SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
โดย พระราชญาณกวี
                                                                            




	 สรรค์สาระ	 :	 กฤษดา รามัญศรี	 บรรณาธิการสาระ	 :	 ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัตย์
	 ออกแบบปก	 :	 อนุชิต คำซองเมือง	 บรรณาธิการศิลปะ	 :	 อนุชิต คำซองเมือง
	 รูปเล่ม/จัดอาร์ต :	 จิระพัฒน์ ยังโป้ย	 ภาพประกอบ 	 :	 สมควร กองศิลา
อานิสงส์การแจกหนังสือธรรมะ

                           เป็นธรรมทาน
	         “สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การให้ธรรมะเป็นทาน ชนะการให้
ทั้งปวง” เป็นคำที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญผู้ที่ให้ธรรมะเป็นทานแก่
ผู้อื่น การให้ธรรมทาน เป็นทานที่มีผลมาก เป็นการสร้างบุญบารมี
อย่า งหนึ่ ง ซึ่ ง อานิสงส์การให้หนังสือธรรมะเป็ น ทานสามารถสรุ ป ได้
๑๑ ประการ คือ
	         ๑.	 กรรมเวรจากอดีตชาติจะได้ลบล้าง
	         ๒. 	 หนี้เวรจะได้คลี่คลาย พ้นภัยจากทะเลทุกข์
	         ๓.	 โรคภัยไข้เจ็บจากเจ้ากรรมนายเวรจะพ้นไป
	         ๔. 	 สามีภรรยาที่แตกแยกจะคืนดีต่อกัน
	         ๕. 	 วิญญาณของเด็กที่แท้งจะได้ไปเกิดใหม่
	         ๖. 	 กิจการงานจะราบรื่นสมความปรารถนา
	         ๗. 	 บุตรจะเฉลียวฉลาดและเจริญรุ่งเรือง
	         ๘. 	 บารมีคุ้มครองลูกหลานให้อยู่เย็นเป็นสุข
	         ๙. 	 พ่อแม่จะมีอายุยืน
	 ๑๐. 	 ลูกหลานเกเรจะเปลี่ยนแปลงเป็นคนดี
	 ๑๑. 	 วิญญาณทุกข์ของบรรพบุรษจะพ้นจากการถูกทรมานไปสูสคติ
                                              ุ                              ุ่
	         ท่านสามารถให้ธรรมะเป็นทานได้ด้วยการสอน แนะนำหรือให้
หนังสือธรรมะดี ๆ แก่ ผู้ อื่ น เพื่ อ ให้ ผู้ อื่ น ได้ น ำธรรมะไปประยุ ก ต์ ใช้ ใ น
ชี วิ ต ประจำวั น นอกจากเป็นการสร้างบุญบารมีแก่ตนเองแล้วยังเป็น
การช่วยจรรโลงสังคมให้ร่มเย็นต่อไป


                 อกฺขรา เอกํ เอกญฺจ พุทฺธรูปํ สมํ สิยา
 สร้างอักขรธรรมหนึ่งอักษร มีอานิสงส์เท่ากับสร้างพระพุทธรูปหนึ่งองค์
                                           ศาสนวงศ์ ฉบับพระปัญญาสามี ๒๔๐๔
คำนำสำนักพิมพ์
                              

	       คุณกำลังเครียดกันอยู่หรือไม่ ?
	       ความเครียดแฝงอยู่ในตัวเราทุกคน ไม่ว่าใครต้องเคยประสบพบ
เจอเจ้าความเครียดนี้ด้วยกันทั้งนั้น

	       ความเครียดนั้นเกิดจากอะไร ?
	         ความเครียดนันเกิดจากปัญหาในเรืองต่างๆ ไม่วาจะเป็นเรืองการเงิน
                       ้                 ่          ่         ่
เรื่องสุ ข ภาพ เป็ น ต้น ที่ยังไม่สามารถหาทางออกได้ ยกตั ว อย่ า งเช่ น 
พ่อป่วยเป็นโรคร้ายแรง แต่เราไม่มีเงินค่ารักษาพยาบาล ก็ทำให้คิดไม่ตก
หาทางออกไม่ได้ ก่อให้เกิดความเครียดขึ้น เป็นต้น

	         เราจะแก้ความเครียดได้อย่างไร ?
	       พระพุทธศาสนานั้นสอนไว้ว่า มนุษย์เราแยกได้เป็น ๒ ส่วน คือ
ส่วนกาย และส่วนใจ ความเครียดนั้นเป็นโรคทางใจ ซึ่งไม่สามารถรักษา
ให้หายได้ ด้ ว ยยาที่ หมอจัดให้เหมือนโรคทางกาย ต้ อ งรั ก ษาตรงที่ ใจ
เท่านั้น คื อ ต้ อ งมองให้เห็นหลักความเป็นจริง ของชี วิ ต แล้ ว อย่ า ยึ ด ติ ด
ทุกสิ่งเกิ ด ขึ้ น ตั้ ง อยู่ และดับไป เมื่อคิดได้เช่น นี้จะเกิดปัญญา หาทาง
ออกของปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “ปญฺา เจนํ 
ปสาสติ : ปัญญาย่อมปกครองบุรษนัน” กล่าวคือ ปัญญาช่วยคุ้มครอง
                                       ุ ้
เราจากความเครียดและปัญหาอื่นๆ ได้นั่นเอง
หนั ง สื อ “เครียดได้ก็หายได้ ” เล่มนี้ เป็ น ผลงานของพระเดช
พระคุ ณ พระราชญาณกวี (ปิยโสภณ) วัดพระราม ๙ กาญจนาภิ เ ษก
กรุง เทพฯ เนื้ อ หาภายในเล่มได้พูดถึงสาเหตุ ข องความเครี ย ดและวิ ธี
คลายเครียดตามหลักพระพุทธศาสนา ซึ่งผู้ อ่ า นสามารถนำไปปฏิ บั ติ
เพื่ อ คลายเครี ย ดได้ จ ริ ง นอกจากนี้ ใ นท้ า ยเล่ ม ผู้ ร วบรวมยั ง ได้ เ พิ่ ม
เคล็ดลับคลายเครียดต่างๆ เอาไว้ด้วย อาทิ บทสวดมนต์คลายเครียด
การกดจุดคลายเครียด เป็นต้น	              
	        เมื่อท่านได้ศึกษาวิธีคลายเครียดจากหนังสือเล่มนี้แล้ว ผู้รวบรวม
หวังเป็นอย่างยิงว่าวิธตางๆ นีจะเป็นอาวุธให้ทานไว้ตอสูกบความเครียดได้
                  ่    ี่       ้                ่     ่ ้ั
และท่านยังสามารถส่งต่ออาวุธสำหรับกำจัดความเครียดนี้ให้กับคนอื่นๆ
ต่อไปได้อีกด้วย

                             ขอให้ความเครียดสลายหายไปจากใจของท่าน





  
           โปรดใช้เล่มนี้ให้คุ้มสุดคุ้ม & อ่านแล้ว -> แบ่งกันอ่านหลายท่านนะจ๊ะ
         อ่านสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝึกฝนปัญญา พัฒนาการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
  จิตมีสติสัมปชัญญะ รู้เท่าทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช้ เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สุข สงบ เย็น เฉกเช่นพระนิพพาน
                สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ ปรารถนาให้ทุกครอบครัวมีความสุข
คำปรารภผู้เรียบเรียง

                                     	       ข้ า พเจ้ า ดี ใ จที่ ไ ด้ รั บ ฟั ง ปั ญ หา

                                     ความเครียดต่างๆ ในสังคมเป็นประจำ


                                    ทังทางหน้าหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์
                                       ้

                                    ทำให้เกิดความมันใจว่า แม้ขาพเจ้าจะมิใช่
                                                       ่                   ้

                                    หมอ แต่ข้าพเจ้ า ก็ พ อจะเข้ า ใจอารมณ์

                                    ของคนได้ เพราะความเครียดต่างๆ ล้วน
เกิดจากอารมณ์ ทั้ ง สิ้น เมื่อจับประเด็นได้เช่นนี้ แ ล้ ว ข้ า พเจ้ า ก็ ไ ด้คลาย
ความเครียดลง
	        ต่ อ มาข้ า พเจ้าประมวลความคิดให้เป็น หนึ่ ง เดี ย ว โดยตั้ ง ใจว่ า
จะเขียนให้สั้น อ่านง่าย อ่านสบายๆ ใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด ข้าพเจ้า
จึงเปรียบเทียบให้เข้าใจว่า ใจกับอารมณ์เหมือนแก้วกับน้ำ ใจเหมือนแก้ว
ส่วนอารมณ์เหมือนน้ำ ถ้าน้ำขุ่นแม้แก้วจะใสเพียงใด ก็จะกลายเป็นแก้ว
ขุนตามน้ำ เหมือนกับอารมณ์ทขน ย่อมทำให้ใจขุนตามอารมณ์
  ่                            ี่ ุ่                 ่
	        เพราะฉะนั้น จึงได้แนะนำวิธีคลายเครียดตามหลักของสมาธิและ
วิธีกำจัดความเครียดด้วยหลักของปัญญา ๗ ประการ คือ
	        ๑. กล้าเผชิญความจริง
	        ๒. เข้าใจเรื่องของอารมณ์ตนและคนอื่น
	        ๓. ไม่คาดหวัง แต่พิจารณาความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง
	        ๔. ปิด-เปิด ประตูรับรู้ให้เป็นเวลา
	        ๕. อย่านำเรื่องของคนอื่นมาเป็นทุกข์ของตน
๖. ฝึกแผ่เมตตา นึกถึงกฎแห่งกรรมมากกว่ากฎหมาย
	        ๗. นึกถึงธรรมชาติที่เหมือนกันของสัตว์ทั้งหลาย
	        แล้วก็ยกหลักพุทธธรรมมาแสดง ขอเรียนว่าข้าพเจ้ามิใช่หมอวิเศษ
ข้าพเจ้ า เป็ น แต่ เ พียงผู้บอกอุบาย ตัวท่านนั้นเองคือผู้ปรุงยาและทดลอง
ได้ผลอย่างไรกรุณาบอกให้ข้าพเจ้าฟังด้วย ต่อไปนี้ขอเชิญท่านทั้งหลาย
ลิ้มรสแห่งพุทธวิธีคลายเครียดในรูปแบบใหม่ต่อไป

