SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
7.เทคนิคการบริหารโครงการด้วย CPM/PERT
- แนะนำ CPM/PERT
- ประโยชน์ของ CPM/PERT
- ข้อเสนอแนะกำรนำ CPM/PERTมำใช้ในองค์กร
- ข้อจำกัดของ CPM/PERT
Overview
แนะนำ CPM / PERT
CPM (Critical Path Method)
- พัฒนาขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1957 โดยความร่วมมือของทีมงานวิจัยจากบริษัท Du Pont
และบริษัท Remington Rand Univac
- วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคนิคและวิธีการในการวางแผนและควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพ
โดยเทคนิคนี้สามารถลดเวลาการทางานและลดค่าใช้จ่ายของโครงการได้ดีกว่าเดิม
- วิธี CPM ถูกนาไปทดลองใช้ครั้งแรกในการวางแผนและควบคุมโรงงานเคมีแห่งหนึ่ง
ผลของการใช้ CPM ในการวางแผนและควบคุมงานประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก
นอกจากนั้น ยังพบอีกว่า การวางแผนและควบคุมโดยใช้ CPM จะใช้เวลา และความพยายาม
เพียงครึ่งหนึ่งของการวางแผนด้วยวิธีเดิม คือ แผนภูมิแกนต์
แนะนำ CPM / PERT
PERT (Program Evaluation and Review Technique)
- พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1958 โดยความร่วมมือของเจ้าหน้าที่โครงการพิเศษจากกองทัพเรือสห
และบริษัท Lockheed และบริษัท Booz-Allen and Hemiltion เพื่อใช้ในการวางแผนโครงการ
ผลิตขีปนาวุธของกองทัพเรือสหรัฐ ที่รู้จักกันในนามโครงการ Polaris Project
- เทคนิค PERT มุ่งขจัด ความขัดแย้งและความล่าช้าของโครงการให้น้อยลง และเร่งรัดการ
ดาเนินโครงการให้เสร็จเร็วขึ้น นอกจากนั้น ยังใช้ในการประเมินและตรวจสอบแผนงาน
และคาดหมายถึงปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ทาให้เราสามารถเตรียมการป้องกัน
แก้ไขปัญหาล่วงหน้าได้ทันเวลา จากการใช้ PERT ใน Polaris Project ทาให้การดาเนินงาน
โครงการเสร็จก่อนเป้าหมายที่วางไว้ถึง 18 เดือน
ควำมแตกต่ำงของ CPM /PERT
1. วิธีของ CPM ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผน (Planning)
การกาหนดเวลางาน (Scheduling) โครงการ และการควบคุม (Controlling) โครงการ
โดยผู้วางแผนจะต้องมีประสบการณ์นั้นดี จุดประสงค์ของ CPM อีกประการหนึ่ง คือ
ต้องการเน้นที่งานย่อย ฉะนั้น นอกจากจะทราบเวลาทั้งหมดของโครงการแล้วยังต้องทราบ
รายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยากรต่าง ๆ ที่ใช้และค่าใช้จ่ายของแต่ละงาน
วิธีของ PERT ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการปรับปรุงวิธีการในการวางแผน
และการประเมินของโครงการใหม่ ๆ ซึ่งผู้วางแผนไม่เคยมีประสบการณ์ในงานนั้นๆ มา
ก่อน และระหว่างการปฏิบัติงานมักมีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดบ่อย ๆ และ
จุดประสงค์ของPERT อีกอย่าง คือ ต้องการเน้นความสาคัญของเหตุการณ์ไม่ใช่ที่งาน
ควำมแตกต่ำงของ CPM /PERT
2.เวลาที่ใช้ในการทางานของแต่ละงานในข่ายงาน CPM จะมีเวลาที่ต้องใช้ในการทางาน
ที่แน่นอน คือ มีการประมาณเวลาเพียงค่าเดียว ผู้วางแผนจะกาหนดเวลางานโดยอาศัยสถิติ
เก่า ๆ ของงานชนิดเดียวกัน หรือบางครั้งจะใช้เวลามาตรฐาน ซึ่งได้มีการกาหนดเวลาไว้แล้ว
สาหรับวิธี PERT งานแต่ละงานจะมีเวลาที่ใช้ไม่แน่นอน คือ มีการประมาณเวลาถึง 3 ค่า
และต้องอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็นในการคานวณเวลาด้วย ทั้งนี้เพราะส่วนใหญ่ PERT
ใช้เวลาการวางแผนโครงการที่ไม่เคยทามาก่อน
ประโยชน์ของ CPM /PERT
1. ผู้วางแผนและผู้เกี่ยวข้องมีเวลาในการคาดคะเนปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดในการปฏิบัติงาน
และหาทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นไว้ล่วงหน้า ตลอดจนมีเวลารวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ในการวางแผนและบันทึกไว้ในรูปข่ายงาน
2. เมื่อบันทึกข้อมูลและแผนการต่าง ๆ ไว้ในรูปข่ายงาน ผู้วางแผนและผู้เกี่ยวข้องไม่จาเป็น
