SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน OBSESIVE-COMPILSIVE DISORDER(OCD) หรือ โรคย้าคิดย้าท้า
ชื่อผู้ท้าโครงงาน
นางสาว ปิฏฐกมล เพทัย เลขที่ 11 ชัน ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2 คน
1.นางสาว ปิฏฐกมล เพทัย เลขที่ 11
ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคย้าคิดย้าท้า
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
OBSESIVE-COMPILSIVE DISORDER(OCD)
ประเภทโครงงาน โครงงานตามความสนใจ
ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ปิฏฐกมล เพทัย
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
เนื่องจากมีคนรู้จัก ชอบท้าอะไรต่างๆซ้าๆ และชอบย้าคิดย้าท้าบ่อยๆ เช่น เวลาล็อคประตูบ้านแล้ว ก็
จะกลับมาดูซ้าๆว่าล็อคแล้วหรือยัง ซึ่งจะกลับมาดูประมาณ 3-4 รอบ และยังมีอาการอื่นๆร่วมด้วย เช่น การกลัว
เชือโรค การกลัวสิ่งสกปรก มีความกังวลต่างๆ ชอบพูดซ้าอะไรซ้าๆ เหมือนเดิม และยังมีอาการอีกมากมายที่ยัง
ไม่ได้กล่าวถึง และในความคิดเห็นส่วนตัวรู้สึกว่าเรื่องบางเรื่องไม่จ้าเป็นต้องย้ามาก เพราะบางครังเรื่องบางเรื่องก็
ไม่มีความจ้าเป็นใดๆที่จะต้องย้า เพราะมันก็ไม่ได้เกิดประโยชน์กับตัวเองและผู้ที่อยู่รอบๆข้าง จึงอยากที่จะศึกษา
เรื่องนีว่ามันเป็นโรคอะไร จะสามารถรักษาได้อย่างไร และหากว่าไม่รักษามันสามารถพัฒนาเป็นโรคอะไรที่
ร้ายแรงกว่านีได้หรือไม่ มันจะท้าให้คนรอบข้างเดือดร้อนหรือไม่ และจะมีผลกระทบอย่างไรต่อตัวผู้ป่วยเอง
ผู้จัดท้าจึงเล็งเห็นถึงปัญหาและโทษของการเป็นโรคย้าคิดย้าท้าหรือ OBSESIVE-COMPILSIVE
DISORDER(OCD) จึงได้จัดท้าโครงงานนีขึนเพื่อที่จะได้เป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ป่วย ต่อครอบครัวของผู้ป่วย และ
คนอื่นๆที่อยากจะศึกษาเรื่องนีเพื่อเป็นการป้องกันโรคนีตังแต่เนิ่นๆ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาลักษณะอาการของผู้ที่ป่วยเป็นโรคย้าคิดย้าท้า
2.เพื่อศึกษาวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าท้า
3.เพื่อศึกษาผลกระทบต่อผู้ป่วยและต่อผู้อื่น
ขอบเขตโครงงาน
-ส้ารวจและทดลองกับครอบครัว ญาติ และนักเรียนยุพราชในห้อง ม.6/5
หลักการและทฤษฎี
โรคย้าคิดย้าท้า หรือ obsessive-compulsive disorder(OCD) เป็นโรคที่ผู้ป่วยมีความคิดซ้าๆ ที่ท้า
ให้เกิดความกังวลใจ และมีการตอบสนองต่อความคิด ด้วยการท้าพฤติกรรมซ้าๆ เพื่อลดความไม่สบายใจที่
เกิดขึน ซึ่งตัวผู้ป่วยเองก็รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่ไม่มีเหตุผล แต่ก็ไม่สามารถหยุดความคิดและการกระท้าดังกล่าวได้ และ
หมดเวลาไปกับอาการดังกล่าวเป็นอย่างมาก ท้าให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมาน
3
อาการ
อาการย้าคิด(obsession)เป็นความคิดความรู้สึกแรงขับดันจากภายในหรือจินตนาการที่มักผุดขึนมาซ้าๆ
โดยผู้ป่วยเองก็ทราบว่าเป็นสิ่งที่ไร้เหตุผลเช่นมีความคิดซ้าๆว่ามือตนเองสกปรก,คิดว่าลืมปิดแก๊สหรือลืมล็อคประตู,