                                                           
             

                                                 พระราชญาณกวี
                                            วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก



                               โอ้ย...เครียดจังทำไงดี
                                           
                                                        ไม่ใช้ปัญญาหาทางออก
                                                     แล้วจะหายเครียดได้ไงเจ้านาย
                                                                  




    
        ค่อย ๆ อ่าน ค่อย ๆ คิด คราคิดติดขัด หยุดพักสักนิด ทำจิตให้สงบ จักพบทางออก
              อ่านแล้วคิด คิดให้เข้าใจ เข้าใจแล้วลงมือทำ ทำด้วยสติสัมปชัญญะ 
                  ทำวันนี้ เดี๋ยวนี้ ขณะนี้ อย่ารอช้า อย่าผัดวัน อย่าประมาท 
                         คิดเร็ว สุขเร็ว ทำช้า ทุกข์มาก ทุกข์ยาวนาน
เครียดได้ 
ก็หายได้*

                  “ความเครียดเป็นเสมือนไฟสุมขอน 
        คือ กรุ่นลึกภายใน ความเครียดเกิดจากการเก็บสะสม
                  อารมณ์ร้าย อารมณ์ร้อน ทีละนิดๆ
                         บางครั้งอาจไม่รู้สึกตัว
                 ความเครียดเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย
           ตั้งแต่เด็กเล็ก หนุ่มสาว ผู้ใหญ่ กระทั่งวัยชรา”

	     ความเครี ย ดทำลายทั้ ง ร่ า งกายและจิ ต ใจ เยี ย วยาได้ เพราะ
ความเครียดเกิดจากอารมณ์ และอารมณ์เกิดจากความคิด จะเยียวยา
ความเครียด ต้องกลับไปดูอารมณ์อันเป็นอาหารของความคิด
	     
                                                 อย่าให้อารมณ์ร้าย
                                              ทำลายเรา เย็นไว้ เย็นไว้




    
 Mood (มูด) = อารมณ์
* เดิมชื่อ พุทธวิธีคลายเครียด
                          สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 7     เพียรเพื่อพุทธศาสน์
อย่าสะสมอารมณ์ร้าย
                 ใช้ปัญญาหาต้นเหตุ

            จนกลายเป็นความเครียด
                 และทางออกนะคะ

                   นะครับ









	         โรคภัยไข้เจ็บทางกายเกิดจากสิ่งที่เรากินเข้าไป กินสิ่งใดก็จะได้รับ
ผลจากสิ่งนั้น กินสิ่งดีมีประโยชน์ร่างกายก็จะแข็งแรง ดื่มกินของมึนเมา
ให้โทษ ร่างกายก็เมาและเกิดโทษทันทีบาง สะสมไว้ให้โทษในภายหลังบ้าง
                                        ้
แม้จิตใจของเราก็เช่นกัน อารมณ์ร้ายที่สะสมไว้ทีละนิด วันละน้อย จะทำ
ให้เรารู้สึกเครียดได้ เพราะฉะนั้นจึงต้องหาสาเหตุว่า
	         ๑. ความเครียดเกิดจากอะไร
	         ๒. พุทธวิธีคลายเครียดควรจะปฏิบัติอย่างไร

   
            คนเป็นทาสของกิเลส จึงวุ่นวาย เป็นทุกข์ อย่างรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว
            สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เชิญชวนทุกท่านร่วมกันช่วยเพื่อนมนุษย์ให้เอาชนะกิเลส
                       พบสุขได้ ด้วยการพิมพ์หนังสือเล่มนี้แจกเป็นธรรมทาน 
            ยิ่งมาก บุญยิ่งทวี อย่างไม่โลภเมาบุญ รู้ว่าเป็นหน้าที่ช่วยเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
                                   (โปรดใช้ปัญญาพิจารณาเรื่องนี้)

                   เครียดได้ ก็หายได้ 8 พระราชญาณกวี
๓ สาเหตุแห่ง
ความเครียด

	       ในที่นี้จะกล่าวสั้นๆ ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด คือ


                    ๑. เครียดเพราะอารมณ์สุดโต่ง
	       เครียดเพราะอารมณ์สุดโต่ง เช่น รักมาก โลภมาก โกรธมาก
หลงมาก อิจฉามาก ริษยามาก นินทามาก จำเป็นต้องปรับความสมดุล
ของอารมณ์ คือเมื่อรู้ว่ารักมากไปก็ต้องปรับระดับความรักลงมา บางทีแม้
รักลูกหลาน รักสัตว์เลี้ยง ก็ทำให้เครียด


                           เพราะเมื่อรักก็หวง

                      เมื่อรักสิ่งใดก็จะหวงสิ่งนั้น

                     เมื่อหวงมากเข้าก็จะหลงใหล

            เมื่อหลงใหลมากๆ เหตุผลก็จะไม่เพียงพอ

       จะมีแต่อารมณ์ปกป้อง แม้เห็นว่าผิดก็ยังเข้าข้างผิด

	       ความรู้สึกอย่างนี้มิใช่ทำให้เราคนเดียวเครียด แต่จะทำให้คนอืนๆ
                                                                   ่
เครียดตามไปด้วย อารมณ์โลภ โกรธ เกลียด อิจฉา ริษยา ก็มีลักษณะ
ไม่ต่างกัน

	



                  สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 9   เพียรเพื่อพุทธศาสน์
๒. เครียดเพราะความคิดเป็นพิษ

	         เครียดเพราะความคิดที่เป็นพิษ เช่น คิดว่าตนถูกใส่ร้าย คิดว่า
ตนถูกกลั่นแกล้ง คิดว่าตนไม่สมหวัง คิดว่าเราต้องเอาชนะคนนั้นให้ได้
เราแพ้ไม่ได้ ความคิดเช่นนี้จะทำให้เรามีปมด้อย
	         ในชีวิตมนุษย์เรามี ๒ ปม คือ ปมเขื่อง กับ ปมด้อย
	

                      อย่าให้ ๒ ปมร้าย

                    ทำลายใจเรานะครับ




	         ปมเขื่อง คือ การสร้างความรู้สึกเข้าข้างตนว่าตนดีกว่า เด่นกว่า
ดังกว่า สวยกว่า มีความรู้ความสามารถมากกว่า มียศสูงกว่า มีบริวาร
สมบัติเงินทองมากกว่า
	         ส่วน ปมด้อย ก็จะมีนัยตรงกันข้าม ทั้ง ๒ ปมนี้จะทำให้มนุษย์เรา
มีความเครียด เรียกว่าถูกโลกธรรมอำพรางความจริง คือถูกนินทา สรรเสริญ
สุข ทุกข์ ครอบงำกระทั่งไม่ได้สติ นี่คือสาเหตุของความเครียดที่เกิดขึ้นได้
ง่ายที่สุด
	         ขอให้เราตั้งสติพิจารณาให้ดี เมื่อปมทั้ง ๒ นี้เข้าแทรกในจิตใจใคร
ผู้นั้นก็จะเกิดความรู้สึกอ่อนไหวได้ง่าย เช่น ถูกสรรเสริญเยินยอก็หลง
หรือถูกนินทาใส่ร้ายก็กลัดกลุ้ม ไม่มีปัญญาผ่องใสที่จะวินิจฉัยปัญหาใดๆ
ได้ นี่คือสาเหตุข้อหนึ่งที่ทำให้เกิดความเครียด
                  เครียดได้ ก็หายได้ 10 พระราชญาณกวี
๓. เครียดเพราะเรื่องปากท้อง

	      เครี ย ดเพราะปากท้อง ซึ่งเป็นเรื่องปกติ ข องคน เพราะมนุ ษ ย์
ทุกชาติทุกภาษาล้วนมีปัญหาเดียวกันคือ ปากท้อง ความเป็นอยู่ 
                                     
                          คนที่ไม่มีจะกินก็ทุกข์ 
           เพราะไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะหาอะไรที่ไหนมาใส่ท้อง 
            ไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะนอนที่ใด ส่วนคนมีกินแล้ว 
               มีที่อยู่ปลอดภัยแล้วก็กังวลเป็นทุกข์ 
               จะถูกปล้นจี้ ถูกขโมย ถูกเอาเปรียบ