ต้องกังวลใจเกี่ยวกับการวางแผนอีก อาจใช้เวลาเพื่อปรับปรุงแก้ไขข่ายงานให้ดียิ่งขึ้น
3. ทาให้สามารถคาดคะเนระยะเวลาที่ต้องใช้สาหรับโครงการ หรือทราบวันเสร็จของ
โครงการได้ใกล้เคียงและสมเหตุสมผลที่สุด
4. มีระบบการควบคุมและติดตามผลอย่างมีประสิทธิภาพ ทุกครั้งที่มีการปรับปรุงแก้ไขจะ
ทราบได้ว่าโครงการจะเสร็จตามกาหนดหรือไม่ สามารถวิเคราะห์รายละเอียดว่า เหตุใด
โครงการจึงเสร็จเร็วหรือช้ากว่า กาหนด ซึ่งทาให้สามารถแก้ไขได้ถูกจุด
5. สามารถทราบจานวนและชนิดของทรัพยากรต่าง ๆ ที่ต้องใช้ตลอดระยะเวลาโครงการ
ทาให้ผู้รับผิดชอบทราบว่าทรัพยากรเพียงพอต่อการดาเนินงานหรือไม่
6. สาหรับโครงการใหญ่ หลังจากเขียนโครงข่ายงานและคานวณวันที่แล้วเสร็จของโครงการ
แล้วจะทาให้ทราบสายงานวิกฤต
ประโยชน์ของ CPM /PERT
7. เมื่อโครงการเสร็จสิ้นแล้ว ทาให้ทราบสถิติของแต่ละงานเกี่ยวกับเวลาที่ใช้และทรัพยากร
ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งความสมเหตุสมผลของข่ายงาน ที่ได้แก้ไขปรับปรุงตลอดเวลาและ
จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง อันจะเป็นประโยชน์อย่างมากในการวางแผนโครงการอื่นต่อไป
ประโยชน์ของ CPM /PERT
- การใช้ CPM/PERT เป็นเครื่องมือในการวางแผนให้ได้ผลสมบูรณ์นั้นต้องนามาใช้ใน
ขั้นวางแผน ไม่ใช่นามาใช้ในขั้นเริ่มลงมือทางาน
- ผู้ที่ริเริ่มนา CPM/PERT มาใช้ในองค์กร ต้องเป็นผู้มีตาแหน่งงานสูง และสามารถจูงใจให้
ผู้บังคับบัญชา หรือ ผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชา หรือผู้เกี่ยวข้อง ยอมรับ และสนับสนุนการใช้
CPM/PERT ในการวางแผนและนาแผนไปปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะในกำรนำ PERT/CPM มำใช้ในองค์กร
ข้อเสนอแนะในกำรนำ PERT/CPM มำใช้ในองค์กร
- ก่อนนา CPM/PERTมาใช้ต้องมีการฝึกอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนงาน
การปฏิบัติงาน และการติดตามผลงาน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- ต้องมีความเข้าใจว่า CPM/PERT ไม่ใช่เครื่องมือที่จะนาไปใช้ได้ทุกกรณี CPM/PERT
สามารถนาไปใช้ได้เมื่องานต่าง ๆ ในโครงข่ายมีจุดเริ่มต้น และจุดจบที่กาหนดได้แน่นอน
- CPM/PERT เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ส่วนแผนงานที่ใช้วิธีการ CPM/PERT
จะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้วางแผน โดยเฉพาะผู้วางแผนต้องมีความรู้ใน
งานที่จะวางแผนเป็นอย่างดี มิฉะนั้นแล้วCPM/PERTจะไม่สามารถแก้ปัญหาใด ๆได้
ข้อเสนอแนะในกำรนำ PERT/CPM มำใช้ในองค์กร
- ควรเลือกใช้กับโครงการง่าย ๆ ก่อนเพราะผู้วางแผนยังขาดความชานาญและ
ประสบการณ์ อาจทาให้งานในโครงการไม่ได้ผลตามเป้าหมาย ทาให้คนส่วนมากโทษว่า
ความล้มเหลวของโครงการนั้นเนื่องมาจากการใช้ CPM/PERT ในการวางแผนงาน
- ต้องมีการติดตามผลเป็นระยะเพื่อทราบความก้าวหน้าของงาน และต้องมีการแก้ไข
แผนงานที่วางไว้ในกรณีที่ข้อมูลต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงเพื่อให้ข้อมูลถูกต้องและทันต่อ
เหตุการณ์เสมอ
ข้อจำกัดของ CPM/PERT
1. CPM/PERTต้องอาศัยการเขียนโครงข่ายในการวางแผนโครงการ ซึ่งการเขียน
โครงข่ายงานเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและใช้เวลามาก มักเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย
2. การประมาณเวลาที่ใช้ในการทางานแต่ละงานเป็นเรื่องยากโดยเฉพาะกับเทคนิค PERT
ต้องประมาณเวลาถึง 3 ค่า
3.ขั้นการกาหนดเวลางานโครงการ พบว่า งานที่ไม่เป็นสายงานวิกฤต จะกลายเป็น
งานวิกฤตในขั้นการดาเนินโครงการได้ เนื่องจากผลความไม่แน่นอนของสถานการณ์
ที่เปลี่ยนไป
4.การวิเคราะห์โครงข่ายของการปฏิบัติงานมักสมมติทรัพยากรเป็นส่วนสาคัญในการ
ดาเนินงานโครงการมีอยู่อย่างพร้อมเพรียงตลอดเวลา แต่ในการปฏิบัติจริง จานวน
ทรัพยากรมักไม่สอดคล้องกับความต้องการที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ทาให้การ
ดาเนินงานมักเกิดปัญหา จึงต้องอาศัยการควบคุมและติดตามผลเสมอ
ข้อจำกัดของ CPM/PERT