จินตนาการเกี่ยวกับเรื่องทางเพศหรือการกระท้าสิ่งไม่ดีอย่างซ้าๆ,คิดซ้าๆว่าตนลบหลู่หรือด่าว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งความคิด
ดังกล่าวท้าให้ผู้ป่วยเกิดความกังวลใจความไม่สบายใจอย่างมากและรู้สึกร้าคาญต่อความคิดนี
อาการย้าท้า(compulsion)เป็นพฤติกรรมซ้าๆที่ผู้ป่วยท้าขึนโดยเป็นการตอบสนองต่อความย้าคิดหรือตามกฎเกณฑ์
บางอย่างที่ตนก้าหนดไว้ เพื่อป้องกันหรือลดความไม่สบายใจที่เกิดจากความย้าคิดหรือป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์ร้ายๆตามที่
ตนหวั่นเกรงเช่นต้องล้างมือซ้าๆ,ตรวจสอบลูกบิดประตูหรือหัวแก๊สซ้าๆ,พูดขอโทษซ้าๆซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มากเกินปกติ
และไม่สมเหตุสมผล
โรคย้าคิดย้าท้า พบได้ร้อยละ 2-3 ในประชากรทั่วไป โดยเริ่มมีอาการโดยเฉลี่ยที่อายุ 20 ปี โดยพบได้
พอๆกันทังในผู้ชายและผู้หญิง นอกจากนี ยังพบร่วมกับโรคทางจิตเวชอื่นๆได้ เช่น พบโรคซึมเศร้าร่วมด้วยถึง
ร้อยละ 60-90 โรคอื่นๆที่พบร่วมกับโรคย้าคิดย้าท้า ได้แก่ โรคกลัวสังคม, โรควิตกกังวลทั่วไป, โรควิตกกังวล
แพนิค รวมทังการดื่มเหล้าจนก่อให้เกิดปัญหาได้
สาเหตุ
ปัจจัยทางชีวภาพ
1. ในด้านการท้างานของสมอง พบว่าผู้ป่วยมีการท้างานของสมองเพิ่มขึนในสมองส่วน orbitofrontal
cortex, cingulate cortex, caudate และ thalamus ทังนีบริเวณเหล่านีอาจรวมกันเป็นวงจรที่มีการ
ท้างานมากเกินปกติในผู้ป่วย OCD
2. ในด้านระบบประสาทสื่อน้าประสาท เชื่อว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติในระบบซีโรโตนิน (serotonin) โดย
พบว่า ยาแก้ซึมเศร้าที่ออกฤทธิ์ต่อระบบซีโรโตนิน มีประสิทธิภาพในการรักษา OCD
3. ในด้านพันธุกรรม พบว่ามีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรค โดยพบว่าอัตราการเกิดโรคในแฝดไข่ใบเดียวกัน
(monozygotic twins) เท่ากับ ร้อยละ 60-90 ในขณะที่ในประชากรทั่วไป พบร้อยละ 2-3
ปัจจัยด้านพฤติกรรมการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ เชื่อว่าการเกิดภาวะเงื่อนไข มีบทบาทส้าคัญในการเกิดอาการ ย้าคิด โดย สถานการณ์ปกติ
ถูกเชื่อมโยงกับ สถานการณ์อันตราย จึงท้าให้เกิดความวิตกกังวล ส้าหรับอาการย้าท้านัน ผู้ป่วยเรียนรู้ว่า การ
กระท้าบางอย่าง ช่วยลดความกังวลลงได้ จึงเกิดเป็นแบบแผนพฤติกรรมดังกล่าว
4
การรักษา
การรักษาด้วยยา
1. ยาแก้ซึมเศร้า ยาที่รักษาได้ผลดีใน OCD เป็นยาที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ออกฤทธิ์ต่อ ระบบซีโรโตนิน เช่น
clomipramine และยาในกลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitors (SSRI) ทุกตัว ได้แก่
fluoxetine, fluvoxamine, paroxetine, sertraline และ escitalopram โดยทั่วไปมักใช้ในขนาดที่ใช้
ในการรักษาโรคซึมเศร้า อาการข้างเคียงที่อาจพบได้แก่ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ
2. ยาคลายกังวล ในผู้ป่วยที่มีความวิตกกังวลอยู่สูงอาจใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepine ในระยะสันๆ ยา
ในกลุ่มนีไม่มีผลในการรักษาอาการย้าคิด หรืออาการย้าท้า
3. ยาต้านโรคจิต ในผู้ป่วยบางรายที่ได้รับการรักษาด้วยยาแก้เศร้าแล้ว อาการยังไม่ดีขึน แพทย์อาจ
พิจารณาให้ยาต้านโรคจิต เช่น risperidone ควบคู่ไปกับยาแก้ซึมเศร้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา
การรักษาวิธีอื่น
การรักษาที่ได้ผลดีคือ พฤติกรรมบ้าบัด โดยการให้ผู้ป่วยเผชิญ กับสิ่งที่ท้าให้กังวลใจและป้องกันไม่ให้มี
พฤติกรรมย้าท้า ที่เคยกระท้า ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยที่มักล้างมือ ก็ให้จับของที่ผู้ป่วยรู้สึกว่าสกปรก ให้รออยู่
ช่วงหนึ่งจึงอนุญาตให้ล้างมือ การฝึกจะท้าตามล้าดับขัน เริ่มจากสิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึกกังวลน้อยไปหามาก และ
ระยะเวลาที่ไม่ให้ล้างมืออาจเริ่มจาก 10-15 นาที ไปจนเป็นชั่วโมง หากการรักษาได้ผลผู้ป่วยจะกังวลน้อยลง
เรื่อยๆ จนสามารถจับสิ่งต่างๆ ได้โดยไม่ต้องรีบไปล้างมือดังก่อน
นอกจากนี การให้ความรู้แก่สมาชิกในครอบครัวผู้ป่วย มีความส้าคัญอย่างยิ่ง แพทย์ควรแนะน้าสมาชิกใน
ครอบครัว ถึงอาการของโรค แนวทางการรักษาและการดูแลผู้ป่วย รวมทังแนะน้าให้มีท่าทีเป็นกลางต่ออาการ
ของผู้ป่วย โดย ไม่ร่วมมือและช่วยเหลือผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยมีอาการ ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ต่อว่าผู้ป่วย เนื่องจากอาจ
ท้าให้ผู้ป่วยเครียด และยิ่งกระตุ้นให้อาการเป็นมากขึนได้
การรักษาวิธีอื่นๆ ได้แก่ การท้าจิตบ้าบัดรายบุคคล เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวกับอาการได้ กลับมาใช้ชีวิต
ได้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด
ในรายที่อาการรุนแรง อาจมีการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การฝังแท่งก้าเนิดไฟฟ้าเพื่อกระตุ้นสมองส่วนลึก ( deep
brain stimulation ) หรือ การผ่าตัด ( cingulotomy )
วิธีด้าเนินงาน
แนวทางการด้าเนินงาน
1.วางแผน
2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูล
3.ท้าการส้ารวจ
4.สรุปผล
5.น้าเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเทอร์เน็ต
3.โทรศัพท์
4.หนังสือที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
-100 บาท
5
ขันตอนและแผนด้าเนินงาน
ล้าดับ
ที่
ขันตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยสามารถรู้สาเหตุและวิธีรักษาได้
- ครอบครัวของผู้ป่วยสมารถดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยได้
- ผู้ที่ต้องการจะศึกษาสามารถศึกษาข้อมูลได้
สถานที่ด้าเนินการ
- ที่บ้านและโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- สุขศึกษาและพลศึกษา
แหล่งอ้างอิง
https://health.kapook.com
http://www.khonphutorn.com
https://med.mahidol.ac.th