	        สุดท้ายก็ทำให้เกิดเรื่องการต่อสู้แย่งชิง ทั้งทางทิฐิคือความคิดเห็น
ที่แตกต่างกันและทางสมบัติยศศักดิ์ เรื่องเหล่านี้ทำให้คนเราแม้จะนอนใน
คฤหาสน์หลังใหญ่กยงกลัดกลุมรุมร้อน แม้จะนังรถหรูมคนคุมกันรอบด้าน
                    ็ั          ้ ่               ่       ี ้
ก็ยังไม่รู้สึกปลอดภัย กลายเป็นคนรู้สึกว่าตนมีปมในชีวิตตลอดเวลา 
	        นี่แหละคือสาเหตุหลักของความเครียดของคนที่มีอยู่มีกินแล้ว
แต่ต้องมาเครียดเพราะทิฐิมานะการต่อสู้ทางความคิด



  

Save (เซฝ) = ประหยัด, Savings (เซฝ-อิงส) = การประหยัด

                   สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 11 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
ถ้าติดดิน ไม่เครียดเรื่องปากท้อง
	       ในเรื่องปากท้องนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแนะนำให้
แก้ปัญหาปากท้องด้วยการ “ปลูกกินทำกิน” ก่อน คือยุติการซื้อกิน 
ส่วนซื้อใช้ก็เลือกซื้อเฉพาะที่จำเป็น การปลูกกินทำกินมีผลดียิ่งต่อชีวิตคือ
ทำให้ไม่ต้องกินของมีพิษ พระเจ้าอยู่หัวทรงสอนไม่ให้ “รับจ้างซื้อกิน”
นั่นคือ ทรงแก้ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ดำเนินวิถีชีวิตอย่างเรียบง่าย ผลดี
ก็คือทำให้ “ชีวิตติดดิน” 
	       ปกติร่างกายมนุษย์เกิดจากธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ เมื่อชีวิต
สัมผัสดิน น้ำ ลม ไฟ ไออุ่นตลอดเวลา ร่างกายจะแข็งแรง ความเครียด
จะถูกธรรมชาติเหล่านี้ดูดซึมไป 
 ปลูกผักทานเอง
ไม่ปล่อยให้เป็นสารตกค้าง
             ทั้งประหยัดและปลอดภัย
ทางอารมณ์ เช่น ถูกทะเล 
ถูกภูเขา ถูกดอกไม้ต่างๆ 
สลายความเครียด แปลว่า 
ถ้าไม่อยากเครียดต้องติดดิน 
และอย่าทิ้งดิน เพราะของดี
ทุกอย่างอยู่ที่ดิน เมื่อติดดินจึงจะได้พบของดี
              ส่วนพวกเครียดเพราะความคิดนั้น
       จะต้องหายาพิเศษรักษา นั่นคือยาปรับความสมดุล
        ระหว่างความคิดและอารมณ์ให้สามารถไปกันได้
              ไม่ปล่อยอารมณ์มีอำนาจข่มเหงใจ
              หรือปล่อยให้ใจเหี่ยวแห้งหมดกำลัง 
                     ดังจะได้กล่าวต่อไป
                 เครียดได้ ก็หายได้ 12 พระราชญาณกวี
วิธีกำจัดความเครียดตามแนวพระพุทธศาสนา



                          ๑. คลายเครียดด้วยสมาธิ

                                         

 เมื่อใจเย็นก็มองเห็นปัญหา
	       สมาธิ คือ การทำใจและอารมณ์ให้นิ่ง ใจเหมือนแก้ว ส่วนอารมณ์
เหมือนน้ำ ใจว้าวุ่นเหมือนน้ำถูกเขย่า อารมณ์ขุ่นมัวเหมือนน้ำสกปรก เรา
ต้องทำใจให้นิ่งเพื่อให้อารมณ์ตกตะกอน เหมือนวางแก้วให้นิ่งเพื่อให้น้ำ
ในแก้วนิ่ง แล้วตกตะกอน เมื่ออารมณ์ไม่ขุ่นตะกอนเราจะได้เห็นความใส
ของน้ำ เริ่มตั้งแต่ขอบปากแก้วลงมาถึงก้นแก้วว่าแตกต่างกัน เมื่อใสก็จะ
มองเห็นตะกอนที่หยาบและละเอียด
                                                      จิตสงบเข้า

                                                   ความเครียดออก

 ญหาต่างๆ 
ปั

 ่เราแก้ไม่ได้ มองไม่เห็น 
ที

เมื่อใจนิ่ง อารมณ์เย็น

ก็จะเปิดออกมาให้เราเห็นปม



	       เป็ น เรื่ อ งที่ น่าคิดว่าคนไม่เคยทำสมาธิเ ลย พอวันหนึ่งหัดนั่งนิ่ง
ตัวตรง ทำใจให้สบายๆ หายใจให้ลึก เพียงไม่กี่นาทีปัญหาต่างๆ ที่ติดขัด
ก็เรียงลำดับออกมาเป็น ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ ให้เรามองเห็นว่าสิ่งไหนทับซ้อน
สิ่งไหนอยู่ แล้วเราก็ค่อยๆ แก้ปัญหาตามลำดับยากง่าย


 Meditation (เมดิเทฌัน) = สมาธิ, การทำสมาธิ
                    สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 13 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
ปัญหาที่ยาก แก้ง่ายถ้ามีสมาธิ
                               
	       โดยปกติถ้าใจขุ่นมัว ปัญหาต่างๆ จะมั่วทับซ้อนกันไม่เห็นเงื่อนปม
คนส่วนใหญ่จะหลงไปแก้ปัญหาหญ้าปากคอกทับเอาไว้ ไปแก้ปัญหาที่ยัง
ไม่เป็นปัญหา ยิ่งแก้ยิ่งเครียดหนักเพราะแก้ไม่ได้ แก้ปัญหานี้กลับไปเกิด
ปัญหาใหม่ให้เครียดไม่สิ้นสุด

         ทางที่ดีขอเชิญชวนให้ศึกษาวิธีคลายเครียด
                                
    โดยไม่ต้องกินยานั่นคือ อาบน้ำ รับประทานอาหารเบาๆ
                                
                 ใส่เสื้อผ้าสบายๆ นั่งให้สบาย
                                
       ผ่อนคลายอารมณ์ที่ห้องพระหรือระเบียงบ้านก็ได้
                                
             หรือใต้ต้นไม้ใหญ่ต
ามความเหมาะสม
          แล้วกำหนดลมหายใจเข้า–ออก ให้ลึก–ยาว
                                
                 ตลอดเวลาประมาณ ๓๐ นาที
                                
	        อารมณ์จะตกตะกอน แล้วมองเห็นปัญหาเป็นลำดับขั้น ตั้งแต่
ปัญหาที่ยากที่สุดจนถึงง่ายสุด วางเรียงลำดับไว้ให้เรา
	        พู ด ไปก็ เ ป็นสิ่งเหลือเชื่อ แต่ทุกคนจะพบความจริงอย่างเดียวกัน
เพราะนี่คือวิธีธรรมชาติที่สุด จิตกับอารมณ์ไม่ต่างอะไรจากแก้วกับน้ำ
ต้องนิ่งจึงจะมองเห็นปมคลายเครียด

	         ทุกปัญหามีทางออก ขอให้ตั้งต้นที่มี สติ เตือนตน จงสงบปาก สงบ
กาย สงบความคิด นิ่งอยู่กับเรื่องเดียวคือ สมาธิ ความร้อนในใจจะลดลงและ
พบทางออกของปัญหา เพราะปัญญาเกิด จงมีจิตคิดที่จะฝึกฝนหลัก ๓ ส.
(ส.สติ, ส.สงบ, ส.สมาธิ) ให้เกิดความชำนาญ

                 เครียดได้ ก็หายได้ 14 พระราชญาณกวี
๒. กำจัดความเครียดด้วยปัญญา 

	      ต่อไปนี้จะเป็นการนำเสนอวิธีกำจัดความเครียด ต่อจากวิธีคลาย
เครียด การคลายเครียดเป็นเพียงวิธบรรเทาเบืองต้น เหมือนรับประทานยา
                                  ี         ้
บรรเทาปวด ทายาคลายกล้ามเนื้อ ยังมิใช่ยารักษาให้หายขาด แต่ธรรม
ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น มิใช่เพื่อบรรเทา หากแต่เพื่อ
กำจัดเด็ดขาด ในที่นี้ข้าพเจ้าขอนำเสนอวิธีง่ายๆ ๗ วิธี ดังนี้

วิธีที่ ๑ กล้าเผชิญความจริง
	        ความเครียดทั้งปวงเกิดจากความคิดวิตกกังวล คนเราจะวิตก
กังวลทุกอย่างเมื่อความจริงยังไม่ปรากฏ ต่อเมื่อความจริงปรากฏเสีย
แล้ว ปัญญาก็เกิดเอง
	        ยกตัวอย่าง นักกีฬาก่อนแข่งขันก็วิตกกังวลเกรงจะแพ้ แต่เมื่อ
การแข่งขันเริ่มขึ้น คือเผชิญความจริงแล้ว สติปัญญาที่จะแก้ปัญหาก็มา
เอง แรงผลักในการต่อสู้ การแก้ปัญหาก็ตามมา

                                    โอ้ย...เงินหาย

            ไม่เป็นไรหรอก
         โดนแม่ตีแน่เลย
         อย่าคิดมาก พูดความจริง 
                          Don’t worry

