SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอล 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
จัดทาโดย 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 เลขที่ 34 
เสนอ 
อาจารย์ศศินันท์ ละวิสิทธิ์
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
(ฝ่ายมัธยม) 
ปีการศึกษา 2/2557 
ประวัติความเป็นมาของกีฬาฟุตบอล 
ฟุตบอล (Football) หรือ ซอกเกอร์ (Soccer) 
เป็นกีฬาที่มีคนสนใจในการเล่น และเข้าชมสูงที่สุดของโลก 
แต่ไม่สามารถยืนยันได้ว่า 
กีฬาฟุตบอลถือกาเนิดมาจากชนชาติใด 
โดยเฉพาะเป็นกีฬายอดนิยมสูงสุดของโลก ก็ยิ่งทาให้ทุกๆ 
ประเทศมีวิวัฒนาการทางการกีฬา 
ยืนยันว่าเป็นกีฬาที่เกิดจากประเทศของตนทั้งสิ้น 
แต่ประเทศที่อ้างว่าเป็นกีฬาที่เกิดขึ้นจากตนเอง 
ก็ไม่สามารถหาหลักฐาน ยืนยัน จึงเพียงแต่กล่าวว่า 
น่าจะเป็นไปได้ทั้งสิ้น ทั้งนี้ จะเป็นจริงหรือไม่อย่างใดนั้น 
สามารถวิเคราะห์ได้ว่าเกิดจากที่ใด สรุปได้ดังนี้คือ เมื่อประมาณ 
2,500 ปีมาแล้ว มีหลักฐานบันทึกไว้ว่า 
ในประเทศจีนมีการเล่นเกมอย่างหนึ่ง เรียกว่า ซูจู (Tsu Chu) 
ซึ่งหมายถึง เกมที่ใช้เท้าเตะลูกบอล โดยมากการเล่นเกมนี้ 
จะเป็นการเล่นถวายพระเจ้าจักรพรรดิ 
ผู้ชนะจะได้รางวัลอย่างงาม 
ส่วนผู้แพ้บางครั้งจะถูกลงโทษด้วยการเฆี่ยน 
ชาวญี่ปุ่นก็เป็นอีกชาติหนึ่งที่มีเกมการเล่นในลักษณะที่ใช้เท้าเล่
น เรียกว่า เกมาริ (Kemari) โดยมีการกาหนดขอบเขต 
และมุมของสนามด้วยต้นสน ต้นเชอรี่ ต้นเมเปิล หรือต้นวิลโล 
เป็นแนวเขตธรรมชาติ 
ชาวโรมันในสมัยโบราณมีเกมการเล่นชนิดหนึ่งเรียกว่าฮาร์พาส 
เตียม (Harpastium) 
โดยใช้กระเพาะปัสสาวะของหมูเอามาสูบลมแล้วนามาเตะกัน 
นอกจากจะเตะแล้วอาจใช้การผลัก ถือ วิ่ง ชก ขว้างปา 
ให้ลูกบอลไปถึงที่หมายของฝ่ายตรงข้ามให้ได้ 
ซึ่งคล้ายกับกีฬารักบี้ฟุตบอล ในสมัยปัจจุบัน 
ในเมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี มีเกมคล้าย ๆ กันนี้ เรียกว่า 
กัลโช (Calcio) โดยเล่นกันที่เปียซซ่า เดลลา โครเก (Piazza 
della Croce) มีผู้เล่นข้างละ 27 คน 
แต่ละทีมจะสวมชุดเครื่องแต่งกายประจาถิ่นหรือหมู่บ้านนั้น ๆ 
ตามความนิยมในสมัยนั้น 
ปัจจุบันเกมนี้ยังคงได้รับการฟื้นฟูจากทางการของอิตาลีจัดแสด 
งให้นักท่องเที่ยวได้ชมกัน 
เชื่อกันว่าชาวโรมันเป็นผู้นาเกมการเล่นแบบเตะลูกบอล(Harpa 
stium) มายังประเทศอังกฤษ แต่ก็ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด 
จนกระทั่งหลายศตวรรษ 
หลังจากโรมันได้จากเกาะอังกฤษไปแล้ว ในประมาณปี 
พ.ศ.1343 กองทัพเดนมาร์ค 
ได้ยกเข้าโจมตีที่มั่นของอังกฤษที่เมืองคิงสตัน (Kingston) 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
นักประวัติศาสตร์บางท่านบอกว่าเป็นที่มั่นเมืองเชสเตอร์ 
(Chester) ทหารอังกฤษที่ประจาอยู่ที่มั่นดังกล่าว 
ได้ต่อสู้เป็นสามารถ 
ในที่สุดเมื่อได้รับการสนับสนุนจากเมืองหลวง คือ ลอนดอน 
(London) ก็สามารถตีกองทัพเดนมาร์คแตกพ่ายไป 
แม่ทัพเดนมาร์คถูกฆ่าตาย 
และทหารอังกฤษได้ตัดเอาศีรษะของเขามาเตะเล่นกันไปรอบ ๆ 
ค่ายทหาร วันที่อังกฤษได้รับชัยชนะนั้น คือ วันมาดิกราส์ 
(Shrove Tuesday) 
ซึ่งต่อมาถือเป็นวันสาคัญแห่งชาติอังกฤษไป 
เกมการเตะศีรษะคนก็เปลี่ยนมาเป็นเกมการเตะลูกบอลที่ทาด้วย 
หนัง 
กลายเป็นกิจกรรมสาคัญสาหรับฉลองในเทศกาลวันสาคัญดังกล่ 
าว และแพร่หลายไปตามชนบท 
คนทั้งหมู่บ้านออกมาเตะฟุตบอลเล่นกัน 
ผู้เล่นสามารถใช้ทุกส่วนสัมผัสลูกบอลได้ 
ประตูซึ่งอาจจะเป็นประตูเมือง หรือต้นไม้ 
จะอยู่ห่างกันหลายร้อยเมตร เป็นการเล่นที่รุนแรง (ถูกนามาใช้) 
ทาให้เกิดความเสียหายและบาดเจ็บต่อผู้เล่นเป็นจานวนมาก 
จนบางครั้งดูเป็นความโหดร้ายป่าเถื่อน 
จนถึงขึ้นการจลาจลบ่อย ๆ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และพระเจ้า 
ริชาร์ดที่ 3 
จึงได้ทรงห้ามไม่ให้มีการเล่นเกมฟุตบอลที่โหดร้ายนี้อีกต่อไป 
แต่ก็ยังมีการเล่นอยู่ประปราย 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
ความรุนแรงของการเล่นฟุตบอลค่อย ๆ ลดลง จนกระทั่งปี 
พ.ศ.2243 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงในอังกฤษ เช่น โรงเรียนรักบี้ 
(Rugby) และโรงเรียนอีตัน (Eton) ก็นาเกมฟุตบอลมาฟื้นฟู 
มีการพยายามกาหนดกฎ กติกาการเล่น 
แต่ก็ยังไม่เป็นมาตรฐาน เพราะแต่ละแห่งจะสร้างกติกา 
เพื่อประโยชน์ของทีมตนเองทั้งสิ้น 
อย่างไรก็ตาม 
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎกติกาการเล่นของแต่ละแห่ง 
ทาให้นักกีฬาใหม่ขึ้นมาอยู่ 2 ลักษณะ คือ 
ไปในแนวทางรักบี้ฟุตบอล (Rugby Football) และฟุตบอล 
(Soccer or Association Football) ปี พ.ศ.2343 
กีฬาฟุตบอลได้รับการพัฒนาให้มีการเล่นที่สุภาพมากขึ้น 
มีความปลอดภัยมากขึ้น 
มีการรวมกลุ่มกันจัดตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งอังกฤษขึ้นเป็นครั้งแร 
ก ในปี พ.ศ.2406 
โดยการรวมกลุ่มของสโมสรฟุตบอลในลอนดอน 11 แห่ง 
เพื่อร่วมกันปรับปรุง แก้ไข กฎ กติกา 
การเล่นให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันอันถือว่าเป็นการเริ่มต้นกา 
รเล่นกีฬาฟุตบอลในรูปแบบปัจจุบัน 
การเล่นฟุตบอลในประเทศอังกฤษได้แพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว 
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 
โดยการเผยแพร่ของทหารบกและทหารเรือของอังกฤษ 
ซึ่งขณะนี้มีประเทศที่เป็นอาณานิคมอยู่แทบทุกหนทุกแห่ง 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
จึงได้มีการก่อตั้งสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (The Federation 
International de Football Association) หรือเรียกว่า ฟีฟ่า 
(F.I.F.A.) โดยมีสานักงานใหญ่ ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา 
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีประเทศสมาชิกก่อตั้ง 7 ประเทศ 
ปัจจุบันนี้มีประเทศต่าง ๆ สมัครเป็นสมาชิกเกือบ 200 ประเทศ 
ปัจจุบันฟุตบอลถือได้ว่าเป็นกีฬายอดนิยมอันดับหนึ่ง 
มีการจัดการแข่งขันรายการต่าง ๆ มากมาย 
ทั้งระดับภายในประเทศ ระดับนานาชาติ และ ระดับโลก 
การแข่งขันที่ถือว่าเป็นสุดยอดของรายการแข่งขันฟุตบอล 
ได้แก่ การแข่งขันฟุตบอลโลก (World Cup) 
ซึ่งจะมีการแข่งขันทุกๆ 4 ปีต่อครั้ง 
โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่ประเทศอุรุกวัย เมื่อปี พ.ศ. 
2473 และอุรุกวัยเป็นประเทศแรกที่ชนะเลิศฟุตบอลโลก 
ได้ครองถ้วย จูล ริเมต์ (Jules Rimet) 
ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มให้มีการแข่งขันฟุตบอลโลกขึ้น 
และประกอบกับท่านเป็นประธานสหพันธ์ฟุตบอลโลก หรือ 
F.I.F.A. ในขณะนั้นด้วย 
ต่อมาถ้วยใบนี้ได้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของประเทศบราซิล 
เมื่อบราซิลเป็นประเทศแรกที่ชนะเลิศฟุตบอลโลกครบ 3 ครั้ง 
เมื่อปี พ.ศ.2513 ที่ประเทศเม็กซิโก เป็นเจ้าภาพ F.I.F.A. 
จึงได้จัดทาถ้วยใบใหม่เพื่อจัดการแข่งขันต่อไป 
ซึ่งทวีปเอเชียได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันครั้งแรก 
ในปี พ.ศ. 2545 ณ ประเทศญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ และ ปี พ.ศ. 