Contenu connexe

Tendances

Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1สำเริง ยิ้มดี
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Krittapornn Chanasaen
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theoriespimporn454
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadeeNKSJT
 

Tendances (20)

Chulalongkorn
ChulalongkornChulalongkorn
Chulalongkorn
 
Thai Research
Thai ResearchThai Research
Thai Research
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee
 

Similaire à 2561 project com

2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานNatthanaSriloer
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.bamhattamanee
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37KamontipKumjen
 

Similaire à 2561 project com (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 

2561 project com

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน OBSESIVE-COMPILSIVE DISORDER(OCD) หรือ โรคย้าคิดย้าท้า ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ปิฏฐกมล เพทัย เลขที่ 11 ชัน ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 คน 1.นางสาว ปิฏฐกมล เพทัย เลขที่ 11 ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคย้าคิดย้าท้า ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) OBSESIVE-COMPILSIVE DISORDER(OCD) ประเภทโครงงาน โครงงานตามความสนใจ ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ปิฏฐกมล เพทัย ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน เนื่องจากมีคนรู้จัก ชอบท้าอะไรต่างๆซ้าๆ และชอบย้าคิดย้าท้าบ่อยๆ เช่น เวลาล็อคประตูบ้านแล้ว ก็ จะกลับมาดูซ้าๆว่าล็อคแล้วหรือยัง ซึ่งจะกลับมาดูประมาณ 3-4 รอบ และยังมีอาการอื่นๆร่วมด้วย เช่น การกลัว เชือโรค การกลัวสิ่งสกปรก มีความกังวลต่างๆ ชอบพูดซ้าอะไรซ้าๆ เหมือนเดิม และยังมีอาการอีกมากมายที่ยัง ไม่ได้กล่าวถึง และในความคิดเห็นส่วนตัวรู้สึกว่าเรื่องบางเรื่องไม่จ้าเป็นต้องย้ามาก เพราะบางครังเรื่องบางเรื่องก็ ไม่มีความจ้าเป็นใดๆที่จะต้องย้า เพราะมันก็ไม่ได้เกิดประโยชน์กับตัวเองและผู้ที่อยู่รอบๆข้าง จึงอยากที่จะศึกษา เรื่องนีว่ามันเป็นโรคอะไร จะสามารถรักษาได้อย่างไร และหากว่าไม่รักษามันสามารถพัฒนาเป็นโรคอะไรที่ ร้ายแรงกว่านีได้หรือไม่ มันจะท้าให้คนรอบข้างเดือดร้อนหรือไม่ และจะมีผลกระทบอย่างไรต่อตัวผู้ป่วยเอง ผู้จัดท้าจึงเล็งเห็นถึงปัญหาและโทษของการเป็นโรคย้าคิดย้าท้าหรือ OBSESIVE-COMPILSIVE DISORDER(OCD) จึงได้จัดท้าโครงงานนีขึนเพื่อที่จะได้เป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ป่วย ต่อครอบครัวของผู้ป่วย และ คนอื่นๆที่อยากจะศึกษาเรื่องนีเพื่อเป็นการป้องกันโรคนีตังแต่เนิ่นๆ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาลักษณะอาการของผู้ที่ป่วยเป็นโรคย้าคิดย้าท้า 2.เพื่อศึกษาวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคย้าคิดย้าท้า 3.