              แม่ไม่ว่าหรอก
                               be happy






  Worry (เวอ-ริ) = ความทุกข์ร้อน, การหนักใจ, กังวล, เป็นกังวล

 Happy (แฮพ-พิ) = สุขใจ, สบายใจ
                  สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 15 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
ยิ่งกับคนที่ต้องดูแลคนป่วยหนัก หากไม่มีกำลังใจเพียงพอจะยิ่ง
เครียด ไม่มีทางออก วิตกกังวลไปสารพัดอย่าง ถ้าจิตใจไม่เข้มแข็ง ไม่กล้า
เผชิญความจริง คนเฝ้าอาจหมดแรงก่อนคนป่วยก็เป็นได้ง่ายๆ

   แม้เรื่องอริยสัจ ๔ ก็เป็นเรื่องสอนให้คนกล้าเผชิญความจริง
                                       
          โดยเฉพาะทรงสอนเรื่อง “ทุกข์” มิใช่สอนเรื่อง “สุข”
                                       
                   ทรงนำเสนอความทุก
ข์ประเภทต่างๆ เช่น 
                                       
    ทรงสอนวิธีหาเหตุแห่งทุกข์นั้นว่ามาจากความทะยานอยาก
                                       
                                       
  ขอให้ลูกช้างถูกหวยด้วยเถิด
    ไม่งั้นลูกช้างแย่แน่เลย
           
	

                                                   ก็เห็นแย่ทุกงวด



	           จากนั้ น จึ ง ทรงแสดงความดั บ ทุ ก ข์ เหมื อ นเราดั บ ไฟที่ ลุ ก โชน
เผาไหม้สิ่งต่างๆ อยู่ เมื่อไฟดับ ความร้อนก็หายไป ความเย็นก็ปรากฏ
เช่นเดียวกับทุกข์ดับ สุขก็ปรากฏ จากนั้นทรงแสดงทางสายกลาง คือ
การไม่ ท ำอะไรสุ ดโต่ง หรือเรียกง่ายๆ ว่า “ความสมดุ ล ในการดำรง
ชีวิต” อันเป็นเหตุให้เกิดความสุข 

 
 Suffering (ซัฟ-เฟอะริง) = ความทุกข์

                   เครียดได้ ก็หายได้ 16 พระราชญาณกวี
วิธีที่ ๒ เข้าใจเรื่องอารมณ์ของตนและคนอื่น
	       น่าคิดเป็นอย่างยิ่งว่า สมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ตรั ส แสดง
ความแตกต่างของคนที่ไร้จริต ทรงแสดงว่าคนเหมือนกันแต่ไม่เหมือน
กัน ก็เพราะชอบไม่เหมือนกัน พฤติกรรมไม่เหมือนกัน ท่านเรียกว่า
จริต คนเหมือนกันแต่ถ้าจริตต่างกันก็จะมีอารมณ์ต่างๆ กัน ความต่าง
กันของอารมณ์นี้เองที่ทำให้มนุษย์เราคิดต่างกัน เกิดความขัดแย้งกัน
ตลอดเวลา กระทั่ งนำความเครียดมาให้เรา ด้ ว ยเหตุ นี้ เราจึ ง จำเป็ น
ต้องเรียนรู้พฤติกรรมของคนในจริต ๖ คือ
	                          ๑. 	 คนบางคนรักสวยรักงาม ชอบแต่งตัว ชอบ
	                          ประดิษฐ์ ทำงานช้า ละเอียด คนประเภทนี้
	                          ท่านเรียกว่า คนราคจริต
        ๑. ราคจิต 
	                          ๒. 	 คนบางคนใจร้อน หงุดหงิด ชอบแสดงอำนาจ
	                          เป็นนิสัย ทำอะไรเร็ว พูดเร็ว ไม่ใส่ใจเรื่องความ
	                          ละเอี ย ด ชอบหลั ก การมากกว่ า รายละเอี ย ด 
	                          คนประเภทนี้ท่านเรียกว่า คนโทสจริต
        ๒. โทสจริต
	                          ๓. 	 คนบางคนชอบแสดงว่าตนไม่รู้อะไรไว้ก่อน
	                          เพราะปลอดภัย เพราะกลัวผิด กลัวถูกตำหนิ กลัว
	                          ถูกใช้งาน การไม่รู้คือไม่ต้องทำ เมื่อไม่ทำก็ไม่ผิด
	                          ท่านเรียกคนพวกนี้ว่า คนโมหจริต
        ๓. โมหจริต 

    
    Behavior (บิเฮฝ-เยอะ) = พฤติกรรม
                       สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 17 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
๔. 	 คนบางคนเชือคนง่าย ชืนชมอะไรง่ายๆ โดย
                                          ่           ่
	                         ไม่พิจารณา หรือตำหนิง่ายๆ แล้วกลับชื่นชมอีก
	                         เมือคนอืนชืนชม แปลว่ากลับคำได้งาย ทำตามคนอืน
                             ่ ่ ่                       ่           ่
	                         ไม่มีจุดคิดของตนเอง เรียกว่า คนสัทธาจริต
    ๔. สัทธาจริต
	                         ๕. 	 บางคนชอบคิด ชอบแสดงเหตุผล ชอบศึกษา
	                         เรียนรู้ ชอบหาความจริ ง ของเรื่ อ งนั้ น เป็ น นิ สั ย
	                         ไม่ เชื่ อ อะไรง่ า ยๆ จนกว่ า จะเห็ น ด้ ว ยปั ญ ญา
	                         ของตน ท่านเรียกว่า คนพุทธิจริต
     ๕. พุทธิจริต
	                         ๖. 	 คนบางคนชอบจับจดฟุงซ่าน ชอบบ่นจูจจกจิก
                                                 ้             ้ ี้ ุ
	                         ทำงานแบบหยิบโหย่ง ไม่จับอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน
	                         ชอบเป็นผูตามมากกว่าผูนำ คิดมากกังวลมาก ท่าน
                                    ้          ้
	                         เรียกว่า คนวิตกจริต

    ๖. วิตกจริต

                     จำง่ายๆ ว่าคนทั้ง ๖ ประเภทนี้ 
                คือ คนราคจริต, โทสจริต, โมหจริต, 
                 สัทธาจริต, พุทธิจริต และวิตกจริต 
                         เป็นลักษณะคติของคน
                     ที่เราต้องเรียนรู้เขาให้เข้าใจ 
                     เมื่อเข้าใจแล้วก็จะไม่เครียด



                     เครียดได้ ก็หายได้ 18 พระราชญาณกวี
วิธีที่ ๓ ไม่คาดหวัง แต่พจารณาความเปลียนแปลงของสรรพสิง
                         ิ            ่              ่
	      ความเครียดอย่างหนึ่งมักเกิดจากความหวัง เป็นธรรมดาที่มนุษย์
ทำอะไรมักหวังผลตอบสนอง เมื่อลงทุนก็หวังผลกำไร ไม่มีใครหวังขาดทุน
แม้ทำบุญยังหวังผลบุญ เมื่อหวังจึงมีทั้งสมหวังและผิดหวัง 

                 สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
             จึงทรงสอนให้คนรู้จักหลักความจริง ๓ ข้อ
                       คือ ความเปลี่ยนแปลง 
                  ความอดทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้
        และความที่เราไม่อาจยื้อสิ่งใดๆ ไว้ในอำนาจได้ตลอดไป
                   หรือที่รู้กันในวงการชาวพุทธว่า 
                      “อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา”
                        อันเป็นหลักธรรมใหม่
              ที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบ
            ว่าเป็นลักษณะที่ใช้ได้กับสรรพสิ่งในจักรวาล

                                      ทำบุญทั้งที ขอถูกล็อตเตอรี่

                                       รางวัลที่ ๑ ด้วยเถอะ





    
    Expect (เอ็คซเพคท) = คาดหวัง
                      สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 19 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
ขอให้ เราตั้ งใจไว้ ว่ า ข้ อนี้ มี ค วามสำคั ญ มากต่ อ การคลายเครี ย ด
หรอกำจัดความเครียด นั่นคือหมั่นพิจารณาสรรพสิ่งที่เราเผชิญว่า 
  ื

	 ๑.	ทุกอย่างล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป

	 ๒. 	 รรพสิงล้วนเปลียนแปลง และเปลียนไปเหมือนสายน้ำ

          ส ่                     ่                     ่
	 ๓.	ชีวิตมีได้มีเสียเสมอ การเสี ย บางอย่ า งก็ เ พื่ อให้ ไ ด้

บางอย่างมา ไม่มีใครได้ตลอด 

	 ๔.	แก้วที่เต็มน้ำแล้วจะรับน้ำใหม่ไม่ได้ เราหัดทำชีวิต

ให้พร่องบ้างก็ดี เพื่อรองรับสิ่งใหม่

	 ๕.	การยอมให้คนอื่นมีกำไรในชีวิตบ้าง บางครั้งก็เป็น
อุบายสำคัญในการประคองให้สมดุล
	 ๖.	 สิ่งที่ดีที่สุดไม่มี มีแต่สิ่งที่ดีพอสมควร
	 ๗.	อย่าแสวงหาคนดีทสดในชีวต ท่านจะทำอะไรไม่ได้เลย
                             ี่ ุ       ิ
	 ๘.	ผู้หาคนที่สมบูรณ์ที่สุดมาเป็ น เพื่ อ น จะหาใครเป็ น
เพื่อนไม่ได้แม้แต่คนเดียว