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MiamthesisTH
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
โครงงานโฟมแปลงร่าง
โครงงานโฟมแปลงร่างโครงงานโฟมแปลงร่าง
โครงงานโฟมแปลงร่างSunattha Phinit
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงานpop Jaturong
 

Tendances (20)

บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4M
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
โครงงานโฟมแปลงร่าง
โครงงานโฟมแปลงร่างโครงงานโฟมแปลงร่าง
โครงงานโฟมแปลงร่าง
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 

En vedette

บทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการบทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการRungnapa Rungnapa
 
การบริหารโครงการ
การบริหารโครงการการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการNuch Sake
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9orarick
 
4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการ4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการpop Jaturong
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014Wanida Kook
 
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการบทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการTeetut Tresirichod
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการpop Jaturong
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
10ตรวจสอบ ปิดโครงการpop Jaturong
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
How to wind 3D wound core?
How to wind 3D wound core?How to wind 3D wound core?
How to wind 3D wound core?Lydia King
 
Transformer with 3D wound core
Transformer with 3D wound coreTransformer with 3D wound core
Transformer with 3D wound coreLydia King
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject PanagementTrue Corporation
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 

En vedette (20)

บทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการบทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
 
การบริหารโครงการ
การบริหารโครงการการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการ
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
 
4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการ4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการ
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการบทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
10ตรวจสอบ ปิดโครงการ
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
How to wind 3D wound core?
How to wind 3D wound core?How to wind 3D wound core?
How to wind 3D wound core?
 