เพื่อศึกษาผลกระทบต่อผู้ป่วยและต่อผู้อื่น ขอบเขตโครงงาน -ส้ารวจและทดลองกับครอบครัว ญาติ และนักเรียนยุพราชในห้อง ม.6/5 หลักการและทฤษฎี โรคย้าคิดย้าท้า หรือ obsessive-compulsive disorder(OCD) เป็นโรคที่ผู้ป่วยมีความคิดซ้าๆ ที่ท้า ให้เกิดความกังวลใจ และมีการตอบสนองต่อความคิด ด้วยการท้าพฤติกรรมซ้าๆ เพื่อลดความไม่สบายใจที่ เกิดขึน ซึ่งตัวผู้ป่วยเองก็รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่ไม่มีเหตุผล แต่ก็ไม่สามารถหยุดความคิดและการกระท้าดังกล่าวได้ และ หมดเวลาไปกับอาการดังกล่าวเป็นอย่างมาก ท้าให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมาน
  • 3. 3 อาการ อาการย้าคิด(obsession)เป็นความคิดความรู้สึกแรงขับดันจากภายในหรือจินตนาการที่มักผุดขึนมาซ้าๆ โดยผู้ป่วยเองก็ทราบว่าเป็นสิ่งที่ไร้เหตุผลเช่นมีความคิดซ้าๆว่ามือตนเองสกปรก,คิดว่าลืมปิดแก๊สหรือลืมล็อคประตู, จินตนาการเกี่ยวกับเรื่องทางเพศหรือการกระท้าสิ่งไม่ดีอย่างซ้าๆ,คิดซ้าๆว่าตนลบหลู่หรือด่าว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งความคิด ดังกล่าวท้าให้ผู้ป่วยเกิดความกังวลใจความไม่สบายใจอย่างมากและรู้สึกร้าคาญต่อความคิดนี อาการย้าท้า(compulsion)เป็นพฤติกรรมซ้าๆที่ผู้ป่วยท้าขึนโดยเป็นการตอบสนองต่อความย้าคิดหรือตามกฎเกณฑ์ บางอย่างที่ตนก้าหนดไว้ เพื่อป้องกันหรือลดความไม่สบายใจที่เกิดจากความย้าคิดหรือป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์ร้ายๆตามที่ ตนหวั่นเกรงเช่นต้องล้างมือซ้าๆ,ตรวจสอบลูกบิดประตูหรือหัวแก๊สซ้าๆ,พูดขอโทษซ้าๆซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มากเกินปกติ และไม่สมเหตุสมผล โรคย้าคิดย้าท้า พบได้ร้อยละ 2-3 ในประชากรทั่วไป โดยเริ่มมีอาการโดยเฉลี่ยที่อายุ 20 ปี โดยพบได้ พอๆกันทังในผู้ชายและผู้หญิง นอกจากนี ยังพบร่วมกับโรคทางจิตเวชอื่นๆได้ เช่น พบโรคซึมเศร้าร่วมด้วยถึง ร้อยละ 60-90 โรคอื่นๆที่พบร่วมกับโรคย้าคิดย้าท้า ได้แก่ โรคกลัวสังคม, โรควิตกกังวลทั่วไป, โรควิตกกังวล แพนิค รวมทังการดื่มเหล้าจนก่อให้เกิดปัญหาได้ สาเหตุ ปัจจัยทางชีวภาพ 1. ในด้านการท้างานของสมอง พบว่าผู้ป่วยมีการท้างานของสมองเพิ่มขึนในสมองส่วน orbitofrontal cortex, cingulate cortex, caudate และ thalamus ทังนีบริเวณเหล่านีอาจรวมกันเป็นวงจรที่มีการ ท้างานมากเกินปกติในผู้ป่วย OCD 2. ในด้านระบบประสาทสื่อน้าประสาท เชื่อว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติในระบบซีโรโตนิน (serotonin) โดย พบว่า ยาแก้ซึมเศร้าที่ออกฤทธิ์ต่อระบบซีโรโตนิน มีประสิทธิภาพในการรักษา OCD 3. ในด้านพันธุกรรม พบว่ามีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรค โดยพบว่าอัตราการเกิดโรคในแฝดไข่ใบเดียวกัน (monozygotic twins) เท่ากับ ร้อยละ 60-90 ในขณะที่ในประชากรทั่วไป พบร้อยละ 2-3 ปัจจัยด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ เชื่อว่าการเกิดภาวะเงื่อนไข มีบทบาทส้าคัญในการเกิดอาการ ย้าคิด โดย สถานการณ์ปกติ ถูกเชื่อมโยงกับ สถานการณ์อันตราย จึงท้าให้เกิดความวิตกกังวล ส้าหรับอาการย้าท้านัน ผู้ป่วยเรียนรู้ว่า การ กระท้าบางอย่าง ช่วยลดความกังวลลงได้ จึงเกิดเป็นแบบแผนพฤติกรรมดังกล่าว