         สรรพสิ่งล้วนเกิดขึ้น
           ตั้งอยู่ ดับไป 
          อย่ายึดติดนะโยม
                                                       สาธุครับ/ค่ะ




                      เครียดได้ ก็หายได้ 20 พระราชญาณกวี

Contenu connexe

Tendances

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)firstnarak
 
ใบกิจกรรมที่ 1เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ใบกิจกรรมที่ 1เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ใบกิจกรรมที่ 1เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ใบกิจกรรมที่ 1เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์tassanee chaicharoen
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนมNIng Bussara
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยPloykarn Lamdual
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
ใบสมัครเรียนพิเศษ
ใบสมัครเรียนพิเศษใบสมัครเรียนพิเศษ
ใบสมัครเรียนพิเศษEd Dy
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดLibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนtumetr1
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1KruKaiNui
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003Pa'rig Prig
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
 

Tendances (20)

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
 
ใบกิจกรรมที่ 1เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ใบกิจกรรมที่ 1เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ใบกิจกรรมที่ 1เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ใบกิจกรรมที่ 1เรื่อง การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
 
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนม
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
ใบสมัครเรียนพิเศษ
ใบสมัครเรียนพิเศษใบสมัครเรียนพิเศษ
ใบสมัครเรียนพิเศษ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดLibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
 

En vedette

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์nok_bb
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 

En vedette (6)

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 
วิธีจัดการความเครียด
วิธีจัดการความเครียดวิธีจัดการความเครียด
วิธีจัดการความเครียด
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 

Similaire à เครียดได้ก็หายได้

จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)Songsarid Ruecha
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราSuradet Sriangkoon
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 

Similaire à เครียดได้ก็หายได้ (20)

จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
 
Kamnamtham 5
Kamnamtham 5Kamnamtham 5
Kamnamtham 5
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 