2549 ประเทศเยอรมัน ได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพการแข่งขัน 
มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันรอบสุดท้าย 32 ทีม จากทุกทวีป 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
นอกจากการแข่งขันฟุตบอลโลกแล้ว 
ยังมีการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติที่น่าสนใจ 
และมีชื่อเสียงหลายรายการ ดังนี้ 
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติของทวีปยุโรป แข่งขันทุก ๆ 4 
ปีต่อครั้ง 
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติของทวีปอเมริกาใต้ 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
ฟุตบอลเยาวชน อายุไม่เกิน 19 ปี 
ฟุตบอลโอลิมปิกฤดูร้อน ฯลฯ 
ประเทศที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับฟุตบอล 
มักจะอยู่แถบทวีปยุโรปและอเมริกาใต้ 
แต่ละประเทศจะจัดดาเนินการแข่งขันรายการฟุตบอลภายในปร 
ะเทศเป็นระบบอาชีพ (Professional Football) 
โดยจัดตั้งเป็นสโมสร (Club) มีสมาชิก (Fan-Club) 
ให้การสนับสนุนและคอยให้กาลังใจผู้เล่นของสโมสรที่ไปทากา 
รแข่งขันสโมสรฟุตบอลที่มีชื่อเสียงในทวีปยุโรป 
มีหลายสโมสรที่น่าสนใจ ดังนี้ 
แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ลิเวอร์พูล อาร์เซนัล นิวคาสเซิล 
จากประเทศอังกฤษ 
เอ.ซี มิลาน จูเวนตุส อินเตอร์มิลาน จากประเทศอิตาลี 
บาเยิร์น มิวนิค เอฟซี โคโลญ ซอลเก้ 04 จากประเทศเยอรมัน 
บาร์เซโลน่า เรียล แมดริด คอรุนยา จากประเทศสเปน 
อาแจกซ์ อัมสเตอร์ดัม พีเอสวี ไฮนโอเพ่น 
จากประเทศฮอลแลนด์
เอฟซี ปอร์โต เบนฟิก้า จากประเทศโปรตุเกส 
การจัดการแข่งขันฟุตบอลภายในประเทศที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก 
กันดี มีดังนี้ 
ฟุตบอล กัลโช ซีรีส์ เอ (Calcio Series A) ของ อิตาลี 
ฟุตบอล พรีเมียร์ลีก (Primier League) ของ อังกฤษ 
ฟุตบอล บุนเดสลิกา (Bundesliga) ของ เยอรมัน 
สโมสรในทวีปต่าง ๆ 
ยังมีการนาเอาแชมป์ของสโมสรในประเทศมาแข่งขันกันเพื่อชิง 
ความเป็นหนึ่งของสโมสรในแต่ละทวีปด้วย ในทวีปยุโรปจัดการ 
แข่งขัน ดังนี้ 
ฟุตบอลสโมสรชิงแชมป์ยุโรป (European Champion Clubs 
Cup) เป็นการเอาแชมป์สโมสรดิวิชั่น 1 
ของประเทศมาแข่งขันกัน 
ฟุตบอลยูฟ่าคัพ (U.E.F.A. Cup) 
เป็นการนาเอาแชมป์ฟุตบอลลีกคัพ ของแต่ละประเทศ และอัน 1, 
2 หรือ 3 ของฟุตบอลดิวิชั่น 1 ของแต่ละประเทศมาแข่งขันกัน 
ฟุตบอลคัพ วินเนอรส์ คัพ (Cup-Winners-Cup) 
เป็นการนาเอาแชมป์ฟุตบอล เอฟ.เอ.คัพ 
ของแต่ละประเทศมาแข่งขันกัน 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
สาหรับฟุตบอลในทวีปเอเชีย 
มีรายการฟุตบอลอาชีพภายในประเทศที่น่าสนใจ ได้แก่ 
ฟุตบอล เจ.ลีก ของประเทศญี่ปุ่น 
ซึ่งรวบรวมเอานักเตะที่มีชื่อเสียงของโลก ร่วมกับนักเตะที่เด่น ๆ 
ของญี่ปุ่นเองมาทาการแข่งขันเป็นรายการฟุตบอลอาชีพ 
นอกจากนี้ ก็มีรายการฟุตบอลในประเทศเกาหลีใต้ และจีน ด้วย 
ในสหรัฐอเมริกา หลังจากล้มเหลว 
ในการจัดตั้งสโมสรและจัดการ แข่งขันฟุตบอลลีก เมื่อปี 
พ.ศ.2513 
ต่อมาเมื่อสหรัฐเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก (World 
Cup) ในปี พ.ศ.2537 
ก็ได้มีการรื้อฟื้นการแข่งขันฟุตบอลลีกขึ้นใหม่ ภายใต้ชื่อว่า 
เมเจอร์ ลีก (Major Leaque) เริ่มทาการแข่งขันในปี พ.ศ.2539 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กติกาการเล่นฟุตบอล 
กติกาการเล่นฟุตบอล (อังกฤษ: The Laws of the 
Game)[1] 
เป็นกฎและกติกาฟุตบอลสากลทกี่าหนดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลต่า 
งประเทศ ในปัจจุบันมีทั้งหมด 17 ข้อ 
ดูแลโดยหน่วยงานไอเอฟเอบี 
กฎข้อที่ 1: สนามฟุตบอล
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
สนามฟุตบอบ 
สนาม เป็นสนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความกว้างต่าสุด 
50 หลา สูงสุด 100 หลา ความยาวต่าสุด 100 หลา สูงสุด 130 
หลา 
เครื่องหมายในสนาม เกิดจากเส้นต่าง ๆ 
โดยในแต่ละเส้นจะมีความกว้างไม่เกิน 5 นิ้ว 
ทาเป็นสัญลักษณ์ในสนาม ได้แก่ 
เส้นเขตสนาม อยู่รอบเขตสนาม ส่วนที่สั้นเรียก เส้นประตู 
ส่วนที่ยาวเรียก เส้นข้าง 
เส้นแบ่งเขตแดน แบ่งสนามตามขวางเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน 
จุดกึ่งกลางสนาม อยู่กึ่งกลางเส้นแบ่งเขตแดน 
มีวงกลมรัศมี 10 หลาล้อมรอบจุดไว้ 
เส้นประตู เชื่อมระหว่างโคนเสาประตูทั้ง 2 ฝั่ง
เขตประตู คือพื้นที่ที่เกิดจากการลากเส้นจากเสาประตูทั้ง 2 
ฝั่งตั้งฉากกับเส้นประตู เข้าหาสนามยาว 6 หลา 
แล้วเชื่อมด้วยเส้นตรง 
เขตโทษ คือพื้นที่ที่เกิดจากการลากเส้นจากเสาประตูทั้ง 2 
ฝั่งขนานกับเส้นประตู ออกจากประตูยาว 16.5 เมตร 
แล้วลากเส้นตั้งฉากกับเส้นประตู เข้าหาสนามยาว 16.5 เมตร 
แล้วเชื่อมด้วยเส้นตรง 
จุดโทษ อยู่ในเขตโทษ ห่างจากเสาประตู 12 หลา 
มีการเขียนส่วนโค้งนอกเขตโทษ รัศมีห่างจากจุดโทษ 10 หลา 
ประตู มีสีขาว ระยะห่างระหว่างเสาประตู 8 หลา 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
คานสูงจากพื้น 8 ฟุต มีการติดตาข่ายรองรับลูก 
มุมธง อยู่ทั้ง 4 มุมของสนาม รัศมี 1 หลา 
เสาธง เป็นจุดศูนย์กลางของมุมธง 
ไว้แสดงเขตในการเตะมุม สูงไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร 
ยอดไม่แหลม ผูกธงไว้ที่ยอด 
กฎข้อที่ 2: ลูกฟุตบอล 
เป็นทรงกลม ทาจากหนัง หรือวัสดุอื่นๆ 
ตามความเหมาะสมที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้เล่น เป็นฟุตบอลเบอร์ 
5 มีเส้นรอบวงประมาณ 68-70 เซนติเมตร น้าหนักประมาณ 
410-450 กรัม 
กฎข้อที่ 3: จานวนผู้เล่น
ประกอบด้วยทีม 2 ทีม 
และแต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่นตัวจริงและตัวสารอง 
ผู้เล่นตัวจริงจะเป็นผู้เล่นชุดแรกที่ลงสนาม 
ส่วนผู้เล่นตัวสารองมีไว้เพื่อสับเปลี่ยนกับผู้เล่นตัวจริงในกรณีที่ 
ผู้เล่นตัวจริงไม่สามารถเล่นได้หรือกรณีอื่นๆ 
ตามความเหมาะสมหรือตามแต่ดุลยพินิจของผู้จัดการทีม 
ผู้เล่นตัวจริงที่ลงสนามต้องมีไม่ต่ากว่า 7 คน และไม่เกิน11คน 
และหนึ่งในนั้นจะต้องมีผู้เล่นตาแหน่งผู้รักษาประตู 1 คน, 
ตัวสารองสามารถมีได้ไม่เกิน 7 คน ถ้าเป็นการแข่งทั่วไป 
หรือเชื่อมความสัมพันธ์ สามารถกาหนดจานวนตัวสารองได้ 
โดยต้องแจ้งให้กรรมการทราบก่อนการแข่งขันใช่ไม่พวกเรา 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กฎข้อที่ 4: อุปกรณ์การเล่น 
ลูกฟุตบอล (ตามกฎข้อ 2) ใช้สาหรับเล่น 1 ลูก และ 
เครื่องแบบของนักกีฬา ทีมทั้ง 2 ทีมที่ลงแข่งขัน 
สมาชิกทุกคนในทีมยกเว้นผู้รักษาประตูจะต้องใส่ชุดแข่งขันสีเดี 
ยวกัน และทั้ง 2 ทีมจะต้องใส่ชุดแข่งที่มีสีตัดกันอย่างชัดเจน 
จะใส่ชุดที่มีโทนสีคล้ายกันไม่ได้ (เช่น ทีมหนึ่งใสชุดแข่งสีขาว 
อีกทีมหนึ่งใส่ชุดแข่งสีเหลือง) 
ผู้รักษาประตูจะต้องใส่ชุดแข่งที่มีสีไม่ซ้ากับผู้เล่นทั้ง 2 ทีม 
และนักกีฬาที่ทาการแข่งขันจะต้องใส่รองเท้า 
(ในปัจจุบันไม่อนุญาตให้นักกีฬาใช้เท้าเปล่าเล่น) 
ที่กล่าวมาเป็นอุปกรณ์การเล่นที่ต้องมีในการแข่งขัน 
ยังมีอุปกรณ์อื่นๆ ที่กติกาไม่บังคับแต่ผู้เล่นมักจะนิยมใช้กัน คือ 
สนับแข้ง, ถุงมือและหมวกสาหรับผู้รักษาประตู
และยังมีอุปกรณ์ปลีกย่อยสาหรับผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพที่สามา 
รถอนุโลมให้ใส่ในเวลาลงเล่นได้ เช่น แว่นตา 
(สาหรับผู้ที่ได้รับการผ่าตัดทางตา), หน้ากาก, เฮดเกียร์ เป็นต้น 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กฎข้อที่ 5: กรรมการ 
โดยกรรมการจะมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ ปฏิบัติตามกติกาข้อ 
ควบคุมการแข่งขันโดยมีผู้ช่วยผู้ตัดสิน กรรมการผู้ตัดสินคนที่ 4 
คอยให้ความร่วมมือช่วยเหลือตามความเหมาะสม 
แน่ใจว่าลูกบอลทุกลูกทีใช้ในการแข่งขันถูกต้องตามข้อกา 
หนดของกติกาข้อ 2 
แน่ใจว่าอุปกรณ์ของผู้เล่นถูกต้องตามข้อกาหนดของกติกา 
ข้อ 4 
ทาหน้าที่รักษาเวลาการแข่งขัน 
และเขียนรายงานการแข่งขัน 
พิจารณาการสั่งหยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วคราว 
หรือยุติการแข่งขัน (Suspends or Terminate the Match) 
ทุกกรณีของการกระทาผิดกติกาการแข่งขัน 
พิจารณาการสั่งหยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วครา 
หรือยุติการแข่งขัน 
เนื่องจากมีสิ่งรบกวนจากภายนอกทุกชนิดทาการรบกวนการแข่ 
งขัน
สั่งหยุดการเล่นถ้าดุลยพินิจของเขาเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บหนักแล 
ะแน่ใจว่าเคลื่อนย้าออกจากสนามแข่งขันไปแล้ว 
ผู้เล่นที่บาดเจ็บนั้นจะกลับเข้าไปในสนามแข่งได้อีกเอภายหลังก 
ารเริ่มเล่นใหม่ได้ริมเล่นไปแล้ว. 
อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปจนกว่าลูกบอลจะอยู่นอกก 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
ารเล่นถ้าเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย 
แน่ใจว่าผู้เล่นที่มีเลือดไหลออกจากบาดแผลได้ออกจากสน 
ามแข่นขันแล้ว 
และผู้เล่นนั้นจะกลับไปเล่นใหม่ได้เมื่อได้รับสัญญาณจากผู้ตัดสิ 
น ซึ่งต้องพึงพอใจแล้วว่าเลือดที่ไหลออกมานั้นได้หยุดแล้ว 
อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปเมื่อทีมที่ถูกกระทาผิดจะเกิ 
ดประโยชน์จากการได้เปรียบ 
และถ้าการคาดคะเนในการให้ได้เปรียบนั้นไม่เป็นตามที่คาดไว้ 
ในขณะนั้น กาจะลงโทษตามความผิดที่เกิดขึ้นแต่แรกนั้น 
ลงโทษความผิดที่ร้ายแรงกว่าในกรณีที่ผู้เล่นทาผิดมากกว่ 
า 1 อย่าง ภายในเวลาเดียวกัน 
ควบคุมระเบียบวินัยโดยแสดงการต่อต้านต่อผู้เล่นที่กระทา 
ผิดต้องได้รับการคาดโทษ และการให้ออกจาการแข่งขัน 
เขาไม่ได้ถูกบังคับว่าต้องกระทาในทันทีทันใด 
แต่ต้องทาทันทีลูกบอลอยู่นอกการเล่นแล้ว 
ทาหน้าที่แสดงการต่อต้านเจ้าหน้าททีี่มที่ขาดความรับผิดช 
อบในการควบคุมการประพฤติปฏิบัติตนเองที่ดี
และเขาอาจพิจารณาให้อกจากสนามแข่งขันและบริเวณแวดล้อ 
มในทันมี 
ปฏิบัติตามการช่วยเหลือของผู้ช่วยผู้ตัดสินตามเหตุการณ์ 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
ที่ตนเองมองไม่เห็น 
แน่ใจว่าไม่มีบุคคลอื่น ๆ 
ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในสนามแข่งขัน 
ให้ทาการเริ่มเล่นได้หยุดลง 
เขียนรายงานการแข่งขันเสนอต่อผู้ที่มีอานาจหน้าที่ที่ได้แ 
ต่งตั้งไว้ 
ซึ่งรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการควบคุมระเบียบทุกอย่างที่กระทา 
ต่อผู้เล่นและ /หรือเจ้าหน้าที่ทีมและเหตุการณ์ณ์อื่น ๆ 
ทักกรณีที่เกิดขึ้นก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน 
หรือภายหลังการแข่งขัน 
กฎข้อที่ 6: ผู้ช่วยกรรมการ 
ผู้ช่วยผู้ตัดสินมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ตัดสินในการควบคุมการ 
แข่งขันให้เป็นไปตามกติกาการแข่งขัน 
และในกรณีพิเศษผู้ช่วยผู้ตัดสินอาจเข้าไปในสนามได้เพื่อช่วย 
ควบคุมระยะ 9.15 เมตร 
ถ้าผู้ช่วยผู้ตัดสินเข้าไปเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตัดสิ 
นเกินสมควร 
หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมผู้ตัดสินสามารถปลดเขาออกจากห 
น้าที่ 
และเขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งไว้
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กฎข้อที่ 7: ระยะเวลาการแข่งขัน 
ช่วงเวลาของการแข่งขัน (Periods of Play) 
การแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 ครึ่งเวลา ๆ ละ 45 นาทีเท่ากัน 
การรักษาเวลาเป็นหน้าที่ของผู้รักษาเวลา 
ซึ่งมีหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกติกาข้อ 7 
ระยะเวลาของการแข่งขันแต่ละครึ่งเวลา 
อาจจะมีการเพิ่มการเตะโทษ ณ จุดโทษ 
เวลานอก (Time-out) 
ทั้งสองทีมมีสิทธิ์ขอเวลานอกเป็นระยะเวลา 1 นาที 
ได้ในแต่ละครึ่งเวลา ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ 
1. ผู้ฝึกสอนเท่านั้นที่มีสิทธิ์ในการขอเวลานอก 1 นาที 
จากผู้รักษาเวลา 2. การขอเวลานอก 1 
สามารถร้องขอได้ตลอดเวลา แต่จะให้เวลานอก 
ก็ต่อเมื่อทีมได้เป็นฝ่ายครอบครองบอล (ส่งลูกบอลเข้าเล่น) 3. 
ผู้รักษาเวลาต้องแสดงการอนุญาตสาหรับการขอเวลานอกของที 
ม เมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่นโดยการใช้เสียงสัญญาณอื่น ๆ 
ที่แตกต่างจากเสียงสัญญาณนกหวีดของผู้ตัดสินที่ใช้อยู่ 4. 
เมื่ออนุญาตให้เป็นเวลานอก 
ผู้เล่นทุกคนต้องรวมกันอยู่ในสนามแข่งขัน 
ถ้าต้องได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ทีม 
จะกระทาได้เฉพาะที่เส้นข้างบริเวณด้านหน้าที่นั่งสารองของทีม 
ตนเอง ผู้เล่นทุกคนต้องไม่ออกไปนอกสนามแข่งขัน 
เช่นเดียวกันกับเจ้าหน้าที่ทีมที่ต้องให้คาแนะนาจะต้องไม่เข้าไป
ในสนามแข่งขัน 5. 
ถ้าทีมไม่ใช่สิทธิ์ในการขอเวลานอกในครึ่งเวลาแรก 
จะไม่สามารถนาไปทดแทนในครึ่งเวลาหลังได้ พักครึ่งเวลา 
(Half - time Interval) การพักครึ่งเวลาต้องไม่เกิน 15 นาที 
* ข้อตกลง (Decisions) 1. ถ้าไม่มีผู้รักษาเวลา 
ผู้ฝึกสอนต้องร้องขอเวลานอกได้จากผู้ตัดสิน 
2. ถ้าระเบียบการแข่งขันระบุให้มีการต่อเวลาพิเศษ 
ในกรณีที่การแข่งขันในเวลาปกติ 
ถ้าผลการแข่งขันจบลงด้วยการเสมอกัน 
การแข่งขันในระหว่างการต่อเวลาพิเศษของการแข่งขัน 
จะไม่มีการขอเวลานอก 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กฎข้อที่ 8: การเริ่มต้นการแข่งขัน 
1.เมื่อเริ่มเล่น 
ในการที่จะเลือกแดนหรือเลือกเตะเริ่มเล่นก่อน 
ให้ตัดสินโดยการเสี่ยง ด้วยการโยนหัว โยนก้อย 
ฝ่ายที่ชนะการเสี่ยงเป็นผู้มีสิทธิ์ในการเลือกแดนหรือเลือกเตะ 
2.เมื่อได้ประตู การเล่นต้องเริ่มต้นใหม่ ในทานองเดียวกัน 
โดยผู้เล่นคนหนึ่งของฝ่ายที่เสียประตู เป็นผู่มเล่น 
3.เมื่อหมดครึ่งเวลา 
การตั้งต้นเล่นใหม่หลังจากได้หยุดพักระหว่างครึ่งเวลาแล้ว 
ให้เปลี่ยนแดนและให้ผู้เล่นคนหนึ่งของชุดฝ่ายตรงข้ามที่มิได้เต 
ะเริ่มเล่นในตอนแรก เป็นผู้เตะเริ่มเล่น
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กฎข้อที่ 9: บอลออกนอกสนาม 
ลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นเมื่อ1.ลูกบอลได้ผ่านเส้นประตูหรื 
อเส้นข้างไม่ว่าจะเป็นบนพื้นดินหรือในอากาศออกไปทั้งลูก2.ผู้ 
ตัดสินสั่งหยุดการเล่นลูกบอลอยู่ในการเล่น (Ball In Play) 
ลูกบอลอยู่ในการเล่นตลอดเวลารวมทั้งในขณะที่1. 
กระดอนจากเสาประตู คานประตู หรือธงมุมสนาม 
และเข้ามาในสนามแข่งขันกติกาข้อ 10 การนับประตู 
กฎข้อที่ 10: วิธีนับคะแนน 
ถ้าลูกฟุตบอลลอยข้ามเส้นประตูเต็มใบ 
โดยการเล่นลูกที่ถูกกติกา (ได้แก่การใช้เท้าหรือศีรษะ) ถือว่าได้ 
1 คะแนน (ในภาษาฟุตบอลเรียกว่า 1 ประตู) อย่างไรก็ดี 
มักมีคนเข้าใจผิดว่าการได้คะแนน คือ 
การที่ลูกบอลสัมผัสกับตาข่ายหลังเส้นประตู ซึ่งจริงๆ 
แล้วาข่ายไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกติกาฟุตบอล 
มีไว้เพื่อรองรับลูกบอลที่เข้าประตูแล้วเท่านั้น 
กฎข้อที่ 11: การล้าหน้า 
1.ผู้เล่นจะอยู่ในตาแหน่งล้าหน้า 
ถ้าเขาอยู่ใกล้เส้นประตูของคู่ต่อสู้กว่าลูกบอล 
2.ผู้เล่นจะถูกตัดสินให้เป็นเล่นล้าหน้าและจะถูกลงโทษ 
ถ้าผู้ตัดสินพิจารณาเห็นว่าขณะที่ลูกโดนหรือลูกเล่นโดยผู้เล่นฝ่ 
ายเดียวกัน
3.ผู้เล่นจะยังไม่ถูกตัดสินว่าล้าหน้า ถ้า 
1.เขาเพียงแต่อยู่ในตาแหน่งล้าหน้าเท่านั้น หรือ 
2.เขาได้รับลูกโดยตรงจาการเตะจากประตู การทุ่มจากเส้นข้าง 
การเตะจากมุม หรือ การปล่อยลูกจากมือโดยผู้ตัดสิน 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
4.ถ้าผู้เล่นถูกตัดสินให้เป็นเล่นล้าหน้า 
ผู้ตัดสินจะให้คู่ต่อสู้ได้เตะโทษโดยอ้อม ณ 
ที่ซึ่งการละเมิดกติกาได้เกิดขึ้น 
กฎข้อที่ 12: ฟาวล์ 
ผู้เล่นคนใดเจตนากระทาผิดข้อหนึ่งข้อใดใน 9 ข้อ 
ดังต่อไปนี้ 
1.แตะ หรือ พยายามจะเตะคู่ต่อสู้ 
2.ขัดขาคู่ต่อสู้ 
คือทาหรือพยายามจะทาให้คู่ต่อสู้ล้มลงด้วยการใช้ขา 
หรือด้วยการหมอบลงข้างหน้าหรือข้างหลัง 
3.กระโดดเข้าหาคู่ต่อสู้ 
4.ชนคู่ต่อสู้อย่างรุนแรง 
5.ชนคู่ต่อสู้ข้างหลัง นอกจากคู่ต่อสู้นั้นเจตนากีดกัน 
6.ทาร้าย หรือพยายามจะทาร้ายคู่ต่อสู้ 
หรือถ่มน้าลายรดคู่ต่อสู้ 
7.ฉุด ดึง คู่ต่อสู้ 8.ผลัก ดัน คู่ต่อสู้ 9.เล่นด้วยมือ คือ ทุบ 
ต่อย ปัด เตะลูกด้วยมือ หรือแขน
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กฎข้อที่ 13: ฟรีคิก 
ข้อบกพร่องและความผิดพลาดจะถูกลงโทษเตะโทษโดยตร 
ง 
เตะโทษโดยตรงจะได้รับรางวัลทีมตรงข้ามถ้าผู้เล่นกระทา 
การใด ๆ ต่อไปนี้หกกติกาตัดสิน 
พิจารณาการใช้ประมาทอันตรายหรือมากเกินไปของแรง: 
- ให้หรือพยายามที่จะเตะฝ่ายตรงข้าม; 
- 
ให้หรือพยายามที่จะให้คลานวางเท้าของเขาในด้านหน้าของฝ่ 
ายตรงข้าม; 
- กระโดดเมื่อฝ่ายตรงข้าม; 
- ล็อคฝ่ายตรงข้าม; 
- ตายหรือความพยายามที่จะโจมตีฝ่ายตรงข้าม; 
- Pushes 
ฝ่ายตรงข้ามจะได้รับเตะโทษโดยตรงไปยังทีมตรงข้ามถ้าผู้เล่น 
กระทาใด ๆ ของสี่ต่อไปนี้ความผิด: 
- 
ในการแข่งขันสาหรับลูกเตะให้กับฝ่ายตรงข้ามก่อนที่จะสัมผัสลู 
กบอล;
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
- โฮลดิ้งของฝ่ายตรงข้าม; 
- แชะที่ฝ่ายตรงข้าม; 
- สัมผัสลูกบอลด้วยมือของพวกเขาจงใจ 
(ยกเว้นผู้รักษาประตูภายในเขตโทษของตัวเอง) 
เตะโทษโดยตรงจะได้รับการปล่อยตัวออกมาจากสถานที่ที่การล 
ะเมิดเกิดขึ้น 
กฎข้อที่ 14: ลูกโทษ 
ลูกโทษ เป็นการตั้งเตะทาคะแนนในการแข่งขันฟุตบอล 
โดยลูกฟุตบอลจะอยู่ในตาแหน่งหน้าประตูห่างมาเป็นระยะ 12 