Transformer with 3D wound core
Transformer with 3D wound coreTransformer with 3D wound core
Transformer with 3D wound core
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
An Overview Of I Troject Panagement
An  Overview Of  I  Troject  PanagementAn  Overview Of  I  Troject  Panagement
An Overview Of I Troject Panagement
 
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะโครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 

Similaire à 7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert

Similaire à 7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert (9)

ERP101 Chapter 13
ERP101 Chapter 13ERP101 Chapter 13
ERP101 Chapter 13
 
E R P7 How
E R P7 HowE R P7 How
E R P7 How
 
1 intro
1 intro1 intro
1 intro
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
1 intro
1 intro1 intro
1 intro
 
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วมการควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
 
Fahji
FahjiFahji
Fahji
 
การตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบินการตลาดในธุรกิจการบิน
การตลาดในธุรกิจการบิน
 

Plus de pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

Plus de pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert

  • 2. - แนะนำ CPM/PERT - ประโยชน์ของ CPM/PERT - ข้อเสนอแนะกำรนำ CPM/PERTมำใช้ในองค์กร - ข้อจำกัดของ CPM/PERT Overview
  • 3. แนะนำ CPM / PERT CPM (Critical Path Method) - พัฒนาขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1957 โดยความร่วมมือของทีมงานวิจัยจากบริษัท Du Pont และบริษัท Remington Rand Univac - วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคนิคและวิธีการในการวางแผนและควบคุมงานที่มีประสิทธิภาพ โดยเทคนิคนี้สามารถลดเวลาการทางานและลดค่าใช้จ่ายของโครงการได้ดีกว่าเดิม - วิธี CPM ถูกนาไปทดลองใช้ครั้งแรกในการวางแผนและควบคุมโรงงานเคมีแห่งหนึ่ง ผลของการใช้ CPM ในการวางแผนและควบคุมงานประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก นอกจากนั้น ยังพบอีกว่า การวางแผนและควบคุมโดยใช้ CPM จะใช้เวลา และความพยายาม เพียงครึ่งหนึ่งของการวางแผนด้วยวิธีเดิม คือ แผนภูมิแกนต์
  • 4. แนะนำ CPM / PERT PERT (Program Evaluation and Review Technique) - พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1958 โดยความร่วมมือของเจ้าหน้าที่โครงการพิเศษจากกองทัพเรือสห และบริษัท Lockheed และบริษัท Booz-Allen and Hemiltion เพื่อใช้ในการวางแผนโครงการ ผลิตขีปนาวุธของกองทัพเรือสหรัฐ ที่รู้จักกันในนามโครงการ Polaris Project - เทคนิค PERT มุ่งขจัด ความขัดแย้งและความล่าช้าของโครงการให้น้อยลง และเร่งรัดการ ดาเนินโครงการให้เสร็จเร็วขึ้น นอกจากนั้น ยังใช้ในการประเมินและตรวจสอบแผนงาน และคาดหมายถึงปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ทาให้เราสามารถเตรียมการป้องกัน แก้ไขปัญหาล่วงหน้าได้ทันเวลา จากการใช้ PERT ใน Polaris Project ทาให้การดาเนินงาน โครงการเสร็จก่อนเป้าหมายที่วางไว้ถึง 18 เดือน