เครียดได้ก็หายได้

  • 1.
  • 2. โดย พระราชญาณกวี สรรค์สาระ : กฤษดา รามัญศรี บรรณาธิการสาระ : ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์สัตย์ ออกแบบปก : อนุชิต คำซองเมือง บรรณาธิการศิลปะ : อนุชิต คำซองเมือง รูปเล่ม/จัดอาร์ต : จิระพัฒน์ ยังโป้ย ภาพประกอบ : สมควร กองศิลา
  • 3. อานิสงส์การแจกหนังสือธรรมะ เป็นธรรมทาน “สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การให้ธรรมะเป็นทาน ชนะการให้ ทั้งปวง” เป็นคำที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญผู้ที่ให้ธรรมะเป็นทานแก่ ผู้อื่น การให้ธรรมทาน เป็นทานที่มีผลมาก เป็นการสร้างบุญบารมี อย่า งหนึ่ ง ซึ่ ง อานิสงส์การให้หนังสือธรรมะเป็ น ทานสามารถสรุ ป ได้ ๑๑ ประการ คือ ๑. กรรมเวรจากอดีตชาติจะได้ลบล้าง ๒. หนี้เวรจะได้คลี่คลาย พ้นภัยจากทะเลทุกข์ ๓. โรคภัยไข้เจ็บจากเจ้ากรรมนายเวรจะพ้นไป ๔. สามีภรรยาที่แตกแยกจะคืนดีต่อกัน ๕. วิญญาณของเด็กที่แท้งจะได้ไปเกิดใหม่ ๖. กิจการงานจะราบรื่นสมความปรารถนา ๗. บุตรจะเฉลียวฉลาดและเจริญรุ่งเรือง ๘. บารมีคุ้มครองลูกหลานให้อยู่เย็นเป็นสุข ๙. พ่อแม่จะมีอายุยืน ๑๐. ลูกหลานเกเรจะเปลี่ยนแปลงเป็นคนดี ๑๑. วิญญาณทุกข์ของบรรพบุรษจะพ้นจากการถูกทรมานไปสูสคติ ุ ุ่ ท่านสามารถให้ธรรมะเป็นทานได้ด้วยการสอน แนะนำหรือให้ หนังสือธรรมะดี ๆ แก่ ผู้ อื่ น เพื่ อ ให้ ผู้ อื่ น ได้ น ำธรรมะไปประยุ ก ต์ ใช้ ใ น ชี วิ ต ประจำวั น นอกจากเป็นการสร้างบุญบารมีแก่ตนเองแล้วยังเป็น การช่วยจรรโลงสังคมให้ร่มเย็นต่อไป อกฺขรา เอกํ เอกญฺจ พุทฺธรูปํ สมํ สิยา สร้างอักขรธรรมหนึ่งอักษร มีอานิสงส์เท่ากับสร้างพระพุทธรูปหนึ่งองค์ ศาสนวงศ์ ฉบับพระปัญญาสามี ๒๔๐๔
  • 4. คำนำสำนักพิมพ์ คุณกำลังเครียดกันอยู่หรือไม่ ? ความเครียดแฝงอยู่ในตัวเราทุกคน ไม่ว่าใครต้องเคยประสบพบ เจอเจ้าความเครียดนี้ด้วยกันทั้งนั้น ความเครียดนั้นเกิดจากอะไร ? ความเครียดนันเกิดจากปัญหาในเรืองต่างๆ ไม่วาจะเป็นเรืองการเงิน ้ ่ ่ ่ เรื่องสุ ข ภาพ เป็ น ต้น ที่ยังไม่สามารถหาทางออกได้ ยกตั ว อย่ า งเช่ น พ่อป่วยเป็นโรคร้ายแรง แต่เราไม่มีเงินค่ารักษาพยาบาล ก็ทำให้คิดไม่ตก หาทางออกไม่ได้ ก่อให้เกิดความเครียดขึ้น เป็นต้น เราจะแก้ความเครียดได้อย่างไร ? พระพุทธศาสนานั้นสอนไว้ว่า มนุษย์เราแยกได้เป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนกาย และส่วนใจ ความเครียดนั้นเป็นโรคทางใจ ซึ่งไม่สามารถรักษา ให้หายได้ ด้ ว ยยาที่ หมอจัดให้เหมือนโรคทางกาย ต้ อ งรั ก ษาตรงที่ ใจ เท่านั้น คื อ ต้ อ งมองให้เห็นหลักความเป็นจริง ของชี วิ ต แล้ ว อย่ า ยึ ด ติ ด ทุกสิ่งเกิ ด ขึ้ น ตั้ ง อยู่ และดับไป เมื่อคิดได้เช่น นี้จะเกิดปัญญา หาทาง ออกของปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “ปญฺา เจนํ ปสาสติ : ปัญญาย่อมปกครองบุรษนัน” กล่าวคือ ปัญญาช่วยคุ้มครอง ุ ้ เราจากความเครียดและปัญหาอื่นๆ ได้นั่นเอง
  • 5. หนั ง สื อ “เครียดได้ก็หายได้ ” เล่มนี้ เป็ น ผลงานของพระเดช พระคุ ณ พระราชญาณกวี (ปิยโสภณ) วัดพระราม ๙ กาญจนาภิ เ ษก กรุง เทพฯ เนื้ อ หาภายในเล่มได้พูดถึงสาเหตุ ข องความเครี ย ดและวิ ธี คลายเครียดตามหลักพระพุทธศาสนา ซึ่งผู้ อ่ า นสามารถนำไปปฏิ บั ติ เพื่ อ คลายเครี ย ดได้ จ ริ ง นอกจากนี้ ใ นท้ า ยเล่ ม ผู้ ร วบรวมยั ง ได้ เ พิ่ ม เคล็ดลับคลายเครียดต่างๆ เอาไว้ด้วย อาทิ บทสวดมนต์คลายเครียด การกดจุดคลายเครียด เป็นต้น เมื่อท่านได้ศึกษาวิธีคลายเครียดจากหนังสือเล่มนี้แล้ว ผู้รวบรวม หวังเป็นอย่างยิงว่าวิธตางๆ นีจะเป็นอาวุธให้ทานไว้ตอสูกบความเครียดได้ ่ ี่ ้ ่ ่ ้ั และท่านยังสามารถส่งต่ออาวุธสำหรับกำจัดความเครียดนี้ให้กับคนอื่นๆ ต่อไปได้อีกด้วย ขอให้ความเครียดสลายหายไปจากใจของท่าน โปรดใช้เล่มนี้ให้คุ้มสุดคุ้ม & อ่านแล้ว -> แบ่งกันอ่านหลายท่านนะจ๊ะ อ่านสิบรอบ ระดมสมองคิดสิบหน ฝึกฝนปัญญา พัฒนาการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จิตมีสติสัมปชัญญะ รู้เท่าทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช้ เฉลียวคิด ชีวิตจักสนุก สุข สงบ เย็น เฉกเช่นพระนิพพาน สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ ปรารถนาให้ทุกครอบครัวมีความสุข
  • 6. คำปรารภผู้เรียบเรียง ข้ า พเจ้ า ดี ใ จที่ ไ ด้ รั บ ฟั ง ปั ญ หา ความเครียดต่างๆ ในสังคมเป็นประจำ ทังทางหน้าหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ้ ทำให้เกิดความมันใจว่า แม้ขาพเจ้าจะมิใช่ ่ ้ หมอ แต่ข้าพเจ้ า ก็ พ อจะเข้ า ใจอารมณ์ ของคนได้ เพราะความเครียดต่างๆ ล้วน เกิดจากอารมณ์ ทั้ ง สิ้น เมื่อจับประเด็นได้เช่นนี้ แ ล้ ว ข้ า พเจ้ า ก็ ไ ด้คลาย ความเครียดลง ต่ อ มาข้ า พเจ้าประมวลความคิดให้เป็น หนึ่ ง เดี ย ว โดยตั้ ง ใจว่ า จะเขียนให้สั้น อ่านง่าย อ่านสบายๆ ใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด ข้าพเจ้า จึงเปรียบเทียบให้เข้าใจว่า ใจกับอารมณ์เหมือนแก้วกับน้ำ ใจเหมือนแก้ว ส่วนอารมณ์เหมือนน้ำ ถ้าน้ำขุ่นแม้แก้วจะใสเพียงใด ก็จะกลายเป็นแก้ว ขุนตามน้ำ เหมือนกับอารมณ์ทขน ย่อมทำให้ใจขุนตามอารมณ์ ่ ี่ ุ่ ่ เพราะฉะนั้น จึงได้แนะนำวิธีคลายเครียดตามหลักของสมาธิและ วิธีกำจัดความเครียดด้วยหลักของปัญญา ๗ ประการ คือ ๑. กล้าเผชิญความจริง ๒. เข้าใจเรื่องของอารมณ์ตนและคนอื่น ๓. ไม่คาดหวัง แต่พิจารณาความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง ๔. ปิด-เปิด ประตูรับรู้ให้เป็นเวลา ๕. อย่านำเรื่องของคนอื่นมาเป็นทุกข์ของตน
  • 7. ๖. ฝึกแผ่เมตตา นึกถึงกฎแห่งกรรมมากกว่ากฎหมาย ๗. นึกถึงธรรมชาติที่เหมือนกันของสัตว์ทั้งหลาย แล้วก็ยกหลักพุทธธรรมมาแสดง ขอเรียนว่าข้าพเจ้ามิใช่หมอวิเศษ ข้าพเจ้ า เป็ น แต่ เ พียงผู้บอกอุบาย ตัวท่านนั้นเองคือผู้ปรุงยาและทดลอง ได้ผลอย่างไรกรุณาบอกให้ข้าพเจ้าฟังด้วย ต่อไปนี้ขอเชิญท่านทั้งหลาย ลิ้มรสแห่งพุทธวิธีคลายเครียดในรูปแบบใหม่ต่อไป พระราชญาณกวี วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก โอ้ย...เครียดจังทำไงดี ไม่ใช้ปัญญาหาทางออก แล้วจะหายเครียดได้ไงเจ้านาย ค่อย ๆ อ่าน ค่อย ๆ คิด คราคิดติดขัด หยุดพักสักนิด ทำจิตให้สงบ จักพบทางออก อ่านแล้วคิด คิดให้เข้าใจ เข้าใจแล้วลงมือทำ ทำด้วยสติสัมปชัญญะ ทำวันนี้ เดี๋ยวนี้ ขณะนี้ อย่ารอช้า อย่าผัดวัน อย่าประมาท คิดเร็ว สุขเร็ว ทำช้า ทุกข์มาก ทุกข์ยาวนาน
  • 8. เครียดได้ ก็หายได้* “ความเครียดเป็นเสมือนไฟสุมขอน คือ กรุ่นลึกภายใน ความเครียดเกิดจากการเก็บสะสม อารมณ์ร้าย อารมณ์ร้อน ทีละนิดๆ บางครั้งอาจไม่รู้สึกตัว ความเครียดเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่เด็กเล็ก หนุ่มสาว ผู้ใหญ่ กระทั่งวัยชรา” ความเครี ย ดทำลายทั้ ง ร่ า งกายและจิ ต ใจ เยี ย วยาได้ เพราะ ความเครียดเกิดจากอารมณ์ และอารมณ์เกิดจากความคิด จะเยียวยา ความเครียด ต้องกลับไปดูอารมณ์อันเป็นอาหารของความคิด อย่าให้อารมณ์ร้าย ทำลายเรา เย็นไว้ เย็นไว้ Mood (มูด) = อารมณ์ * เดิมชื่อ พุทธวิธีคลายเครียด สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 7 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