  • 4. 4 การรักษา การรักษาด้วยยา 1. ยาแก้ซึมเศร้า ยาที่รักษาได้ผลดีใน OCD เป็นยาที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ออกฤทธิ์ต่อ ระบบซีโรโตนิน เช่น clomipramine และยาในกลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitors (SSRI) ทุกตัว ได้แก่ fluoxetine, fluvoxamine, paroxetine, sertraline และ escitalopram โดยทั่วไปมักใช้ในขนาดที่ใช้ ในการรักษาโรคซึมเศร้า อาการข้างเคียงที่อาจพบได้แก่ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ 2. ยาคลายกังวล ในผู้ป่วยที่มีความวิตกกังวลอยู่สูงอาจใช้ยาในกลุ่ม benzodiazepine ในระยะสันๆ ยา ในกลุ่มนีไม่มีผลในการรักษาอาการย้าคิด หรืออาการย้าท้า 3. ยาต้านโรคจิต ในผู้ป่วยบางรายที่ได้รับการรักษาด้วยยาแก้เศร้าแล้ว อาการยังไม่ดีขึน แพทย์อาจ พิจารณาให้ยาต้านโรคจิต เช่น risperidone ควบคู่ไปกับยาแก้ซึมเศร้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา การรักษาวิธีอื่น การรักษาที่ได้ผลดีคือ พฤติกรรมบ้าบัด โดยการให้ผู้ป่วยเผชิญ กับสิ่งที่ท้าให้กังวลใจและป้องกันไม่ให้มี พฤติกรรมย้าท้า ที่เคยกระท้า ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยที่มักล้างมือ ก็ให้จับของที่ผู้ป่วยรู้สึกว่าสกปรก ให้รออยู่ ช่วงหนึ่งจึงอนุญาตให้ล้างมือ การฝึกจะท้าตามล้าดับขัน เริ่มจากสิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึกกังวลน้อยไปหามาก และ ระยะเวลาที่ไม่ให้ล้างมืออาจเริ่มจาก 10-15 นาที ไปจนเป็นชั่วโมง หากการรักษาได้ผลผู้ป่วยจะกังวลน้อยลง เรื่อยๆ จนสามารถจับสิ่งต่างๆ ได้โดยไม่ต้องรีบไปล้างมือดังก่อน นอกจากนี การให้ความรู้แก่สมาชิกในครอบครัวผู้ป่วย มีความส้าคัญอย่างยิ่ง แพทย์ควรแนะน้าสมาชิกใน ครอบครัว ถึงอาการของโรค แนวทางการรักษาและการดูแลผู้ป่วย รวมทังแนะน้าให้มีท่าทีเป็นกลางต่ออาการ ของผู้ป่วย โดย ไม่ร่วมมือและช่วยเหลือผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยมีอาการ ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ต่อว่าผู้ป่วย เนื่องจากอาจ ท้าให้ผู้ป่วยเครียด และยิ่งกระตุ้นให้อาการเป็นมากขึนได้ การรักษาวิธีอื่นๆ ได้แก่ การท้าจิตบ้าบัดรายบุคคล เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวกับอาการได้ กลับมาใช้ชีวิต ได้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด ในรายที่อาการรุนแรง อาจมีการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การฝังแท่งก้าเนิดไฟฟ้าเพื่อกระตุ้นสมองส่วนลึก ( deep brain stimulation ) หรือ การผ่าตัด ( cingulotomy ) วิธีด้าเนินงาน แนวทางการด้าเนินงาน 1.วางแผน 2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูล 3.ท้าการส้ารวจ 4.สรุปผล 5.น้าเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเทอร์เน็ต 3.โทรศัพท์ 4.หนังสือที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ -100 บาท
  • 5. 5 ขันตอนและแผนด้าเนินงาน ล้าดับ ที่ ขันตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ - ผู้ป่วยสามารถรู้สาเหตุและวิธีรักษาได้ - ครอบครัวของผู้ป่วยสมารถดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยได้ - ผู้ที่ต้องการจะศึกษาสามารถศึกษาข้อมูลได้ สถานที่ด้าเนินการ - ที่บ้านและโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - สุขศึกษาและพลศึกษา แหล่งอ้างอิง https://health.kapook.com http://www.khonphutorn.com https://med.mahidol.ac.th