หลา (ประมาณ 11 เมตร) 
โดยมีผู้รักษาประตูคนเดียวเท่านั้นที่อยู่ในตาแหน่งที่ป้องกันได้ 
ในการแข่งขันฟุตบอลจะมีการยิงลูกโทษสองลักษณะคือ 
ลักษณะแรกการยิงลูกโทษระหว่างการแข่งขัน 
เกิดจากที่ผู้เล่นในฝ่ายรับทาฟาล์วผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามภายในเขต 
ประตู 
โดยผู้ที่ยิงลูกโทษจะมีสิทธิยิงได้หนึ่งครั้งโดยเมื่อยิงเสร็จแล้วจะ 
ปล่อยให้เกมเล่นต่อตามปกติ 
ลักษณะที่สองคือการยิงลูกโทษภายหลังจากหมดเวลาการ 
แข่งขัน และทั้งสองฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน 
จะทาการยิงลูกโทษในการตัดสินผู้ชนะ
โดยการยิงลูกโทษลักษณะนี้จะ เริ่มต้นโดยผู้ยิงฝ่ายละ 5 คน 
สลับกันยิงลูกโทษ 
โดยถ้าไม่สามารถตัดสินกันได้ให้มีการยิงต่อไปเรื่อยๆ 
จนกว่าจะได้ผู้ชนะ 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กฎข้อที่ 15: การทุ่ม 
การทุ่ม ขณะแข่งขันลูกฟุตบอลได้ออกเส้นข้างไปทั้งลูก 
ไม่ว่าจะกลิ้งไปบนพื้นสนามหรือลอยไปบนอากาศก็ตาม 
ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามเป็นฝ่ายได้ทุ่ม 
-เท้าทั้งสองข้างต้องติดพื้นตลอดเวลาการทุ่ม 
- ต้องทุ่มด้วยมือทั้งสอง ลูกบอลออกจากด้านหลังศีรษะ 
แขนทั้งสอง " ต้องผ่านศีรษะไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง " 
- 
ด้านหน้าของร่างกายหันหน้าเข้าหาสนามด้านไหนให้ทุ่มไปทา 
งนั้น 
- ย่อทุ่มได้ แต่ห้ามนั่งทุ่ม 
- บอลออกเส้นข้าง ณ จุดใด ให้ทุ่ม ณ จุดนั้น 
- ณ จุดที่มือปล่อยบอล เท้าหรือตัวของผู้ทุ่ม 
ห้ามห่างจากเส้นข้างเกิน หนึ่งเมตร 
- ฝ่ายรับต้องยืนห่างจากผู้ทุ่ม ในสนามแข่งขัน อย่างน้อย ๒ 
เมตร 
- ทุ่มทีเดียว โดยไม่สัมผัสผู้เล่นฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง 
ไม่ถือว่าเป็นประตู 
- รับบอลจากการทุ่ม ไม่มีการล้าหน้า
- ทุ่มบอลคืนให้ผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตูใช้มือรับ 
ให้เตะลูกโทษโดยอ้อม ณ จุดเกิดเหตุ ทันที 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
กฎข้อที่ 16: โกลคิก 
กฎข้อที่ 17: การเตะมุม 
เมื่อลูกทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูออกไปนอกสนาม 
นอกจากจะผ่านไปในระหว่างเสาประตูไม่ว่าจะกลิ้งไปบนพื้นสน 
ามหรือลอยไปในอากาศก็ตาม 
โดยฝ่ายรับเป็นผู้ถูกลูกนั้นเป็นครั้งสุดท้าย 
ให้ฝ่ายรุกนาลูกไปวางเตะภายในเขตมุม ณ 
ธงมุมใกล้กับที่ลูกได้ออกไปและต้องไม่ทาให้คันธงเคลื่อนที่ 
ในการเตะจากมุมนี้ 
ถ้าเตะทีเดียวลูกตรงเข้าประตูให้นับว่าได้ประตู 
ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับผู้เตะจากมุมนั้นจะเข้ามาอยู่ใกล้ลูกในขณ 
ะที่ผู้เตะกาลังจะเตะลูกน้อยกว่า 10 หลา 
ไม่ได้เว้นเสียแต่ผู้เตะจะได้เตะให้ลูกไปได้ไกลอย่างน้อยเท่ากับ 
ระยะรอบวงของลูกจึงจะเล่นต่อไปได้ 
จะเล่นลูกนั้นซ้าอีกไม่ได้จนกว่าลูกนั้นจะได้ถูกหรือเล่นโดยผู้เล่ 
นคนใดคนหนึ่งเสียก่อน
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
หลักการเล่นฟุตบอล 
แนวคิด 
การเล่นกีฬาฟุตบอลให้เกิดประสิทธิภาพ 
ผู้เล่นต้องเรียนรู้จนเกิดทักษะพื้นฐานหลายด้านอาทิ 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น การทาความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล 
การหยุดหรือบังคับลูก ทักษะเหล่านี้มี ความละเอียดอ่อน 
และเป็นพื้นฐานสาหรับเทคนิคการเล่นอื่น ๆ ต่อไป 
ซึ่งต้องอาศัยการฝึกฝนจนชานาญ 
และเป็นทักษะที่ต้องการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 
ทรงตัว 
การทรงตัวเป็นพื้นฐานเบื้องต้นที่มีความสาคัญในการฝึกกี 
ฬาทุกชนิด เพื่อการเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว 
สามารถทาให้การเล่นกีฬาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 
สนุกสนานเร้าใจท่าทางการทรงตัว 
ที่ผู้เล่นฟุตบอลควรฝึกหัดมีดังนี้ 
1.ทาการทรงตัวและจังหวะการใช้เท้าทั้งบนพื้นดินและในอากา 
ศ
2.การถ่ายน้าหนักตัวไปสู่เท้าหลักเมื่อมีการครอบครองลูกเตะลูก 
หรือเลี้ยงลูกฟุตบอล 
3.การวิ่งตามแบบของฟุตบอล เช่น วิ่งไปที่มุมสนาม 
วิ่งหาช่องว่าง วิ่งตัดกันเพื่อหลอกคู่ต่อสู้ 
4.การวิ่งซิกแซ็กเพื่อการหลบหลีกเมื่อเลี้ยงหรือครอบครองลูก 
(จังหวะการทรงตัวในการเลี้ยงบอลและหลบหลีกคู่ต่อสู้) 
การเคลอื่นทไี่ปขา้งหน้า ถอยหลัง ไปทางซ้าย ไปทางขวา 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
มีวิธีการฝึกดังนี้ 
1.ทิ้งน้าหนักตัวไปสู่ทิศทางที่จะเคลื่อนที่ไปตาจับอยู่ที่ลูกบอล 
2. เคลื่อนเท้าที่อยู่ในทิศทางที่จะเคลื่อนไป นาไปก่อน 
แล้วจึงเคลื่อนเท้าอีกข้างหนึ่งตามไปโดยเร็ว 
เช่นไปทางซ้ายให้ก้าวเท้าซ้ายนาไปก่อนแล้วก้าวเท้าขวาตามไ 
ป 
3. การใช้ปลายเท้าสัมผัสพื้น ช่วยให้การเคลื่อนไหวรวดเร็วขึ้น 
การสร้างความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล 
พื้นฐานของการเล่นฟุตบอลที่สาคัญอย่างหนึ่งก็คือการสร้า 
งความสัมพันธ์หรือความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอลเป็นอย่างดีกล่าวคื 
อ
การเล่นลูกฟุตบอลต้องสามารถทาได้อย่างที่ตั้งใจไว้ทุกประการ 
ไม่ว่าจะเป็นการเล่นลูกแบบใดก็ตาม 
การที่ผู้เล่นคุ้นเคยกับลูกฟุตบอลจะส่งผลให้การครอบครองบอล 
การเคลื่อนที่ในลักษณะต่างๆการควบคุมบังคับทิศทางของลูกฟุ 
ตบอลเป็นไปด้วยความแม่นยา 
ดังนั้นจึงควรให้ผู้เล่นฝึกความคุ้นเคยให้ชินกับลูกฟุตบอลมากที่ 
สุด 
วิธีการสร้างความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล 
1. วางเท้าบนลูกฟุตบอลแล้วคลึงด้วยฝ่าเท้าไปมาหน้า - หลัง 
ซ้าย - ขวา โดยให้อยู่กับที่ ให้ทาทั้งเท้าซ้าย-ขวา 
2.ทาเหมือนข้อที่1แต่ให้เคลื่อนที่ไปตามทิศทางต่างๆด้วย 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
3.ใช้ฝ่าเท้าตบลูกฟุตบอลให้กระดอนขึ้น- 
ลงโดยใช้เท้าซ้ายหรือขวาสลับกัน 
4.วางเท้าด้านในติดกับข้างลูกฟุตบอล 
ใช้ข้างเท้าด้านในปาดเหนือลูกมาอีกด้านหนึ่งของลูก 
ตอนนี้ลูกฟุตบอลจะอยู่ข้างเท้าด้านนอก 
แล้วใช้เท้าด้านนอกปาดลูกกลับไปอีกด้านตามเดิม 
แล้วให้ฝึกสลับเท้าด้วย 
5.งัดลูกฟุตบอลด้วยปลายเท้าให้ลูกลอยขึ้นในอากาศหยุดลูกด้ว 
ยหลังเท้าหรือฝ่าเท้า 
6.งัดลูกฟุตบอลด้วยปลายเท้าให้ลูกลอยขึ้นในอากาศ 
แล้วเดาะลูกด้วยเท้า เข่า หน้าอก ศีรษะ สลับกัน
7. ทาเหมือนข้อ 6 แต่เคลื่อนที่เป็นระยะทางไกล 
โดยลูกฟุตบอลไม่ตกถึงพื้น 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
การหยุดหรือบังคับลูกฟุตบอล 
การหยุดลูก 
ได้ดีนั้นทาให้สามารถที่จะบังคับและควบคุมลูกฟุตบอลให้เคลื่อ 
นที่ไปในลักษณะใดก็ได้ตามต้องการ เช่น การเลี้ยง การส่งลูก 
การยิงประตู ทาให้ทีมเป็นฝ่ายรุก เพื่อโจมตีฝ่ายตรงข้าม 
เราสามารถหยุดลูกฟุตบอลด้วยส่วนใดของร่างกายก็ได้ 
ยกเว้นแขนและมือทั้งสองข้างคาจากัดความ 
การหยุดลูก หมายถึง การบังคับลูกที่มาในลักษณะต่าง ๆ 
ทั้งบนพื้นดินและในอากาศให้อยู่ในครอบครองของเรา 
เพื่อจะได้ส่งลูกต่อไปตามความต้องการ 
หลักในการหยุดลูกมีอยู่ 3 ประการ คือ 
1. จะใช้ส่วนใดของร่างกายในการหยุดลูก 
2. การเคลื่อนตัวเข้าสู่ตาแหน่ง 
เพื่อหยุดลูกที่ลอยมาหรือกลิ้งมากับพื้น 
3. ใช้เทคนิคการผ่อนของร่างกาย เพื่อลดแรงปะทะของลูก 
การหยุดลูกด้วยฝ่าเท้า ให้พยายามหยุดลูกฟุตบอลเบา ๆ 
การใช้ฝ่าเท้าหยุดลูก ให้หยุดลูกที่ส่งเรียดมากับพื้น 
โดยเปิดปลายเท้าขึ้นปะทะลูกไว้ในครอบครองและให้ฝ่าเท้าสัม
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
ผัสส่วนบนของลูกพร้อมที่จะเคลื่อนที่ต่อไป 
การหยุดลูกด้วยข้างเท้าด้านใน วิธีนี้สามารถใช้หยุดลูกที่ส่งเรีย 
ดหรือต่า 
1.ใช้ในการควบคุมลูกฟุตบอลให้ตกลงสู่พื้นอย่างประณีตในข 
ณะที่เคลื่อนไปข้างหน้า 
2.วางมุมเท้าเพื่อหยุดลูก 
โดยการบิดลาตัวทางด้านข้างตามแนวที่ลูกลอยมาใช้ข้างเท้าด้า 
นในสัมผัสตรงกลางลูกเพื่อผ่อนแรงปะทะ 
3.การหยุดลูกใช้องค์ประกอบ3อย่างคือข้างเท้าด้านในข้อเท้าแ 
ละพื้นสนาม 
4.คาดคะเนจังหวะลูกฟุตบอลกระทบกับเท้าและพื้นดินพร้อม ๆ 
กัน เพื่อการหยุดลูกไว้อย่างมั่นคง 
การหยุดลูกด้วยหลังเท้า วิธีนี้ใช้หยุดลูกฟุตบอลที่ลอยมา 
ให้งอเข่าและยกเท้าขึ้น เพื่อรับลูกที่กาลังจะตกพื้น 
ให้ลดขาและเท้าเพื่อผ่อนแรงปะทะ ตาจ้องมองดูลูก 
ใช้ขาข้างใดข้างหนึ่งเป็นหลักและทรงตัวให้มั่นคง 
การหยุดลูกด้วยหน้าขา 
ใช้ในกรณีที่ลูกลอยมาสูงกว่าระดับเอว 
ใช้หน้าขาหยุดลูกไว้โดยให้งอเข่ารับผ่อนแรง 
โดยลดต้นขาลงแล้วปล่อยลูกตกลงพื้นอยู่กับเท้าเพื่อครอบครอง 
บอล
โดยใช้แขนทั้งสองข้างและขาที่ยืนเป็นหลักช่วยในการทรงตัว 
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
การหยุดลูกด้วยหน้าอก 