  • 9. อย่าสะสมอารมณ์ร้าย ใช้ปัญญาหาต้นเหตุ จนกลายเป็นความเครียด และทางออกนะคะ นะครับ โรคภัยไข้เจ็บทางกายเกิดจากสิ่งที่เรากินเข้าไป กินสิ่งใดก็จะได้รับ ผลจากสิ่งนั้น กินสิ่งดีมีประโยชน์ร่างกายก็จะแข็งแรง ดื่มกินของมึนเมา ให้โทษ ร่างกายก็เมาและเกิดโทษทันทีบาง สะสมไว้ให้โทษในภายหลังบ้าง ้ แม้จิตใจของเราก็เช่นกัน อารมณ์ร้ายที่สะสมไว้ทีละนิด วันละน้อย จะทำ ให้เรารู้สึกเครียดได้ เพราะฉะนั้นจึงต้องหาสาเหตุว่า ๑. ความเครียดเกิดจากอะไร ๒. พุทธวิธีคลายเครียดควรจะปฏิบัติอย่างไร คนเป็นทาสของกิเลส จึงวุ่นวาย เป็นทุกข์ อย่างรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เชิญชวนทุกท่านร่วมกันช่วยเพื่อนมนุษย์ให้เอาชนะกิเลส พบสุขได้ ด้วยการพิมพ์หนังสือเล่มนี้แจกเป็นธรรมทาน ยิ่งมาก บุญยิ่งทวี อย่างไม่โลภเมาบุญ รู้ว่าเป็นหน้าที่ช่วยเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน (โปรดใช้ปัญญาพิจารณาเรื่องนี้) เครียดได้ ก็หายได้ 8 พระราชญาณกวี
  • 10. ๓ สาเหตุแห่ง ความเครียด ในที่นี้จะกล่าวสั้นๆ ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด คือ ๑. เครียดเพราะอารมณ์สุดโต่ง เครียดเพราะอารมณ์สุดโต่ง เช่น รักมาก โลภมาก โกรธมาก หลงมาก อิจฉามาก ริษยามาก นินทามาก จำเป็นต้องปรับความสมดุล ของอารมณ์ คือเมื่อรู้ว่ารักมากไปก็ต้องปรับระดับความรักลงมา บางทีแม้ รักลูกหลาน รักสัตว์เลี้ยง ก็ทำให้เครียด เพราะเมื่อรักก็หวง เมื่อรักสิ่งใดก็จะหวงสิ่งนั้น เมื่อหวงมากเข้าก็จะหลงใหล เมื่อหลงใหลมากๆ เหตุผลก็จะไม่เพียงพอ จะมีแต่อารมณ์ปกป้อง แม้เห็นว่าผิดก็ยังเข้าข้างผิด ความรู้สึกอย่างนี้มิใช่ทำให้เราคนเดียวเครียด แต่จะทำให้คนอืนๆ ่ เครียดตามไปด้วย อารมณ์โลภ โกรธ เกลียด อิจฉา ริษยา ก็มีลักษณะ ไม่ต่างกัน สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 9 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
  • 11. ๒. เครียดเพราะความคิดเป็นพิษ เครียดเพราะความคิดที่เป็นพิษ เช่น คิดว่าตนถูกใส่ร้าย คิดว่า ตนถูกกลั่นแกล้ง คิดว่าตนไม่สมหวัง คิดว่าเราต้องเอาชนะคนนั้นให้ได้ เราแพ้ไม่ได้ ความคิดเช่นนี้จะทำให้เรามีปมด้อย ในชีวิตมนุษย์เรามี ๒ ปม คือ ปมเขื่อง กับ ปมด้อย อย่าให้ ๒ ปมร้าย ทำลายใจเรานะครับ ปมเขื่อง คือ การสร้างความรู้สึกเข้าข้างตนว่าตนดีกว่า เด่นกว่า ดังกว่า สวยกว่า มีความรู้ความสามารถมากกว่า มียศสูงกว่า มีบริวาร สมบัติเงินทองมากกว่า ส่วน ปมด้อย ก็จะมีนัยตรงกันข้าม ทั้ง ๒ ปมนี้จะทำให้มนุษย์เรา มีความเครียด เรียกว่าถูกโลกธรรมอำพรางความจริง คือถูกนินทา สรรเสริญ สุข ทุกข์ ครอบงำกระทั่งไม่ได้สติ นี่คือสาเหตุของความเครียดที่เกิดขึ้นได้ ง่ายที่สุด ขอให้เราตั้งสติพิจารณาให้ดี เมื่อปมทั้ง ๒ นี้เข้าแทรกในจิตใจใคร ผู้นั้นก็จะเกิดความรู้สึกอ่อนไหวได้ง่าย เช่น ถูกสรรเสริญเยินยอก็หลง หรือถูกนินทาใส่ร้ายก็กลัดกลุ้ม ไม่มีปัญญาผ่องใสที่จะวินิจฉัยปัญหาใดๆ ได้ นี่คือสาเหตุข้อหนึ่งที่ทำให้เกิดความเครียด เครียดได้ ก็หายได้ 10 พระราชญาณกวี
  • 12. ๓. เครียดเพราะเรื่องปากท้อง เครี ย ดเพราะปากท้อง ซึ่งเป็นเรื่องปกติ ข องคน เพราะมนุ ษ ย์ ทุกชาติทุกภาษาล้วนมีปัญหาเดียวกันคือ ปากท้อง ความเป็นอยู่ คนที่ไม่มีจะกินก็ทุกข์ เพราะไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะหาอะไรที่ไหนมาใส่ท้อง ไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะนอนที่ใด ส่วนคนมีกินแล้ว มีที่อยู่ปลอดภัยแล้วก็กังวลเป็นทุกข์ จะถูกปล้นจี้ ถูกขโมย ถูกเอาเปรียบ สุดท้ายก็ทำให้เกิดเรื่องการต่อสู้แย่งชิง ทั้งทางทิฐิคือความคิดเห็น ที่แตกต่างกันและทางสมบัติยศศักดิ์ เรื่องเหล่านี้ทำให้คนเราแม้จะนอนใน คฤหาสน์หลังใหญ่กยงกลัดกลุมรุมร้อน แม้จะนังรถหรูมคนคุมกันรอบด้าน ็ั ้ ่ ่ ี ้ ก็ยังไม่รู้สึกปลอดภัย กลายเป็นคนรู้สึกว่าตนมีปมในชีวิตตลอดเวลา นี่แหละคือสาเหตุหลักของความเครียดของคนที่มีอยู่มีกินแล้ว แต่ต้องมาเครียดเพราะทิฐิมานะการต่อสู้ทางความคิด Save (เซฝ) = ประหยัด, Savings (เซฝ-อิงส) = การประหยัด สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 11 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
  • 13. ถ้าติดดิน ไม่เครียดเรื่องปากท้อง ในเรื่องปากท้องนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแนะนำให้ แก้ปัญหาปากท้องด้วยการ “ปลูกกินทำกิน” ก่อน คือยุติการซื้อกิน ส่วนซื้อใช้ก็เลือกซื้อเฉพาะที่จำเป็น การปลูกกินทำกินมีผลดียิ่งต่อชีวิตคือ ทำให้ไม่ต้องกินของมีพิษ พระเจ้าอยู่หัวทรงสอนไม่ให้ “รับจ้างซื้อกิน” นั่นคือ ทรงแก้ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ดำเนินวิถีชีวิตอย่างเรียบง่าย ผลดี ก็คือทำให้ “ชีวิตติดดิน” ปกติร่างกายมนุษย์เกิดจากธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ เมื่อชีวิต สัมผัสดิน น้ำ ลม ไฟ ไออุ่นตลอดเวลา ร่างกายจะแข็งแรง ความเครียด จะถูกธรรมชาติเหล่านี้ดูดซึมไป ปลูกผักทานเอง ไม่ปล่อยให้เป็นสารตกค้าง ทั้งประหยัดและปลอดภัย ทางอารมณ์ เช่น ถูกทะเล ถูกภูเขา ถูกดอกไม้ต่างๆ สลายความเครียด แปลว่า ถ้าไม่อยากเครียดต้องติดดิน และอย่าทิ้งดิน เพราะของดี ทุกอย่างอยู่ที่ดิน เมื่อติดดินจึงจะได้พบของดี ส่วนพวกเครียดเพราะความคิดนั้น จะต้องหายาพิเศษรักษา นั่นคือยาปรับความสมดุล ระหว่างความคิดและอารมณ์ให้สามารถไปกันได้ ไม่ปล่อยอารมณ์มีอำนาจข่มเหงใจ หรือปล่อยให้ใจเหี่ยวแห้งหมดกำลัง ดังจะได้กล่าวต่อไป เครียดได้ ก็หายได้ 12 พระราชญาณกวี
  • 14. วิธีกำจัดความเครียดตามแนวพระพุทธศาสนา ๑. คลายเครียดด้วยสมาธิ เมื่อใจเย็นก็มองเห็นปัญหา สมาธิ คือ การทำใจและอารมณ์ให้นิ่ง ใจเหมือนแก้ว ส่วนอารมณ์ เหมือนน้ำ ใจว้าวุ่นเหมือนน้ำถูกเขย่า อารมณ์ขุ่นมัวเหมือนน้ำสกปรก เรา ต้องทำใจให้นิ่งเพื่อให้อารมณ์ตกตะกอน เหมือนวางแก้วให้นิ่งเพื่อให้น้ำ ในแก้วนิ่ง แล้วตกตะกอน เมื่ออารมณ์ไม่ขุ่นตะกอนเราจะได้เห็นความใส ของน้ำ เริ่มตั้งแต่ขอบปากแก้วลงมาถึงก้นแก้วว่าแตกต่างกัน เมื่อใสก็จะ มองเห็นตะกอนที่หยาบและละเอียด จิตสงบเข้า ความเครียดออก ญหาต่างๆ ปั ่เราแก้ไม่ได้ มองไม่เห็น ที เมื่อใจนิ่ง อารมณ์เย็น ก็จะเปิดออกมาให้เราเห็นปม เป็ น เรื่ อ งที่ น่าคิดว่าคนไม่เคยทำสมาธิเ ลย พอวันหนึ่งหัดนั่งนิ่ง ตัวตรง ทำใจให้สบายๆ หายใจให้ลึก เพียงไม่กี่นาทีปัญหาต่างๆ ที่ติดขัด ก็เรียงลำดับออกมาเป็น ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ ให้เรามองเห็นว่าสิ่งไหนทับซ้อน สิ่งไหนอยู่ แล้วเราก็ค่อยๆ แก้ปัญหาตามลำดับยากง่าย Meditation (เมดิเทฌัน) = สมาธิ, การทำสมาธิ สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 13 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