  • 5. ควำมแตกต่ำงของ CPM /PERT 1. วิธีของ CPM ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผน (Planning) การกาหนดเวลางาน (Scheduling) โครงการ และการควบคุม (Controlling) โครงการ โดยผู้วางแผนจะต้องมีประสบการณ์นั้นดี จุดประสงค์ของ CPM อีกประการหนึ่ง คือ ต้องการเน้นที่งานย่อย ฉะนั้น นอกจากจะทราบเวลาทั้งหมดของโครงการแล้วยังต้องทราบ รายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยากรต่าง ๆ ที่ใช้และค่าใช้จ่ายของแต่ละงาน วิธีของ PERT ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการปรับปรุงวิธีการในการวางแผน และการประเมินของโครงการใหม่ ๆ ซึ่งผู้วางแผนไม่เคยมีประสบการณ์ในงานนั้นๆ มา ก่อน และระหว่างการปฏิบัติงานมักมีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดบ่อย ๆ และ จุดประสงค์ของPERT อีกอย่าง คือ ต้องการเน้นความสาคัญของเหตุการณ์ไม่ใช่ที่งาน
  • 6. ควำมแตกต่ำงของ CPM /PERT 2.เวลาที่ใช้ในการทางานของแต่ละงานในข่ายงาน CPM จะมีเวลาที่ต้องใช้ในการทางาน ที่แน่นอน คือ มีการประมาณเวลาเพียงค่าเดียว ผู้วางแผนจะกาหนดเวลางานโดยอาศัยสถิติ เก่า ๆ ของงานชนิดเดียวกัน หรือบางครั้งจะใช้เวลามาตรฐาน ซึ่งได้มีการกาหนดเวลาไว้แล้ว สาหรับวิธี PERT งานแต่ละงานจะมีเวลาที่ใช้ไม่แน่นอน คือ มีการประมาณเวลาถึง 3 ค่า และต้องอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็นในการคานวณเวลาด้วย ทั้งนี้เพราะส่วนใหญ่ PERT ใช้เวลาการวางแผนโครงการที่ไม่เคยทามาก่อน
  • 7. ประโยชน์ของ CPM /PERT 1. ผู้วางแผนและผู้เกี่ยวข้องมีเวลาในการคาดคะเนปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดในการปฏิบัติงาน และหาทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นไว้ล่วงหน้า ตลอดจนมีเวลารวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการวางแผนและบันทึกไว้ในรูปข่ายงาน 2. เมื่อบันทึกข้อมูลและแผนการต่าง ๆ ไว้ในรูปข่ายงาน ผู้วางแผนและผู้เกี่ยวข้องไม่จาเป็น ต้องกังวลใจเกี่ยวกับการวางแผนอีก อาจใช้เวลาเพื่อปรับปรุงแก้ไขข่ายงานให้ดียิ่งขึ้น 3. ทาให้สามารถคาดคะเนระยะเวลาที่ต้องใช้สาหรับโครงการ หรือทราบวันเสร็จของ โครงการได้ใกล้เคียงและสมเหตุสมผลที่สุด
  • 8. 4. มีระบบการควบคุมและติดตามผลอย่างมีประสิทธิภาพ ทุกครั้งที่มีการปรับปรุงแก้ไขจะ ทราบได้ว่าโครงการจะเสร็จตามกาหนดหรือไม่ สามารถวิเคราะห์รายละเอียดว่า เหตุใด โครงการจึงเสร็จเร็วหรือช้ากว่า กาหนด ซึ่งทาให้สามารถแก้ไขได้ถูกจุด 5. สามารถทราบจานวนและชนิดของทรัพยากรต่าง ๆ ที่ต้องใช้ตลอดระยะเวลาโครงการ ทาให้ผู้รับผิดชอบทราบว่าทรัพยากรเพียงพอต่อการดาเนินงานหรือไม่ 6. สาหรับโครงการใหญ่ หลังจากเขียนโครงข่ายงานและคานวณวันที่แล้วเสร็จของโครงการ แล้วจะทาให้ทราบสายงานวิกฤต ประโยชน์ของ CPM /PERT