วิธีนี้ใช้รับลูกที่ลอยมา ให้แยกแขนทั้งสองออก 
ยืดอกรับลูกแล้วปล่อยลูกลงพื้นอยู่กับเท้า 
โดยการยืนแยกขาออกเล็กน้อย เพื่อการทรงตัว 
ขณะที่ลูกปะทะกับหน้าอก ให้ย่อตัวและไหล่ทั้งสองข้าง 
เพื่อลดแรงปะทะ 
การหยุดลูกด้วยศีรษะ 
ในกรณีที่ลูกฟุตบอลลอยมาสูงเกินกว่าที่จะรับด้วยหน้าอกให้ใช้ 
น้าผากรับแทนโดยยื่นศีรษะออกไปเพื่อรับลูกเมื่อรับแล้วให้ดึงศี 
รษะกลับแล้วปล่อยให้ลูกลงพื้นอยู่กับเท้า
นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 
บรรณานุกรม 
http://www.fifa.com/worldfootball/lawsofthe 
game.html

Contenu connexe

Tendances

ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
supaporn2516mw
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
Aomiko Wipaporn
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
pink2543
 

Tendances (20)

โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
โครงงานประวัติของฟุตบอล
โครงงานประวัติของฟุตบอลโครงงานประวัติของฟุตบอล
โครงงานประวัติของฟุตบอล
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
อิเหนาและโวหาร
อิเหนาและโวหารอิเหนาและโวหาร
อิเหนาและโวหาร
 
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำโครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ และการสื่อสารด้วยข้อมูล
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 

ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอล

  • 1. ประวัติ กติกาและหลักการเล่นฟุตบอล นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร จัดทาโดย นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 เลขที่ 34 เสนอ อาจารย์ศศินันท์ ละวิสิทธิ์
  • 2. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2/2557 ประวัติความเป็นมาของกีฬาฟุตบอล ฟุตบอล (Football) หรือ ซอกเกอร์ (Soccer) เป็นกีฬาที่มีคนสนใจในการเล่น และเข้าชมสูงที่สุดของโลก แต่ไม่สามารถยืนยันได้ว่า กีฬาฟุตบอลถือกาเนิดมาจากชนชาติใด โดยเฉพาะเป็นกีฬายอดนิยมสูงสุดของโลก ก็ยิ่งทาให้ทุกๆ ประเทศมีวิวัฒนาการทางการกีฬา ยืนยันว่าเป็นกีฬาที่เกิดจากประเทศของตนทั้งสิ้น แต่ประเทศที่อ้างว่าเป็นกีฬาที่เกิดขึ้นจากตนเอง ก็ไม่สามารถหาหลักฐาน ยืนยัน จึงเพียงแต่กล่าวว่า น่าจะเป็นไปได้ทั้งสิ้น ทั้งนี้ จะเป็นจริงหรือไม่อย่างใดนั้น สามารถวิเคราะห์ได้ว่าเกิดจากที่ใด สรุปได้ดังนี้คือ เมื่อประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว มีหลักฐานบันทึกไว้ว่า ในประเทศจีนมีการเล่นเกมอย่างหนึ่ง เรียกว่า ซูจู (Tsu Chu) ซึ่งหมายถึง เกมที่ใช้เท้าเตะลูกบอล โดยมากการเล่นเกมนี้ จะเป็นการเล่นถวายพระเจ้าจักรพรรดิ ผู้ชนะจะได้รางวัลอย่างงาม ส่วนผู้แพ้บางครั้งจะถูกลงโทษด้วยการเฆี่ยน ชาวญี่ปุ่นก็เป็นอีกชาติหนึ่งที่มีเกมการเล่นในลักษณะที่ใช้เท้าเล่
  • 3. น เรียกว่า เกมาริ (Kemari) โดยมีการกาหนดขอบเขต และมุมของสนามด้วยต้นสน ต้นเชอรี่ ต้นเมเปิล หรือต้นวิลโล เป็นแนวเขตธรรมชาติ ชาวโรมันในสมัยโบราณมีเกมการเล่นชนิดหนึ่งเรียกว่าฮาร์พาส เตียม (Harpastium) โดยใช้กระเพาะปัสสาวะของหมูเอามาสูบลมแล้วนามาเตะกัน นอกจากจะเตะแล้วอาจใช้การผลัก ถือ วิ่ง ชก ขว้างปา ให้ลูกบอลไปถึงที่หมายของฝ่ายตรงข้ามให้ได้ ซึ่งคล้ายกับกีฬารักบี้ฟุตบอล ในสมัยปัจจุบัน ในเมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี มีเกมคล้าย ๆ กันนี้ เรียกว่า กัลโช (Calcio) โดยเล่นกันที่เปียซซ่า เดลลา โครเก (Piazza della Croce) มีผู้เล่นข้างละ 27 คน แต่ละทีมจะสวมชุดเครื่องแต่งกายประจาถิ่นหรือหมู่บ้านนั้น ๆ ตามความนิยมในสมัยนั้น ปัจจุบันเกมนี้ยังคงได้รับการฟื้นฟูจากทางการของอิตาลีจัดแสด งให้นักท่องเที่ยวได้ชมกัน เชื่อกันว่าชาวโรมันเป็นผู้นาเกมการเล่นแบบเตะลูกบอล(Harpa stium) มายังประเทศอังกฤษ แต่ก็ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด จนกระทั่งหลายศตวรรษ หลังจากโรมันได้จากเกาะอังกฤษไปแล้ว ในประมาณปี พ.ศ.1343 กองทัพเดนมาร์ค ได้ยกเข้าโจมตีที่มั่นของอังกฤษที่เมืองคิงสตัน (Kingston) นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
  • 4. นักประวัติศาสตร์บางท่านบอกว่าเป็นที่มั่นเมืองเชสเตอร์ (Chester) ทหารอังกฤษที่ประจาอยู่ที่มั่นดังกล่าว ได้ต่อสู้เป็นสามารถ ในที่สุดเมื่อได้รับการสนับสนุนจากเมืองหลวง คือ ลอนดอน (London) ก็สามารถตีกองทัพเดนมาร์คแตกพ่ายไป แม่ทัพเดนมาร์คถูกฆ่าตาย และทหารอังกฤษได้ตัดเอาศีรษะของเขามาเตะเล่นกันไปรอบ ๆ ค่ายทหาร วันที่อังกฤษได้รับชัยชนะนั้น คือ วันมาดิกราส์ (Shrove Tuesday) ซึ่งต่อมาถือเป็นวันสาคัญแห่งชาติอังกฤษไป เกมการเตะศีรษะคนก็เปลี่ยนมาเป็นเกมการเตะลูกบอลที่ทาด้วย หนัง กลายเป็นกิจกรรมสาคัญสาหรับฉลองในเทศกาลวันสาคัญดังกล่ าว และแพร่หลายไปตามชนบท คนทั้งหมู่บ้านออกมาเตะฟุตบอลเล่นกัน ผู้เล่นสามารถใช้ทุกส่วนสัมผัสลูกบอลได้ ประตูซึ่งอาจจะเป็นประตูเมือง หรือต้นไม้ จะอยู่ห่างกันหลายร้อยเมตร เป็นการเล่นที่รุนแรง (ถูกนามาใช้) ทาให้เกิดความเสียหายและบาดเจ็บต่อผู้เล่นเป็นจานวนมาก จนบางครั้งดูเป็นความโหดร้ายป่าเถื่อน จนถึงขึ้นการจลาจลบ่อย ๆ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และพระเจ้า ริชาร์ดที่ 3 จึงได้ทรงห้ามไม่ให้มีการเล่นเกมฟุตบอลที่โหดร้ายนี้อีกต่อไป แต่ก็ยังมีการเล่นอยู่ประปราย นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
  • 5. ความรุนแรงของการเล่นฟุตบอลค่อย ๆ ลดลง จนกระทั่งปี พ.ศ.2243 โรงเรียนที่มีชื่อเสียงในอังกฤษ เช่น โรงเรียนรักบี้ (Rugby) และโรงเรียนอีตัน (Eton) ก็นาเกมฟุตบอลมาฟื้นฟู มีการพยายามกาหนดกฎ กติกาการเล่น แต่ก็ยังไม่เป็นมาตรฐาน เพราะแต่ละแห่งจะสร้างกติกา เพื่อประโยชน์ของทีมตนเองทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขกฎกติกาการเล่นของแต่ละแห่ง ทาให้นักกีฬาใหม่ขึ้นมาอยู่ 2 ลักษณะ คือ ไปในแนวทางรักบี้ฟุตบอล (Rugby Football) และฟุตบอล (Soccer or Association Football) ปี พ.ศ.2343 กีฬาฟุตบอลได้รับการพัฒนาให้มีการเล่นที่สุภาพมากขึ้น มีความปลอดภัยมากขึ้น มีการรวมกลุ่มกันจัดตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งอังกฤษขึ้นเป็นครั้งแร ก ในปี พ.ศ.2406 โดยการรวมกลุ่มของสโมสรฟุตบอลในลอนดอน 11 แห่ง เพื่อร่วมกันปรับปรุง แก้ไข กฎ กติกา การเล่นให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันอันถือว่าเป็นการเริ่มต้นกา รเล่นกีฬาฟุตบอลในรูปแบบปัจจุบัน การเล่นฟุตบอลในประเทศอังกฤษได้แพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยการเผยแพร่ของทหารบกและทหารเรือของอังกฤษ ซึ่งขณะนี้มีประเทศที่เป็นอาณานิคมอยู่แทบทุกหนทุกแห่ง นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
  • 6. จึงได้มีการก่อตั้งสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (The Federation International de Football Association) หรือเรียกว่า ฟีฟ่า (F.I.F.A.) โดยมีสานักงานใหญ่ ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีประเทศสมาชิกก่อตั้ง 7 ประเทศ ปัจจุบันนี้มีประเทศต่าง ๆ สมัครเป็นสมาชิกเกือบ 200 ประเทศ ปัจจุบันฟุตบอลถือได้ว่าเป็นกีฬายอดนิยมอันดับหนึ่ง มีการจัดการแข่งขันรายการต่าง ๆ มากมาย ทั้งระดับภายในประเทศ ระดับนานาชาติ และ ระดับโลก การแข่งขันที่ถือว่าเป็นสุดยอดของรายการแข่งขันฟุตบอล ได้แก่ การแข่งขันฟุตบอลโลก (World Cup) ซึ่งจะมีการแข่งขันทุกๆ 4 ปีต่อครั้ง โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่ประเทศอุรุกวัย เมื่อปี พ.ศ. 2473 และอุรุกวัยเป็นประเทศแรกที่ชนะเลิศฟุตบอลโลก ได้ครองถ้วย จูล ริเมต์ (Jules Rimet) ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มให้มีการแข่งขันฟุตบอลโลกขึ้น และประกอบกับท่านเป็นประธานสหพันธ์ฟุตบอลโลก หรือ F.I.F.A. ในขณะนั้นด้วย ต่อมาถ้วยใบนี้ได้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของประเทศบราซิล เมื่อบราซิลเป็นประเทศแรกที่ชนะเลิศฟุตบอลโลกครบ 3 ครั้ง เมื่อปี พ.ศ.2513 ที่ประเทศเม็กซิโก เป็นเจ้าภาพ F.I.F.A. จึงได้จัดทาถ้วยใบใหม่เพื่อจัดการแข่งขันต่อไป ซึ่งทวีปเอเชียได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2545 ณ ประเทศญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ และ ปี พ.ศ. 2549 ประเทศเยอรมัน ได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพการแข่งขัน มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันรอบสุดท้าย 32 ทีม จากทุกทวีป นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