  • 15. ปัญหาที่ยาก แก้ง่ายถ้ามีสมาธิ โดยปกติถ้าใจขุ่นมัว ปัญหาต่างๆ จะมั่วทับซ้อนกันไม่เห็นเงื่อนปม คนส่วนใหญ่จะหลงไปแก้ปัญหาหญ้าปากคอกทับเอาไว้ ไปแก้ปัญหาที่ยัง ไม่เป็นปัญหา ยิ่งแก้ยิ่งเครียดหนักเพราะแก้ไม่ได้ แก้ปัญหานี้กลับไปเกิด ปัญหาใหม่ให้เครียดไม่สิ้นสุด ทางที่ดีขอเชิญชวนให้ศึกษาวิธีคลายเครียด โดยไม่ต้องกินยานั่นคือ อาบน้ำ รับประทานอาหารเบาๆ ใส่เสื้อผ้าสบายๆ นั่งให้สบาย ผ่อนคลายอารมณ์ที่ห้องพระหรือระเบียงบ้านก็ได้ หรือใต้ต้นไม้ใหญ่ต ามความเหมาะสม แล้วกำหนดลมหายใจเข้า–ออก ให้ลึก–ยาว ตลอดเวลาประมาณ ๓๐ นาที อารมณ์จะตกตะกอน แล้วมองเห็นปัญหาเป็นลำดับขั้น ตั้งแต่ ปัญหาที่ยากที่สุดจนถึงง่ายสุด วางเรียงลำดับไว้ให้เรา พู ด ไปก็ เ ป็นสิ่งเหลือเชื่อ แต่ทุกคนจะพบความจริงอย่างเดียวกัน เพราะนี่คือวิธีธรรมชาติที่สุด จิตกับอารมณ์ไม่ต่างอะไรจากแก้วกับน้ำ ต้องนิ่งจึงจะมองเห็นปมคลายเครียด ทุกปัญหามีทางออก ขอให้ตั้งต้นที่มี สติ เตือนตน จงสงบปาก สงบ กาย สงบความคิด นิ่งอยู่กับเรื่องเดียวคือ สมาธิ ความร้อนในใจจะลดลงและ พบทางออกของปัญหา เพราะปัญญาเกิด จงมีจิตคิดที่จะฝึกฝนหลัก ๓ ส. (ส.สติ, ส.สงบ, ส.สมาธิ) ให้เกิดความชำนาญ เครียดได้ ก็หายได้ 14 พระราชญาณกวี
  • 16. ๒. กำจัดความเครียดด้วยปัญญา ต่อไปนี้จะเป็นการนำเสนอวิธีกำจัดความเครียด ต่อจากวิธีคลาย เครียด การคลายเครียดเป็นเพียงวิธบรรเทาเบืองต้น เหมือนรับประทานยา ี ้ บรรเทาปวด ทายาคลายกล้ามเนื้อ ยังมิใช่ยารักษาให้หายขาด แต่ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น มิใช่เพื่อบรรเทา หากแต่เพื่อ กำจัดเด็ดขาด ในที่นี้ข้าพเจ้าขอนำเสนอวิธีง่ายๆ ๗ วิธี ดังนี้ วิธีที่ ๑ กล้าเผชิญความจริง ความเครียดทั้งปวงเกิดจากความคิดวิตกกังวล คนเราจะวิตก กังวลทุกอย่างเมื่อความจริงยังไม่ปรากฏ ต่อเมื่อความจริงปรากฏเสีย แล้ว ปัญญาก็เกิดเอง ยกตัวอย่าง นักกีฬาก่อนแข่งขันก็วิตกกังวลเกรงจะแพ้ แต่เมื่อ การแข่งขันเริ่มขึ้น คือเผชิญความจริงแล้ว สติปัญญาที่จะแก้ปัญหาก็มา เอง แรงผลักในการต่อสู้ การแก้ปัญหาก็ตามมา โอ้ย...เงินหาย ไม่เป็นไรหรอก โดนแม่ตีแน่เลย อย่าคิดมาก พูดความจริง Don’t worry แม่ไม่ว่าหรอก be happy Worry (เวอ-ริ) = ความทุกข์ร้อน, การหนักใจ, กังวล, เป็นกังวล Happy (แฮพ-พิ) = สุขใจ, สบายใจ สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 15 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
  • 17. ยิ่งกับคนที่ต้องดูแลคนป่วยหนัก หากไม่มีกำลังใจเพียงพอจะยิ่ง เครียด ไม่มีทางออก วิตกกังวลไปสารพัดอย่าง ถ้าจิตใจไม่เข้มแข็ง ไม่กล้า เผชิญความจริง คนเฝ้าอาจหมดแรงก่อนคนป่วยก็เป็นได้ง่ายๆ แม้เรื่องอริยสัจ ๔ ก็เป็นเรื่องสอนให้คนกล้าเผชิญความจริง โดยเฉพาะทรงสอนเรื่อง “ทุกข์” มิใช่สอนเรื่อง “สุข” ทรงนำเสนอความทุก ข์ประเภทต่างๆ เช่น ทรงสอนวิธีหาเหตุแห่งทุกข์นั้นว่ามาจากความทะยานอยาก ขอให้ลูกช้างถูกหวยด้วยเถิด ไม่งั้นลูกช้างแย่แน่เลย ก็เห็นแย่ทุกงวด จากนั้ น จึ ง ทรงแสดงความดั บ ทุ ก ข์ เหมื อ นเราดั บ ไฟที่ ลุ ก โชน เผาไหม้สิ่งต่างๆ อยู่ เมื่อไฟดับ ความร้อนก็หายไป ความเย็นก็ปรากฏ เช่นเดียวกับทุกข์ดับ สุขก็ปรากฏ จากนั้นทรงแสดงทางสายกลาง คือ การไม่ ท ำอะไรสุ ดโต่ง หรือเรียกง่ายๆ ว่า “ความสมดุ ล ในการดำรง ชีวิต” อันเป็นเหตุให้เกิดความสุข Suffering (ซัฟ-เฟอะริง) = ความทุกข์ เครียดได้ ก็หายได้ 16 พระราชญาณกวี
  • 18. วิธีที่ ๒ เข้าใจเรื่องอารมณ์ของตนและคนอื่น น่าคิดเป็นอย่างยิ่งว่า สมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ตรั ส แสดง ความแตกต่างของคนที่ไร้จริต ทรงแสดงว่าคนเหมือนกันแต่ไม่เหมือน กัน ก็เพราะชอบไม่เหมือนกัน พฤติกรรมไม่เหมือนกัน ท่านเรียกว่า จริต คนเหมือนกันแต่ถ้าจริตต่างกันก็จะมีอารมณ์ต่างๆ กัน ความต่าง กันของอารมณ์นี้เองที่ทำให้มนุษย์เราคิดต่างกัน เกิดความขัดแย้งกัน ตลอดเวลา กระทั่ งนำความเครียดมาให้เรา ด้ ว ยเหตุ นี้ เราจึ ง จำเป็ น ต้องเรียนรู้พฤติกรรมของคนในจริต ๖ คือ ๑. คนบางคนรักสวยรักงาม ชอบแต่งตัว ชอบ ประดิษฐ์ ทำงานช้า ละเอียด คนประเภทนี้ ท่านเรียกว่า คนราคจริต ๑. ราคจิต ๒. คนบางคนใจร้อน หงุดหงิด ชอบแสดงอำนาจ เป็นนิสัย ทำอะไรเร็ว พูดเร็ว ไม่ใส่ใจเรื่องความ ละเอี ย ด ชอบหลั ก การมากกว่ า รายละเอี ย ด คนประเภทนี้ท่านเรียกว่า คนโทสจริต ๒. โทสจริต ๓. คนบางคนชอบแสดงว่าตนไม่รู้อะไรไว้ก่อน เพราะปลอดภัย เพราะกลัวผิด กลัวถูกตำหนิ กลัว ถูกใช้งาน การไม่รู้คือไม่ต้องทำ เมื่อไม่ทำก็ไม่ผิด ท่านเรียกคนพวกนี้ว่า คนโมหจริต ๓. โมหจริต Behavior (บิเฮฝ-เยอะ) = พฤติกรรม สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 17 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
  • 19. ๔. คนบางคนเชือคนง่าย ชืนชมอะไรง่ายๆ โดย ่ ่ ไม่พิจารณา หรือตำหนิง่ายๆ แล้วกลับชื่นชมอีก เมือคนอืนชืนชม แปลว่ากลับคำได้งาย ทำตามคนอืน ่ ่ ่ ่ ่ ไม่มีจุดคิดของตนเอง เรียกว่า คนสัทธาจริต ๔. สัทธาจริต ๕. บางคนชอบคิด ชอบแสดงเหตุผล ชอบศึกษา เรียนรู้ ชอบหาความจริ ง ของเรื่ อ งนั้ น เป็ น นิ สั ย ไม่ เชื่ อ อะไรง่ า ยๆ จนกว่ า จะเห็ น ด้ ว ยปั ญ ญา ของตน ท่านเรียกว่า คนพุทธิจริต ๕. พุทธิจริต ๖. คนบางคนชอบจับจดฟุงซ่าน ชอบบ่นจูจจกจิก ้ ้ ี้ ุ ทำงานแบบหยิบโหย่ง ไม่จับอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ชอบเป็นผูตามมากกว่าผูนำ คิดมากกังวลมาก ท่าน ้ ้ เรียกว่า คนวิตกจริต ๖. วิตกจริต จำง่ายๆ ว่าคนทั้ง ๖ ประเภทนี้ คือ คนราคจริต, โทสจริต, โมหจริต, สัทธาจริต, พุทธิจริต และวิตกจริต เป็นลักษณะคติของคน ที่เราต้องเรียนรู้เขาให้เข้าใจ เมื่อเข้าใจแล้วก็จะไม่เครียด เครียดได้ ก็หายได้ 18 พระราชญาณกวี
  • 20. วิธีที่ ๓ ไม่คาดหวัง แต่พจารณาความเปลียนแปลงของสรรพสิง ิ ่ ่ ความเครียดอย่างหนึ่งมักเกิดจากความหวัง เป็นธรรมดาที่มนุษย์ ทำอะไรมักหวังผลตอบสนอง เมื่อลงทุนก็หวังผลกำไร ไม่มีใครหวังขาดทุน แม้ทำบุญยังหวังผลบุญ เมื่อหวังจึงมีทั้งสมหวังและผิดหวัง สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงสอนให้คนรู้จักหลักความจริง ๓ ข้อ คือ ความเปลี่ยนแปลง ความอดทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ และความที่เราไม่อาจยื้อสิ่งใดๆ ไว้ในอำนาจได้ตลอดไป หรือที่รู้กันในวงการชาวพุทธว่า “อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” อันเป็นหลักธรรมใหม่ ที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบ ว่าเป็นลักษณะที่ใช้ได้กับสรรพสิ่งในจักรวาล ทำบุญทั้งที ขอถูกล็อตเตอรี่ รางวัลที่ ๑ ด้วยเถอะ Expect (เอ็คซเพคท) = คาดหวัง สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง 19 เพียรเพื่อพุทธศาสน์
  • 21. ขอให้ เราตั้ งใจไว้ ว่ า ข้ อนี้ มี ค วามสำคั ญ มากต่ อ การคลายเครี ย ด หรอกำจัดความเครียด นั่นคือหมั่นพิจารณาสรรพสิ่งที่เราเผชิญว่า ื ๑. ทุกอย่างล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป ๒. รรพสิงล้วนเปลียนแปลง และเปลียนไปเหมือนสายน้ำ ส ่ ่ ่ ๓. ชีวิตมีได้มีเสียเสมอ การเสี ย บางอย่ า งก็ เ พื่ อให้ ไ ด้ บางอย่างมา ไม่มีใครได้ตลอด ๔. แก้วที่เต็มน้ำแล้วจะรับน้ำใหม่ไม่ได้ เราหัดทำชีวิต ให้พร่องบ้างก็ดี เพื่อรองรับสิ่งใหม่ ๕. การยอมให้คนอื่นมีกำไรในชีวิตบ้าง บางครั้งก็เป็น อุบายสำคัญในการประคองให้สมดุล ๖. สิ่งที่ดีที่สุดไม่มี มีแต่สิ่งที่ดีพอสมควร ๗. อย่าแสวงหาคนดีทสดในชีวต ท่านจะทำอะไรไม่ได้เลย ี่ ุ ิ ๘. ผู้หาคนที่สมบูรณ์ที่สุดมาเป็ น เพื่ อ น จะหาใครเป็ น เพื่อนไม่ได้แม้แต่คนเดียว สรรพสิ่งล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป อย่ายึดติดนะโยม สาธุครับ/ค่ะ เครียดได้ ก็หายได้ 20 พระราชญาณกวี