SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
Télécharger pour lire hors ligne
พุทธศาสนายุครัตนโกสินทร์
(พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปัจจุบัน)
๑. การทําสังคายนาคืออะไร
ในประเทศไทยเกิดขึนในยุคไหนบ้าง
ประเทศไทยมีการนับครังการทําสังคายนาประเทศไทยมีการนับครังการทําสังคายนา
อย่างไร?
การสังคายนาพระธรรมวินัย
ในศาสนาพุทธเถรวาท คือการประชุม
ตรวจชําระสอบทานและจัดหมวด หมู่
คําสังสอนของพระพุทธเจ้า ให้เป็น
แบบแผนอันหนึงอันเดียวกัน เมือได้แบบแผนอันหนึงอันเดียวกัน เมือได้
มติร่วมกันแล้วในเรืองใด ก็ให้สวดขึน
พร้อมกัน การสวดพร้อมกันแสดงถึง
การลงมติร่วมกันเป็นเอกฉันท์
การสังคายนาครังที ๑
ณ ถําสัตตบรรณคูหา เมืองราชคฤห์
การนับครังการสังคายนามีความแตกต่างกันในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทกับ
พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน นอกจากนี แม้ประเทศทีนับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
ด้วยกันเองก็ยังนับครังการสังคายนาไม่ตรงกัน ซึงในไทยจะนับการสังคายนาสามครัง
แรกทีประเทศอินเดีย และครังที ๑-๒ ทีลังกา แต่ในหนังสือสังคีติยะวงศ์ หรือประวัติ
แห่งการสังคายนา ของสมเด็จพระวันรัต ได้นับเพิมอีก ๔ ครัง คือ
ครังที ๖ เมือ พ.ศ. ๙๕๖ ในลังกา โดยพระพุทธโฆสะได้แปลและเรียบเรียง
อรรถกถา ซึงถือว่าเป็นการชําระอรรถกถา ไม่ใช่พระไตรปิฎก ทางลังกาจึงไม่นับเป็นการ
สังคายนาสังคายนา
ครังที ๗ เมือ พ.ศ. ๑๕๘๗ ในลังกา โดยพระกัสสปเถระเป็นประธานรจนา
อรรถกถาต่างๆ ซึงถือว่าเป็นการชําระอรรถกถา ไม่ใช่พระไตรปิฎก ทางลังกาจึงไม่
นับเป็นการสังคายนาเช่นกัน
ครังที ๘ เมือ พ.ศ. ๒๐๒๐ ในประเทศไทย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าติโลกราช
แห่งอาณาจักรล้านนา
ครังที ๙ เมือ พ.ศ. ๒๓๓๑ ในประเทศไทย โดยการอุปถัมภ์ของพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
๒. วิวัฒนาการการสร้างพระไตรปิฎกจาก
รัชกาลที ๑ ถึงรัชกาลปัจจุบันมีชือ เรียกรัชกาลที ๑ ถึงรัชกาลปัจจุบันมีชือ เรียก
อย่างไรบ้าง จงอธิบายให้ละเอียด?
ในสมัยพระพุทธยอดฟ้ าจุฬา-
โลกมหาราช ทรงโปรดให้ช่างคิดจําลอง
สร้างพระไตรปิ ฎกฉบับกลาง มีชือ
เรียกว่า “ฉบับทองใหญ่” หรือ “ฉบับ
ทองทึบ” และยังโปรดให้สร้าง
พระไตรปิฎกขึนอีก ๒ ฉบับคือ “ฉบับ
รองทรง” หรือ “ฉบับข้างลาย” และ
พระไตรปิฎกขึนอีก
รองทรง” หรือ “ฉบับข้างลาย” และ
“ฉบับทองชุบ” เดิมเก็บไว้ที
หอพระมณเฑียรธรรม แต่ถูกเพลิงไหม้
หมด ปัจจุบันจึงอยู่ที พระมณฑป วัด
พระศรีรัตนศาสดาราม
พระมณฑป ภายในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภายในเป็นทีประดิษฐานตู้พระไตรปิฎกประดับมุก
ในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระนังเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้
สร้างพระไตรปิ ฎกขึนเป็นจํานวน
มาก ตลอดจนอักขระบาลีก็ได้รับ
การชําระสอบทานให้ถูกต้อง
ครบถ้วน จากการขอยืมจากลังกาเข้า
มารวม ๗๐ เล่ม
ในสมัยพระบาทสมเด็จในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดให้
สร้างพระไตรปิ ฎกฉบับใหม่
เนืองจากการตรวจพบว่าหนังสือ
หลวงขาดบัญชีไป ฉบับใหม่นี
เรียกว่าฉบับ “ล่องชาด” เพราะ
ด้านข้างปิดทองสลับชาด ภาพลักษณะศิลปกรรม “ปิดทองล่องชาด”
ในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้
จัดพิมพ์คัมภีร์พระไตรปิ ฎกเป็น
เล่มสมุดด้วยภาษาไทย นับเป็นครัง
แรกในโลกทีพระไตรปิฎกได้รับ
ก า ร จั ด พิ ม พ์ เ ป็ น ห นั ง สื อก า ร จั ด พิ ม พ์ เ ป็ น ห นั ง สื อ
กรมหมืนวชิรญาณวโรรส เป็ น
ประธานในการตรวจชําระครังนี
พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย
๓. ระบบการศึกษาของคณะสงฆ์จากรัชกาล
ที ๑ ถึงรัชกาลปัจจุบันมีการ เปลียนแปลงที ๑ ถึงรัชกาลปัจจุบันมีการ เปลียนแปลง
จากเดิมจนถึงปัจจุบัน
อย่างไรบ้าง?
การศึกษาบาลีในครังนันเริมจากการอ่านเขียนอักษรขอม เมืออ่าน
ออกแล้วจึงให้อ่านหนังสือพระมาลัย แล้วท่องสูตรมูลกัจจายน์ เรียน
สนธิ เรียนนาม อาขยาตกิตก์ อุณณาทการก จบแล้วขึนคัมภีร์เรียนอรรถ
กถา ธัมมบทมังคลทีปนี สารัตถสังคหะ ปฐมสมันตปาสาทิกา วิสุทธิ
มัคค์ฎีกาสารัตถทีปนี เมือเรียนจบคัมภีร์ดังกล่าวแล้วก็จะมีขีด
ความสามารถทีจะอ่านพระไตรปิฎกให้เข้าใจได้
แต่เดิมมา การเรียนการสอนของพระสงฆ์กําหนดไว้เพียง ๓แต่เดิมมา การเรียนการสอนของพระสงฆ์กําหนดไว้เพียง ๓
ชัน คือ
บาเรียนตรี เรียน พระสูตร
บาเรียนโท เรียน พระสูตร- พระวินัย
บาเรียนเอก เรียน พระสูตร- พระวินัย- พระอภิธรรม
การเรียนคงจะมิได้เรียนทังหมด แต่จะคัดเลือกบางเรืองบางคัมภีร์ใน
แต่ละปิ ฎกมาเรียน ความรู้จึงอาจจะไม่เพียงพอเผยแผ่ พระองค์จึงได้ทรง
เปลียนแปลงเสียใหม่เป็น ๙ ประโยค กําหนดหลักสูตรให้ยากขึนตามลําดับ ต้อง
สอบได้๓ ประโยคเสียก่อนจึงจะได้เป็นเปรียญ(พระมหา) เมือสอบได้๔ ประโยค
ก็เรียกว่า เปรียญ ๔ ประโยค จนสอบได้ประโยค ๙ เรียกว่า เปรียญ ๙ ประโยค
ในสมัยนี วังหน้าคือ กรมหมืนเจษฎาบดินทร์ หรือ ร.๓ ในครังนัน ทรง
ประสงค์จะสนับสนุนการศึกษาจึงให้ผู้ทีสอบประโยค ๒ มาเป็นประสงค์จะสนับสนุนการศึกษาจึงให้ผู้ทีสอบประโยค ๒ มาเป็น
"เปรียญวังหน้า" เมือสอบได้ประโยค ๓ จึงให้ไปเป็น "เปรียญวังหลวง“
มาถึงในสมัย รัชกาลที ๓ กล่าวกันว่าการศึกษาของคณะสงฆ์ในสมัยนี
เจริญรุ่งเรืองมากกว่าสมัยใดๆ พระองค์เองได้ทรงเสด็จเป็นประธานสดับพระสงฆ์
แปลบาลีสอบไล่ทุกคราวไม่เคยขาด
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการปรับปรุงและ
เปลียนหลักสูตร และวิธีสอนซึงยังคงใช้อยู่คลอดมาจนบัดนี เช่น
- นวโกวาท หลักสูตร น.ธ. ตรี
- พุทธประวัติ หลักสูตร น.ธ. ตรี
- อนุพุทธประวัติ หลักสูตร น.ธ. โท
- ธรรมปริเฉทที ๒ หลักสูตร น.ธ. โท- ธรรมปริเฉทที ๒ หลักสูตร น.ธ. โท
- พุทธานุพุทธประวัติ หลักสูตร น.ธ. เอก
- ธรรมวิจารณ์ หลักสูตร น.ธ. เอก
- หลักสูตรเปรียญธรรม
- ปฐมสมโพธิ ฯลฯ
๔. กําเนิดพระมหานิกายและ
พระธรรมยุติกนิกายเกิดขึนเมือใดและมี
ประวัติความเป็นมาอย่างไร มีวิธีสังเกตประวัติความเป็นมาอย่างไร มีวิธีสังเกต
อย่างไรว่าท่านอยู่ในนิกายไหน?
เดิมนัน คําเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็น
มหานิกาย และ ธรรมยุติกนิกาย ยังไม่มี เนืองจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัย
โบราณ ก่อนหน้าทีจะมีการจัดตังคณะธรรมยุตขึนในสมัยรัชกาลที ๔ นัน ไม่
มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนันล้วนแต่
เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทังสิน จนเมือพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ ามงกุฏ
(พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที ๔) ได้ก่อตังนิกายธรรมยุต
ขึนในปี พ.ศ. ๒๓๗๖ แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยทีมีมาแต่เดิมซึงเป็นขึนในปี พ.ศ. ๒๓๗๖ แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยทีมีมาแต่เดิมซึงเป็น
พระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนัน จึงทําให้พระองค์คิดคําเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่
ในประเทศไทยทีเป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ
มหานิกาย
การสังเกตว่าท่านอยู่ในนิกายใด อาจพิจารณาจากการครองจีวร ดังนี
ธรรมยุติกนิกาย มหานิกาย
๕. กษัตริย์พระองค์ไหนทีทรงขึนครองราชย์
พ.ศ.ลงท้ายด้วยเลข ๗
พระชนมายุลงท้ายด้วยเลข ๗พระชนมายุลงท้ายด้วยเลข ๗
ครองราชย์ลงท้ายด้วยเลข ๗ ?
พระบาทสมเด็จพระนังเกล้า
เจ้าอยู่หัว ทรงขึนเสวยราชย์เมือ ๑
สิงหาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ขณะพระชนม์
ได้๓๗ พรรษา ครองราชย์อยู่ ๒๗ ปี
พระนามเดิมว่า "สมเด็จพระ
เจ้าลูกยาเธอ กรมหมืนเจษฎาบดินทร์"เจ้าลูกยาเธอ กรมหมืนเจษฎาบดินทร์"
หรือ "พระองค์ชายทับ“พระบาทสมเด็จ
พระนังเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรส
พระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์
แรกทีประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม
๖. วัดประจํา ๙ รัชกาลมีวัดอะไรบ้าง และมี
สถานภาพวัดอยู่ในชันไหน?สถานภาพวัดอยู่ในชันไหน?
วัดพระเชตุพนมิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
พระอารามหลวงชันเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 1 ใน 6 ของไทย และเป็นวัดประจํา
รัชกาลที ๑ ตังอยู่ ณ แขวงพระบรมหาราชวัง เขตพระนคร กทม.
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
พระอารามหลวง ชันเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 1 ใน 6 ของไทย และเป็นวัดประจํา
รัชกาลที ๒ ตังอยู่ ณ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กทม.
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
พระอารามหลวง ชันเอก เป็นวัดประจํารัชกาลที ๓
ตังอยู่ ณ ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร
วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
พระอารามหลวง ชันเอก ชนิดราชวรวิหาร เป็นวัดประจํารัชกาลที ๔
ตังอยู่ ณ ถนนสราญรมย์แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กทม.
วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
พระอารามหลวง ชันเอก ชนิดราชวรวิหาร วัดประจํารัชกาลที ๕
ตังอยู่ ณ ถนนเฟืองนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กทม.
วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก
วัดประจํารัชกาลที ๙ ทรงพระราชดําริให้เป็นวัดตัวอย่างของวัดขนาดเล็กในเขต
ชุมชนเมือง เน้นความเงียบง่าย สงบ ประหยัดและประโยชน์ใช้สอยสูงสุด
ตังอยู่บนเนือที 8 ไร่ 2 งาน 54 ตารางวา บนถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง
๗. โลหะปราสาทคืออะไร อยู่วัดไหน
เกียวข้องอะไรกับอินเดียและลังกา?เกียวข้องอะไรกับอินเดียและลังกา?
โลหะปราสาทสร้างในรัชสมัยของ
พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นโลหะ