  • 7. นอกจากการแข่งขันฟุตบอลโลกแล้ว ยังมีการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติที่น่าสนใจ และมีชื่อเสียงหลายรายการ ดังนี้ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติของทวีปยุโรป แข่งขันทุก ๆ 4 ปีต่อครั้ง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติของทวีปอเมริกาใต้ นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร ฟุตบอลเยาวชน อายุไม่เกิน 19 ปี ฟุตบอลโอลิมปิกฤดูร้อน ฯลฯ ประเทศที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับฟุตบอล มักจะอยู่แถบทวีปยุโรปและอเมริกาใต้ แต่ละประเทศจะจัดดาเนินการแข่งขันรายการฟุตบอลภายในปร ะเทศเป็นระบบอาชีพ (Professional Football) โดยจัดตั้งเป็นสโมสร (Club) มีสมาชิก (Fan-Club) ให้การสนับสนุนและคอยให้กาลังใจผู้เล่นของสโมสรที่ไปทากา รแข่งขันสโมสรฟุตบอลที่มีชื่อเสียงในทวีปยุโรป มีหลายสโมสรที่น่าสนใจ ดังนี้ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ลิเวอร์พูล อาร์เซนัล นิวคาสเซิล จากประเทศอังกฤษ เอ.ซี มิลาน จูเวนตุส อินเตอร์มิลาน จากประเทศอิตาลี บาเยิร์น มิวนิค เอฟซี โคโลญ ซอลเก้ 04 จากประเทศเยอรมัน บาร์เซโลน่า เรียล แมดริด คอรุนยา จากประเทศสเปน อาแจกซ์ อัมสเตอร์ดัม พีเอสวี ไฮนโอเพ่น จากประเทศฮอลแลนด์
  • 8. เอฟซี ปอร์โต เบนฟิก้า จากประเทศโปรตุเกส การจัดการแข่งขันฟุตบอลภายในประเทศที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก กันดี มีดังนี้ ฟุตบอล กัลโช ซีรีส์ เอ (Calcio Series A) ของ อิตาลี ฟุตบอล พรีเมียร์ลีก (Primier League) ของ อังกฤษ ฟุตบอล บุนเดสลิกา (Bundesliga) ของ เยอรมัน สโมสรในทวีปต่าง ๆ ยังมีการนาเอาแชมป์ของสโมสรในประเทศมาแข่งขันกันเพื่อชิง ความเป็นหนึ่งของสโมสรในแต่ละทวีปด้วย ในทวีปยุโรปจัดการ แข่งขัน ดังนี้ ฟุตบอลสโมสรชิงแชมป์ยุโรป (European Champion Clubs Cup) เป็นการเอาแชมป์สโมสรดิวิชั่น 1 ของประเทศมาแข่งขันกัน ฟุตบอลยูฟ่าคัพ (U.E.F.A. Cup) เป็นการนาเอาแชมป์ฟุตบอลลีกคัพ ของแต่ละประเทศ และอัน 1, 2 หรือ 3 ของฟุตบอลดิวิชั่น 1 ของแต่ละประเทศมาแข่งขันกัน ฟุตบอลคัพ วินเนอรส์ คัพ (Cup-Winners-Cup) เป็นการนาเอาแชมป์ฟุตบอล เอฟ.เอ.คัพ ของแต่ละประเทศมาแข่งขันกัน นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร
  • 9. สาหรับฟุตบอลในทวีปเอเชีย มีรายการฟุตบอลอาชีพภายในประเทศที่น่าสนใจ ได้แก่ ฟุตบอล เจ.ลีก ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งรวบรวมเอานักเตะที่มีชื่อเสียงของโลก ร่วมกับนักเตะที่เด่น ๆ ของญี่ปุ่นเองมาทาการแข่งขันเป็นรายการฟุตบอลอาชีพ นอกจากนี้ ก็มีรายการฟุตบอลในประเทศเกาหลีใต้ และจีน ด้วย ในสหรัฐอเมริกา หลังจากล้มเหลว ในการจัดตั้งสโมสรและจัดการ แข่งขันฟุตบอลลีก เมื่อปี พ.ศ.2513 ต่อมาเมื่อสหรัฐเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก (World Cup) ในปี พ.ศ.2537 ก็ได้มีการรื้อฟื้นการแข่งขันฟุตบอลลีกขึ้นใหม่ ภายใต้ชื่อว่า เมเจอร์ ลีก (Major Leaque) เริ่มทาการแข่งขันในปี พ.ศ.2539 นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กติกาการเล่นฟุตบอล กติกาการเล่นฟุตบอล (อังกฤษ: The Laws of the Game)[1] เป็นกฎและกติกาฟุตบอลสากลทกี่าหนดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลต่า งประเทศ ในปัจจุบันมีทั้งหมด 17 ข้อ ดูแลโดยหน่วยงานไอเอฟเอบี กฎข้อที่ 1: สนามฟุตบอล
  • 10. นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร สนามฟุตบอบ สนาม เป็นสนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความกว้างต่าสุด 50 หลา สูงสุด 100 หลา ความยาวต่าสุด 100 หลา สูงสุด 130 หลา เครื่องหมายในสนาม เกิดจากเส้นต่าง ๆ โดยในแต่ละเส้นจะมีความกว้างไม่เกิน 5 นิ้ว ทาเป็นสัญลักษณ์ในสนาม ได้แก่ เส้นเขตสนาม อยู่รอบเขตสนาม ส่วนที่สั้นเรียก เส้นประตู ส่วนที่ยาวเรียก เส้นข้าง เส้นแบ่งเขตแดน แบ่งสนามตามขวางเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน จุดกึ่งกลางสนาม อยู่กึ่งกลางเส้นแบ่งเขตแดน มีวงกลมรัศมี 10 หลาล้อมรอบจุดไว้ เส้นประตู เชื่อมระหว่างโคนเสาประตูทั้ง 2 ฝั่ง
  • 11. เขตประตู คือพื้นที่ที่เกิดจากการลากเส้นจากเสาประตูทั้ง 2 ฝั่งตั้งฉากกับเส้นประตู เข้าหาสนามยาว 6 หลา แล้วเชื่อมด้วยเส้นตรง เขตโทษ คือพื้นที่ที่เกิดจากการลากเส้นจากเสาประตูทั้ง 2 ฝั่งขนานกับเส้นประตู ออกจากประตูยาว 16.5 เมตร แล้วลากเส้นตั้งฉากกับเส้นประตู เข้าหาสนามยาว 16.5 เมตร แล้วเชื่อมด้วยเส้นตรง จุดโทษ อยู่ในเขตโทษ ห่างจากเสาประตู 12 หลา มีการเขียนส่วนโค้งนอกเขตโทษ รัศมีห่างจากจุดโทษ 10 หลา ประตู มีสีขาว ระยะห่างระหว่างเสาประตู 8 หลา นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร คานสูงจากพื้น 8 ฟุต มีการติดตาข่ายรองรับลูก มุมธง อยู่ทั้ง 4 มุมของสนาม รัศมี 1 หลา เสาธง เป็นจุดศูนย์กลางของมุมธง ไว้แสดงเขตในการเตะมุม สูงไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร ยอดไม่แหลม ผูกธงไว้ที่ยอด กฎข้อที่ 2: ลูกฟุตบอล เป็นทรงกลม ทาจากหนัง หรือวัสดุอื่นๆ ตามความเหมาะสมที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้เล่น เป็นฟุตบอลเบอร์ 5 มีเส้นรอบวงประมาณ 68-70 เซนติเมตร น้าหนักประมาณ 410-450 กรัม กฎข้อที่ 3: จานวนผู้เล่น
  • 12. ประกอบด้วยทีม 2 ทีม และแต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่นตัวจริงและตัวสารอง ผู้เล่นตัวจริงจะเป็นผู้เล่นชุดแรกที่ลงสนาม ส่วนผู้เล่นตัวสารองมีไว้เพื่อสับเปลี่ยนกับผู้เล่นตัวจริงในกรณีที่ ผู้เล่นตัวจริงไม่สามารถเล่นได้หรือกรณีอื่นๆ ตามความเหมาะสมหรือตามแต่ดุลยพินิจของผู้จัดการทีม ผู้เล่นตัวจริงที่ลงสนามต้องมีไม่ต่ากว่า 7 คน และไม่เกิน11คน และหนึ่งในนั้นจะต้องมีผู้เล่นตาแหน่งผู้รักษาประตู 1 คน, ตัวสารองสามารถมีได้ไม่เกิน 7 คน ถ้าเป็นการแข่งทั่วไป หรือเชื่อมความสัมพันธ์ สามารถกาหนดจานวนตัวสารองได้ โดยต้องแจ้งให้กรรมการทราบก่อนการแข่งขันใช่ไม่พวกเรา นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กฎข้อที่ 4: อุปกรณ์การเล่น ลูกฟุตบอล (ตามกฎข้อ 2) ใช้สาหรับเล่น 1 ลูก และ เครื่องแบบของนักกีฬา ทีมทั้ง 2 ทีมที่ลงแข่งขัน สมาชิกทุกคนในทีมยกเว้นผู้รักษาประตูจะต้องใส่ชุดแข่งขันสีเดี ยวกัน และทั้ง 2 ทีมจะต้องใส่ชุดแข่งที่มีสีตัดกันอย่างชัดเจน จะใส่ชุดที่มีโทนสีคล้ายกันไม่ได้ (เช่น ทีมหนึ่งใสชุดแข่งสีขาว อีกทีมหนึ่งใส่ชุดแข่งสีเหลือง) ผู้รักษาประตูจะต้องใส่ชุดแข่งที่มีสีไม่ซ้ากับผู้เล่นทั้ง 2 ทีม และนักกีฬาที่ทาการแข่งขันจะต้องใส่รองเท้า (ในปัจจุบันไม่อนุญาตให้นักกีฬาใช้เท้าเปล่าเล่น) ที่กล่าวมาเป็นอุปกรณ์การเล่นที่ต้องมีในการแข่งขัน ยังมีอุปกรณ์อื่นๆ ที่กติกาไม่บังคับแต่ผู้เล่นมักจะนิยมใช้กัน คือ สนับแข้ง, ถุงมือและหมวกสาหรับผู้รักษาประตู
  • 13. และยังมีอุปกรณ์ปลีกย่อยสาหรับผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพที่สามา รถอนุโลมให้ใส่ในเวลาลงเล่นได้ เช่น แว่นตา (สาหรับผู้ที่ได้รับการผ่าตัดทางตา), หน้ากาก, เฮดเกียร์ เป็นต้น นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กฎข้อที่ 5: กรรมการ โดยกรรมการจะมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ ปฏิบัติตามกติกาข้อ ควบคุมการแข่งขันโดยมีผู้ช่วยผู้ตัดสิน กรรมการผู้ตัดสินคนที่ 4 คอยให้ความร่วมมือช่วยเหลือตามความเหมาะสม แน่ใจว่าลูกบอลทุกลูกทีใช้ในการแข่งขันถูกต้องตามข้อกา หนดของกติกาข้อ 2 แน่ใจว่าอุปกรณ์ของผู้เล่นถูกต้องตามข้อกาหนดของกติกา ข้อ 4 ทาหน้าที่รักษาเวลาการแข่งขัน และเขียนรายงานการแข่งขัน พิจารณาการสั่งหยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วคราว หรือยุติการแข่งขัน (Suspends or Terminate the Match) ทุกกรณีของการกระทาผิดกติกาการแข่งขัน พิจารณาการสั่งหยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วครา หรือยุติการแข่งขัน เนื่องจากมีสิ่งรบกวนจากภายนอกทุกชนิดทาการรบกวนการแข่ งขัน
