือลองให้ ผู้ป่วยเปลี่ยนท่า สาเหตุใหญ่ๆ ของการอุดตันมักเกิดจากลิ่ม เลือด และตะกอนของสารที่ค้างอยู่ใน PORT
  • 50. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath การอุดตันที่เกิดจากลิ่มเลือด เมื่อค้นพบสาเหตุว่าเกิดจาก ลิ่มเลือดแล้ว แพทย์อาจจะ IRRIGATE ด้วย HEPARIN ตามอัตราส่วนที่แพทย์ต้องการ เช่น 1000 UNITS ใน NORMAL SALINE 1CC จานวน 1-2 ซีซี หรืออาจให้หยด HEPARIN อย่างต่อเนื่องในกรณีที่มีการอุดตันบางส่วน โดยใช้เข็มขนาดใหญ่ที่สามารถนาเอา CLOT ออกมาได้ เช่น เบอร์ 19 หรือ 20
  • 51. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath หากไม่สาเร็จ แพทย์อาจให้ใช้ UROKINASE (หรือสารประเภทเดียวกัน) โดยทั่วไปใช้อัตราส่วน 5000 UNITS ใน NORMAL SALINE จานวน 1 ซีซี ใส่ใน PORT ทิ้งไว้ประมาณ 5-15 นาที ค่อยๆดูดออก หากไม่ออก ทิ้งไว้อีก 5-15 นาที สลับกันเช่นนี้ หรืออาจจะใช้วิธีการหยด อย่างต่อเนื่องก็ได้
  • 52. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath  หากพบว่าการอุดตันเกิดจากตะกอนของยา หรือสารน้า แพทย์อาจให้ประคบร้อน เพื่อ ช่วยให้ตะกอนนั้น ละลายตัวดี ขึ้น หรือใส่สารละลายเพื่อเข้าไปปรับสมดุลกรด-ด่าง เช่น ใส่ HYDROCHLORIC ACID ในกรณีที่เกิดจากตะกอนของ เกลือแร่ SODIUM BICARBONATE ในกรณีที่เกิดจากตะกอนของยา ETHYL ALCOHOL ในกรณีที่เกิดจากตะกอนของไขมัน
  • 53. การพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Port A Cath  หากไม่สามารถแก้ปัญหาการอุดตันได้ จาเป็นต้อง ผ่าตัดเอา PORT ออก เพราะถ้าทิ้งไว้ ลิ่มเลือด หรือ ตะกอนเหล่านี้อาจเป็นแหล่งที่มาของการติดเชื้อ