ปราสาทองค์แรกและองค์เดียวของไทย และถือ
เป็นองค์ที 3 ของโลก สร้างอยู่ในพืนทีวัดราช
นัดดาราม ยอดปราสาทประดิษฐานพระบรม
สารีริกธาตุ
โลหะปราสาท ก่อสร้างขึนโดย
พระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระนังเกล้า
เจ้าอยู่หัว แทนการสร้างเจดีย์ โลหะปราสาท
พระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระนังเกล้า
เจ้าอยู่หัว แทนการสร้างเจดีย์ โลหะปราสาท
นี ถือเป็นโลหะปราสาทองค์ที 3 ของโลก โดย
โลหะปราสาทหลังแรก สร้างขึนในสมัย
พุทธกาลโดยนางวิสาขา มหาอุบาสิกา ชือว่า "มิ
คารมาตุปราสาท" ส่วนโลหะปราสาทหลังที 2
สร้างโดยพระเจ้าทุฏฐคามณี กษัตริย์แห่งกรุงอนุ
ราธปุระลังกา
๘. พระไตรปิฎกคอมพิวเตอร์คืออะไร
มีประวัติความเป็นมาอย่างไร?มีประวัติความเป็นมาอย่างไร?
โครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์
เพือการศึกษาพระไตรปิฎกและอรรถกถา
ตามพระราชดํารินี ได้พัฒนาแล้วเสร็จใน
เดือนพฤศจิกายน 2534 ในชือ BUDSIR IV
โดยพัฒนาต่อเนืองจาก โปรแกรม
เดือนพฤศจิกายน 2534 ในชือ
โดยพัฒนาต่อเนืองจาก โปรแกรม
BUDSIR (Buddhist Scriptures Information
Retrieval) สําหรับประวัติของ Budsir นัน
มีดังนี
BUDSIR I สามารถค้นหา คําทุกคํา ศัพท์ทุกศัพท์ ทุกวลี ทุกพุทธวจนะ ทีมีปรากฏใน
พระไตรปิฎก จํานวน 45 เล่ม หรือข้อมูลมากกว่า24.3ล้านตัวอักษรทีได้รับการบันทึกใน
คอมพิวเตอร์ได้อย่าง
รวดเร็ว ถูกต้อง และครบถ้วนสมบูรณ์
BUDSIR II พัฒนาแล้วเสร็จในเดือนกันยายน 2532 ซึงเป็นพระไตรปิฎกอักษรโรมัน
สําหรับการเผยแผ่ไปยังต่างประเทศ
BUDSIR III ได้รับการพัฒนาขึนอีกในเดือนเมษายน 2533 เพืองานสืบค้นทีมีความBUDSIR III ได้รับการพัฒนาขึนอีกในเดือนเมษายน 2533 เพืองานสืบค้นทีมีความ
ซับซ้อน
BUDSIR IV ได้รวบรวมพระไตรปิฎกและอรรถกถา/ฎีกา รวมทังคัมภีร์ทุกเล่มทีใช้
ศึกษาหลักสูตรเปรียญธรรม นอกจากนียังรวมเวอร์ชัน ทีเป็นอักษรโรมัน เข้าไว้ด้วยกัน ซึงมี
ขนาดข้อมูลรวม 115 เล่ม หรือประมาณ 450 ล้านตัวอักษร นับเป็นพระไตรปิฎกและอรรถกถา
ฉบับคอมพิวเตอร์ทีสมบูรณ์ทีสุดในปัจจุบัน และปัจจุบันมีโครงการเพิมเติม โดยบันทึก
พระไตรปิฎกลงบน CD – Rom และกําลังเริมต้นโครงการพัฒนาโปรแกรมพระไตรปิฎก
คอมพิวเตอร์ฉบับภาษาไทย

Contenu connexe

Tendances

ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 

Tendances (20)

ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
บทที่ ๒ ใหม่
บทที่ ๒ ใหม่บทที่ ๒ ใหม่
บทที่ ๒ ใหม่
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 

Similaire à ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1

แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔Tongsamut vorasan
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 

Similaire à ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1 (20)

แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 

Plus de เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ

Plus de เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ (6)

ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
 
Social M.2 term1
Social M.2 term1Social M.2 term1
Social M.2 term1
 

ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1