  • 14. สั่งหยุดการเล่นถ้าดุลยพินิจของเขาเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บหนักแล ะแน่ใจว่าเคลื่อนย้าออกจากสนามแข่งขันไปแล้ว ผู้เล่นที่บาดเจ็บนั้นจะกลับเข้าไปในสนามแข่งได้อีกเอภายหลังก ารเริ่มเล่นใหม่ได้ริมเล่นไปแล้ว. อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปจนกว่าลูกบอลจะอยู่นอกก นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร ารเล่นถ้าเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย แน่ใจว่าผู้เล่นที่มีเลือดไหลออกจากบาดแผลได้ออกจากสน ามแข่นขันแล้ว และผู้เล่นนั้นจะกลับไปเล่นใหม่ได้เมื่อได้รับสัญญาณจากผู้ตัดสิ น ซึ่งต้องพึงพอใจแล้วว่าเลือดที่ไหลออกมานั้นได้หยุดแล้ว อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปเมื่อทีมที่ถูกกระทาผิดจะเกิ ดประโยชน์จากการได้เปรียบ และถ้าการคาดคะเนในการให้ได้เปรียบนั้นไม่เป็นตามที่คาดไว้ ในขณะนั้น กาจะลงโทษตามความผิดที่เกิดขึ้นแต่แรกนั้น ลงโทษความผิดที่ร้ายแรงกว่าในกรณีที่ผู้เล่นทาผิดมากกว่ า 1 อย่าง ภายในเวลาเดียวกัน ควบคุมระเบียบวินัยโดยแสดงการต่อต้านต่อผู้เล่นที่กระทา ผิดต้องได้รับการคาดโทษ และการให้ออกจาการแข่งขัน เขาไม่ได้ถูกบังคับว่าต้องกระทาในทันทีทันใด แต่ต้องทาทันทีลูกบอลอยู่นอกการเล่นแล้ว ทาหน้าที่แสดงการต่อต้านเจ้าหน้าททีี่มที่ขาดความรับผิดช อบในการควบคุมการประพฤติปฏิบัติตนเองที่ดี
  • 15. และเขาอาจพิจารณาให้อกจากสนามแข่งขันและบริเวณแวดล้อ มในทันมี ปฏิบัติตามการช่วยเหลือของผู้ช่วยผู้ตัดสินตามเหตุการณ์ นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร ที่ตนเองมองไม่เห็น แน่ใจว่าไม่มีบุคคลอื่น ๆ ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในสนามแข่งขัน ให้ทาการเริ่มเล่นได้หยุดลง เขียนรายงานการแข่งขันเสนอต่อผู้ที่มีอานาจหน้าที่ที่ได้แ ต่งตั้งไว้ ซึ่งรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการควบคุมระเบียบทุกอย่างที่กระทา ต่อผู้เล่นและ /หรือเจ้าหน้าที่ทีมและเหตุการณ์ณ์อื่น ๆ ทักกรณีที่เกิดขึ้นก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน หรือภายหลังการแข่งขัน กฎข้อที่ 6: ผู้ช่วยกรรมการ ผู้ช่วยผู้ตัดสินมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ตัดสินในการควบคุมการ แข่งขันให้เป็นไปตามกติกาการแข่งขัน และในกรณีพิเศษผู้ช่วยผู้ตัดสินอาจเข้าไปในสนามได้เพื่อช่วย ควบคุมระยะ 9.15 เมตร ถ้าผู้ช่วยผู้ตัดสินเข้าไปเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตัดสิ นเกินสมควร หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมผู้ตัดสินสามารถปลดเขาออกจากห น้าที่ และเขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งไว้
  • 16. นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กฎข้อที่ 7: ระยะเวลาการแข่งขัน ช่วงเวลาของการแข่งขัน (Periods of Play) การแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 ครึ่งเวลา ๆ ละ 45 นาทีเท่ากัน การรักษาเวลาเป็นหน้าที่ของผู้รักษาเวลา ซึ่งมีหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกติกาข้อ 7 ระยะเวลาของการแข่งขันแต่ละครึ่งเวลา อาจจะมีการเพิ่มการเตะโทษ ณ จุดโทษ เวลานอก (Time-out) ทั้งสองทีมมีสิทธิ์ขอเวลานอกเป็นระยะเวลา 1 นาที ได้ในแต่ละครึ่งเวลา ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1. ผู้ฝึกสอนเท่านั้นที่มีสิทธิ์ในการขอเวลานอก 1 นาที จากผู้รักษาเวลา 2. การขอเวลานอก 1 สามารถร้องขอได้ตลอดเวลา แต่จะให้เวลานอก ก็ต่อเมื่อทีมได้เป็นฝ่ายครอบครองบอล (ส่งลูกบอลเข้าเล่น) 3. ผู้รักษาเวลาต้องแสดงการอนุญาตสาหรับการขอเวลานอกของที ม เมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่นโดยการใช้เสียงสัญญาณอื่น ๆ ที่แตกต่างจากเสียงสัญญาณนกหวีดของผู้ตัดสินที่ใช้อยู่ 4. เมื่ออนุญาตให้เป็นเวลานอก ผู้เล่นทุกคนต้องรวมกันอยู่ในสนามแข่งขัน ถ้าต้องได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ทีม จะกระทาได้เฉพาะที่เส้นข้างบริเวณด้านหน้าที่นั่งสารองของทีม ตนเอง ผู้เล่นทุกคนต้องไม่ออกไปนอกสนามแข่งขัน เช่นเดียวกันกับเจ้าหน้าที่ทีมที่ต้องให้คาแนะนาจะต้องไม่เข้าไป
  • 17. ในสนามแข่งขัน 5. ถ้าทีมไม่ใช่สิทธิ์ในการขอเวลานอกในครึ่งเวลาแรก จะไม่สามารถนาไปทดแทนในครึ่งเวลาหลังได้ พักครึ่งเวลา (Half - time Interval) การพักครึ่งเวลาต้องไม่เกิน 15 นาที * ข้อตกลง (Decisions) 1. ถ้าไม่มีผู้รักษาเวลา ผู้ฝึกสอนต้องร้องขอเวลานอกได้จากผู้ตัดสิน 2. ถ้าระเบียบการแข่งขันระบุให้มีการต่อเวลาพิเศษ ในกรณีที่การแข่งขันในเวลาปกติ ถ้าผลการแข่งขันจบลงด้วยการเสมอกัน การแข่งขันในระหว่างการต่อเวลาพิเศษของการแข่งขัน จะไม่มีการขอเวลานอก นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กฎข้อที่ 8: การเริ่มต้นการแข่งขัน 1.เมื่อเริ่มเล่น ในการที่จะเลือกแดนหรือเลือกเตะเริ่มเล่นก่อน ให้ตัดสินโดยการเสี่ยง ด้วยการโยนหัว โยนก้อย ฝ่ายที่ชนะการเสี่ยงเป็นผู้มีสิทธิ์ในการเลือกแดนหรือเลือกเตะ 2.เมื่อได้ประตู การเล่นต้องเริ่มต้นใหม่ ในทานองเดียวกัน โดยผู้เล่นคนหนึ่งของฝ่ายที่เสียประตู เป็นผู่มเล่น 3.เมื่อหมดครึ่งเวลา การตั้งต้นเล่นใหม่หลังจากได้หยุดพักระหว่างครึ่งเวลาแล้ว ให้เปลี่ยนแดนและให้ผู้เล่นคนหนึ่งของชุดฝ่ายตรงข้ามที่มิได้เต ะเริ่มเล่นในตอนแรก เป็นผู้เตะเริ่มเล่น
  • 18. นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กฎข้อที่ 9: บอลออกนอกสนาม ลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นเมื่อ1.ลูกบอลได้ผ่านเส้นประตูหรื อเส้นข้างไม่ว่าจะเป็นบนพื้นดินหรือในอากาศออกไปทั้งลูก2.ผู้ ตัดสินสั่งหยุดการเล่นลูกบอลอยู่ในการเล่น (Ball In Play) ลูกบอลอยู่ในการเล่นตลอดเวลารวมทั้งในขณะที่1. กระดอนจากเสาประตู คานประตู หรือธงมุมสนาม และเข้ามาในสนามแข่งขันกติกาข้อ 10 การนับประตู กฎข้อที่ 10: วิธีนับคะแนน ถ้าลูกฟุตบอลลอยข้ามเส้นประตูเต็มใบ โดยการเล่นลูกที่ถูกกติกา (ได้แก่การใช้เท้าหรือศีรษะ) ถือว่าได้ 1 คะแนน (ในภาษาฟุตบอลเรียกว่า 1 ประตู) อย่างไรก็ดี มักมีคนเข้าใจผิดว่าการได้คะแนน คือ การที่ลูกบอลสัมผัสกับตาข่ายหลังเส้นประตู ซึ่งจริงๆ แล้วาข่ายไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกติกาฟุตบอล มีไว้เพื่อรองรับลูกบอลที่เข้าประตูแล้วเท่านั้น กฎข้อที่ 11: การล้าหน้า 1.ผู้เล่นจะอยู่ในตาแหน่งล้าหน้า ถ้าเขาอยู่ใกล้เส้นประตูของคู่ต่อสู้กว่าลูกบอล 2.ผู้เล่นจะถูกตัดสินให้เป็นเล่นล้าหน้าและจะถูกลงโทษ ถ้าผู้ตัดสินพิจารณาเห็นว่าขณะที่ลูกโดนหรือลูกเล่นโดยผู้เล่นฝ่ ายเดียวกัน
  • 19. 3.ผู้เล่นจะยังไม่ถูกตัดสินว่าล้าหน้า ถ้า 1.เขาเพียงแต่อยู่ในตาแหน่งล้าหน้าเท่านั้น หรือ 2.เขาได้รับลูกโดยตรงจาการเตะจากประตู การทุ่มจากเส้นข้าง การเตะจากมุม หรือ การปล่อยลูกจากมือโดยผู้ตัดสิน นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 4.ถ้าผู้เล่นถูกตัดสินให้เป็นเล่นล้าหน้า ผู้ตัดสินจะให้คู่ต่อสู้ได้เตะโทษโดยอ้อม ณ ที่ซึ่งการละเมิดกติกาได้เกิดขึ้น กฎข้อที่ 12: ฟาวล์ ผู้เล่นคนใดเจตนากระทาผิดข้อหนึ่งข้อใดใน 9 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1.แตะ หรือ พยายามจะเตะคู่ต่อสู้ 2.ขัดขาคู่ต่อสู้ คือทาหรือพยายามจะทาให้คู่ต่อสู้ล้มลงด้วยการใช้ขา หรือด้วยการหมอบลงข้างหน้าหรือข้างหลัง 3.กระโดดเข้าหาคู่ต่อสู้ 4.ชนคู่ต่อสู้อย่างรุนแรง 5.ชนคู่ต่อสู้ข้างหลัง นอกจากคู่ต่อสู้นั้นเจตนากีดกัน 6.ทาร้าย หรือพยายามจะทาร้ายคู่ต่อสู้ หรือถ่มน้าลายรดคู่ต่อสู้ 7.ฉุด ดึง คู่ต่อสู้ 8.ผลัก ดัน คู่ต่อสู้ 9.เล่นด้วยมือ คือ ทุบ ต่อย ปัด เตะลูกด้วยมือ หรือแขน
  • 20. นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กฎข้อที่ 13: ฟรีคิก ข้อบกพร่องและความผิดพลาดจะถูกลงโทษเตะโทษโดยตร ง เตะโทษโดยตรงจะได้รับรางวัลทีมตรงข้ามถ้าผู้เล่นกระทา การใด ๆ ต่อไปนี้หกกติกาตัดสิน พิจารณาการใช้ประมาทอันตรายหรือมากเกินไปของแรง: - ให้หรือพยายามที่จะเตะฝ่ายตรงข้าม; - ให้หรือพยายามที่จะให้คลานวางเท้าของเขาในด้านหน้าของฝ่ ายตรงข้าม; - กระโดดเมื่อฝ่ายตรงข้าม; - ล็อคฝ่ายตรงข้าม; - ตายหรือความพยายามที่จะโจมตีฝ่ายตรงข้าม; - Pushes ฝ่ายตรงข้ามจะได้รับเตะโทษโดยตรงไปยังทีมตรงข้ามถ้าผู้เล่น กระทาใด ๆ ของสี่ต่อไปนี้ความผิด: - ในการแข่งขันสาหรับลูกเตะให้กับฝ่ายตรงข้ามก่อนที่จะสัมผัสลู กบอล;
  • 21. นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร - โฮลดิ้งของฝ่ายตรงข้าม; - แชะที่ฝ่ายตรงข้าม; - สัมผัสลูกบอลด้วยมือของพวกเขาจงใจ (ยกเว้นผู้รักษาประตูภายในเขตโทษของตัวเอง) เตะโทษโดยตรงจะได้รับการปล่อยตัวออกมาจากสถานที่ที่การล ะเมิดเกิดขึ้น กฎข้อที่ 14: ลูกโทษ ลูกโทษ เป็นการตั้งเตะทาคะแนนในการแข่งขันฟุตบอล โดยลูกฟุตบอลจะอยู่ในตาแหน่งหน้าประตูห่างมาเป็นระยะ 12 หลา (ประมาณ 11 เมตร) โดยมีผู้รักษาประตูคนเดียวเท่านั้นที่อยู่ในตาแหน่งที่ป้องกันได้ ในการแข่งขันฟุตบอลจะมีการยิงลูกโทษสองลักษณะคือ ลักษณะแรกการยิงลูกโทษระหว่างการแข่งขัน เกิดจากที่ผู้เล่นในฝ่ายรับทาฟาล์วผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามภายในเขต ประตู โดยผู้ที่ยิงลูกโทษจะมีสิทธิยิงได้หนึ่งครั้งโดยเมื่อยิงเสร็จแล้วจะ ปล่อยให้เกมเล่นต่อตามปกติ ลักษณะที่สองคือการยิงลูกโทษภายหลังจากหมดเวลาการ แข่งขัน และทั้งสองฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน จะทาการยิงลูกโทษในการตัดสินผู้ชนะ