  • 9. 7. เมื่อโครงการเสร็จสิ้นแล้ว ทาให้ทราบสถิติของแต่ละงานเกี่ยวกับเวลาที่ใช้และทรัพยากร ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งความสมเหตุสมผลของข่ายงาน ที่ได้แก้ไขปรับปรุงตลอดเวลาและ จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง อันจะเป็นประโยชน์อย่างมากในการวางแผนโครงการอื่นต่อไป ประโยชน์ของ CPM /PERT
  • 10. - การใช้ CPM/PERT เป็นเครื่องมือในการวางแผนให้ได้ผลสมบูรณ์นั้นต้องนามาใช้ใน ขั้นวางแผน ไม่ใช่นามาใช้ในขั้นเริ่มลงมือทางาน - ผู้ที่ริเริ่มนา CPM/PERT มาใช้ในองค์กร ต้องเป็นผู้มีตาแหน่งงานสูง และสามารถจูงใจให้ ผู้บังคับบัญชา หรือ ผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชา หรือผู้เกี่ยวข้อง ยอมรับ และสนับสนุนการใช้ CPM/PERT ในการวางแผนและนาแผนไปปฏิบัติ ข้อเสนอแนะในกำรนำ PERT/CPM มำใช้ในองค์กร
  • 11. ข้อเสนอแนะในกำรนำ PERT/CPM มำใช้ในองค์กร - ก่อนนา CPM/PERTมาใช้ต้องมีการฝึกอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนงาน การปฏิบัติงาน และการติดตามผลงาน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ - ต้องมีความเข้าใจว่า CPM/PERT ไม่ใช่เครื่องมือที่จะนาไปใช้ได้ทุกกรณี CPM/PERT สามารถนาไปใช้ได้เมื่องานต่าง ๆ ในโครงข่ายมีจุดเริ่มต้น และจุดจบที่กาหนดได้แน่นอน - CPM/PERT เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนงาน ส่วนแผนงานที่ใช้วิธีการ CPM/PERT จะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้วางแผน โดยเฉพาะผู้วางแผนต้องมีความรู้ใน งานที่จะวางแผนเป็นอย่างดี มิฉะนั้นแล้วCPM/PERTจะไม่สามารถแก้ปัญหาใด ๆได้
  • 12. ข้อเสนอแนะในกำรนำ PERT/CPM มำใช้ในองค์กร - ควรเลือกใช้กับโครงการง่าย ๆ ก่อนเพราะผู้วางแผนยังขาดความชานาญและ ประสบการณ์ อาจทาให้งานในโครงการไม่ได้ผลตามเป้าหมาย ทาให้คนส่วนมากโทษว่า ความล้มเหลวของโครงการนั้นเนื่องมาจากการใช้ CPM/PERT ในการวางแผนงาน - ต้องมีการติดตามผลเป็นระยะเพื่อทราบความก้าวหน้าของงาน และต้องมีการแก้ไข แผนงานที่วางไว้ในกรณีที่ข้อมูลต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงเพื่อให้ข้อมูลถูกต้องและทันต่อ เหตุการณ์เสมอ
  • 13. ข้อจำกัดของ CPM/PERT 1. CPM/PERTต้องอาศัยการเขียนโครงข่ายในการวางแผนโครงการ ซึ่งการเขียน โครงข่ายงานเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและใช้เวลามาก มักเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย 2. การประมาณเวลาที่ใช้ในการทางานแต่ละงานเป็นเรื่องยากโดยเฉพาะกับเทคนิค PERT ต้องประมาณเวลาถึง 3 ค่า 3.ขั้นการกาหนดเวลางานโครงการ พบว่า งานที่ไม่เป็นสายงานวิกฤต จะกลายเป็น งานวิกฤตในขั้นการดาเนินโครงการได้ เนื่องจากผลความไม่แน่นอนของสถานการณ์ ที่เปลี่ยนไป
  • 14. 4.การวิเคราะห์โครงข่ายของการปฏิบัติงานมักสมมติทรัพยากรเป็นส่วนสาคัญในการ ดาเนินงานโครงการมีอยู่อย่างพร้อมเพรียงตลอดเวลา แต่ในการปฏิบัติจริง จานวน ทรัพยากรมักไม่สอดคล้องกับความต้องการที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ทาให้การ ดาเนินงานมักเกิดปัญหา จึงต้องอาศัยการควบคุมและติดตามผลเสมอ ข้อจำกัดของ CPM/PERT