  • 22. โดยการยิงลูกโทษลักษณะนี้จะ เริ่มต้นโดยผู้ยิงฝ่ายละ 5 คน สลับกันยิงลูกโทษ โดยถ้าไม่สามารถตัดสินกันได้ให้มีการยิงต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้ผู้ชนะ นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กฎข้อที่ 15: การทุ่ม การทุ่ม ขณะแข่งขันลูกฟุตบอลได้ออกเส้นข้างไปทั้งลูก ไม่ว่าจะกลิ้งไปบนพื้นสนามหรือลอยไปบนอากาศก็ตาม ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามเป็นฝ่ายได้ทุ่ม -เท้าทั้งสองข้างต้องติดพื้นตลอดเวลาการทุ่ม - ต้องทุ่มด้วยมือทั้งสอง ลูกบอลออกจากด้านหลังศีรษะ แขนทั้งสอง " ต้องผ่านศีรษะไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง " - ด้านหน้าของร่างกายหันหน้าเข้าหาสนามด้านไหนให้ทุ่มไปทา งนั้น - ย่อทุ่มได้ แต่ห้ามนั่งทุ่ม - บอลออกเส้นข้าง ณ จุดใด ให้ทุ่ม ณ จุดนั้น - ณ จุดที่มือปล่อยบอล เท้าหรือตัวของผู้ทุ่ม ห้ามห่างจากเส้นข้างเกิน หนึ่งเมตร - ฝ่ายรับต้องยืนห่างจากผู้ทุ่ม ในสนามแข่งขัน อย่างน้อย ๒ เมตร - ทุ่มทีเดียว โดยไม่สัมผัสผู้เล่นฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง ไม่ถือว่าเป็นประตู - รับบอลจากการทุ่ม ไม่มีการล้าหน้า
  • 23. - ทุ่มบอลคืนให้ผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตูใช้มือรับ ให้เตะลูกโทษโดยอ้อม ณ จุดเกิดเหตุ ทันที นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร กฎข้อที่ 16: โกลคิก กฎข้อที่ 17: การเตะมุม เมื่อลูกทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูออกไปนอกสนาม นอกจากจะผ่านไปในระหว่างเสาประตูไม่ว่าจะกลิ้งไปบนพื้นสน ามหรือลอยไปในอากาศก็ตาม โดยฝ่ายรับเป็นผู้ถูกลูกนั้นเป็นครั้งสุดท้าย ให้ฝ่ายรุกนาลูกไปวางเตะภายในเขตมุม ณ ธงมุมใกล้กับที่ลูกได้ออกไปและต้องไม่ทาให้คันธงเคลื่อนที่ ในการเตะจากมุมนี้ ถ้าเตะทีเดียวลูกตรงเข้าประตูให้นับว่าได้ประตู ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับผู้เตะจากมุมนั้นจะเข้ามาอยู่ใกล้ลูกในขณ ะที่ผู้เตะกาลังจะเตะลูกน้อยกว่า 10 หลา ไม่ได้เว้นเสียแต่ผู้เตะจะได้เตะให้ลูกไปได้ไกลอย่างน้อยเท่ากับ ระยะรอบวงของลูกจึงจะเล่นต่อไปได้ จะเล่นลูกนั้นซ้าอีกไม่ได้จนกว่าลูกนั้นจะได้ถูกหรือเล่นโดยผู้เล่ นคนใดคนหนึ่งเสียก่อน
  • 24. นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร หลักการเล่นฟุตบอล แนวคิด การเล่นกีฬาฟุตบอลให้เกิดประสิทธิภาพ ผู้เล่นต้องเรียนรู้จนเกิดทักษะพื้นฐานหลายด้านอาทิ การเคลื่อนไหวเบื้องต้น การทาความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล การหยุดหรือบังคับลูก ทักษะเหล่านี้มี ความละเอียดอ่อน และเป็นพื้นฐานสาหรับเทคนิคการเล่นอื่น ๆ ต่อไป ซึ่งต้องอาศัยการฝึกฝนจนชานาญ และเป็นทักษะที่ต้องการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทรงตัว การทรงตัวเป็นพื้นฐานเบื้องต้นที่มีความสาคัญในการฝึกกี ฬาทุกชนิด เพื่อการเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว สามารถทาให้การเล่นกีฬาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง สนุกสนานเร้าใจท่าทางการทรงตัว ที่ผู้เล่นฟุตบอลควรฝึกหัดมีดังนี้ 1.ทาการทรงตัวและจังหวะการใช้เท้าทั้งบนพื้นดินและในอากา ศ
  • 25. 2.การถ่ายน้าหนักตัวไปสู่เท้าหลักเมื่อมีการครอบครองลูกเตะลูก หรือเลี้ยงลูกฟุตบอล 3.การวิ่งตามแบบของฟุตบอล เช่น วิ่งไปที่มุมสนาม วิ่งหาช่องว่าง วิ่งตัดกันเพื่อหลอกคู่ต่อสู้ 4.การวิ่งซิกแซ็กเพื่อการหลบหลีกเมื่อเลี้ยงหรือครอบครองลูก (จังหวะการทรงตัวในการเลี้ยงบอลและหลบหลีกคู่ต่อสู้) การเคลอื่นทไี่ปขา้งหน้า ถอยหลัง ไปทางซ้าย ไปทางขวา นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร มีวิธีการฝึกดังนี้ 1.ทิ้งน้าหนักตัวไปสู่ทิศทางที่จะเคลื่อนที่ไปตาจับอยู่ที่ลูกบอล 2. เคลื่อนเท้าที่อยู่ในทิศทางที่จะเคลื่อนไป นาไปก่อน แล้วจึงเคลื่อนเท้าอีกข้างหนึ่งตามไปโดยเร็ว เช่นไปทางซ้ายให้ก้าวเท้าซ้ายนาไปก่อนแล้วก้าวเท้าขวาตามไ ป 3. การใช้ปลายเท้าสัมผัสพื้น ช่วยให้การเคลื่อนไหวรวดเร็วขึ้น การสร้างความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล พื้นฐานของการเล่นฟุตบอลที่สาคัญอย่างหนึ่งก็คือการสร้า งความสัมพันธ์หรือความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอลเป็นอย่างดีกล่าวคื อ
  • 26. การเล่นลูกฟุตบอลต้องสามารถทาได้อย่างที่ตั้งใจไว้ทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นลูกแบบใดก็ตาม การที่ผู้เล่นคุ้นเคยกับลูกฟุตบอลจะส่งผลให้การครอบครองบอล การเคลื่อนที่ในลักษณะต่างๆการควบคุมบังคับทิศทางของลูกฟุ ตบอลเป็นไปด้วยความแม่นยา ดังนั้นจึงควรให้ผู้เล่นฝึกความคุ้นเคยให้ชินกับลูกฟุตบอลมากที่ สุด วิธีการสร้างความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอล 1. วางเท้าบนลูกฟุตบอลแล้วคลึงด้วยฝ่าเท้าไปมาหน้า - หลัง ซ้าย - ขวา โดยให้อยู่กับที่ ให้ทาทั้งเท้าซ้าย-ขวา 2.ทาเหมือนข้อที่1แต่ให้เคลื่อนที่ไปตามทิศทางต่างๆด้วย นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร 3.ใช้ฝ่าเท้าตบลูกฟุตบอลให้กระดอนขึ้น- ลงโดยใช้เท้าซ้ายหรือขวาสลับกัน 4.วางเท้าด้านในติดกับข้างลูกฟุตบอล ใช้ข้างเท้าด้านในปาดเหนือลูกมาอีกด้านหนึ่งของลูก ตอนนี้ลูกฟุตบอลจะอยู่ข้างเท้าด้านนอก แล้วใช้เท้าด้านนอกปาดลูกกลับไปอีกด้านตามเดิม แล้วให้ฝึกสลับเท้าด้วย 5.งัดลูกฟุตบอลด้วยปลายเท้าให้ลูกลอยขึ้นในอากาศหยุดลูกด้ว ยหลังเท้าหรือฝ่าเท้า 6.งัดลูกฟุตบอลด้วยปลายเท้าให้ลูกลอยขึ้นในอากาศ แล้วเดาะลูกด้วยเท้า เข่า หน้าอก ศีรษะ สลับกัน
  • 27. 7. ทาเหมือนข้อ 6 แต่เคลื่อนที่เป็นระยะทางไกล โดยลูกฟุตบอลไม่ตกถึงพื้น นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร การหยุดหรือบังคับลูกฟุตบอล การหยุดลูก ได้ดีนั้นทาให้สามารถที่จะบังคับและควบคุมลูกฟุตบอลให้เคลื่อ นที่ไปในลักษณะใดก็ได้ตามต้องการ เช่น การเลี้ยง การส่งลูก การยิงประตู ทาให้ทีมเป็นฝ่ายรุก เพื่อโจมตีฝ่ายตรงข้าม เราสามารถหยุดลูกฟุตบอลด้วยส่วนใดของร่างกายก็ได้ ยกเว้นแขนและมือทั้งสองข้างคาจากัดความ การหยุดลูก หมายถึง การบังคับลูกที่มาในลักษณะต่าง ๆ ทั้งบนพื้นดินและในอากาศให้อยู่ในครอบครองของเรา เพื่อจะได้ส่งลูกต่อไปตามความต้องการ หลักในการหยุดลูกมีอยู่ 3 ประการ คือ 1. จะใช้ส่วนใดของร่างกายในการหยุดลูก 2. การเคลื่อนตัวเข้าสู่ตาแหน่ง เพื่อหยุดลูกที่ลอยมาหรือกลิ้งมากับพื้น 3. ใช้เทคนิคการผ่อนของร่างกาย เพื่อลดแรงปะทะของลูก การหยุดลูกด้วยฝ่าเท้า ให้พยายามหยุดลูกฟุตบอลเบา ๆ การใช้ฝ่าเท้าหยุดลูก ให้หยุดลูกที่ส่งเรียดมากับพื้น โดยเปิดปลายเท้าขึ้นปะทะลูกไว้ในครอบครองและให้ฝ่าเท้าสัม
  • 28. นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร ผัสส่วนบนของลูกพร้อมที่จะเคลื่อนที่ต่อไป การหยุดลูกด้วยข้างเท้าด้านใน วิธีนี้สามารถใช้หยุดลูกที่ส่งเรีย ดหรือต่า 1.ใช้ในการควบคุมลูกฟุตบอลให้ตกลงสู่พื้นอย่างประณีตในข ณะที่เคลื่อนไปข้างหน้า 2.วางมุมเท้าเพื่อหยุดลูก โดยการบิดลาตัวทางด้านข้างตามแนวที่ลูกลอยมาใช้ข้างเท้าด้า นในสัมผัสตรงกลางลูกเพื่อผ่อนแรงปะทะ 3.การหยุดลูกใช้องค์ประกอบ3อย่างคือข้างเท้าด้านในข้อเท้าแ ละพื้นสนาม 4.คาดคะเนจังหวะลูกฟุตบอลกระทบกับเท้าและพื้นดินพร้อม ๆ กัน เพื่อการหยุดลูกไว้อย่างมั่นคง การหยุดลูกด้วยหลังเท้า วิธีนี้ใช้หยุดลูกฟุตบอลที่ลอยมา ให้งอเข่าและยกเท้าขึ้น เพื่อรับลูกที่กาลังจะตกพื้น ให้ลดขาและเท้าเพื่อผ่อนแรงปะทะ ตาจ้องมองดูลูก ใช้ขาข้างใดข้างหนึ่งเป็นหลักและทรงตัวให้มั่นคง การหยุดลูกด้วยหน้าขา ใช้ในกรณีที่ลูกลอยมาสูงกว่าระดับเอว ใช้หน้าขาหยุดลูกไว้โดยให้งอเข่ารับผ่อนแรง โดยลดต้นขาลงแล้วปล่อยลูกตกลงพื้นอยู่กับเท้าเพื่อครอบครอง บอล
  • 29. โดยใช้แขนทั้งสองข้างและขาที่ยืนเป็นหลักช่วยในการทรงตัว นางสาวเปรมฤดี ภูธาตุเพชร การหยุดลูกด้วยหน้าอก วิธีนี้ใช้รับลูกที่ลอยมา ให้แยกแขนทั้งสองออก ยืดอกรับลูกแล้วปล่อยลูกลงพื้นอยู่กับเท้า โดยการยืนแยกขาออกเล็กน้อย เพื่อการทรงตัว ขณะที่ลูกปะทะกับหน้าอก ให้ย่อตัวและไหล่ทั้งสองข้าง เพื่อลดแรงปะทะ การหยุดลูกด้วยศีรษะ ในกรณีที่ลูกฟุตบอลลอยมาสูงเกินกว่าที่จะรับด้วยหน้าอกให้ใช้ น้าผากรับแทนโดยยื่นศีรษะออกไปเพื่อรับลูกเมื่อรับแล้วให้ดึงศี รษะกลับแล้วปล่อยให้ลูกลงพื้นอยู่กับเท้า