SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
(ร่าง)มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๙
มาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2548
(18 มาตรฐาน 84 ตัว
บ่งชี้)
มาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2554
(15 มาตรฐาน 65 ตัว
บ่งชี้)
(ร่าง)มาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2559
(4 มาตรฐาน 11 ตัวบ่งชี้)
1 ด้านคุณภาพ
ผู้เรียน
8 มาตรฐาน
33 ตัวบ่งชี้
1 ด้านคุณภาพ
ผู้เรียน
6 มาตรฐาน
26 ตัวบ่งชี้
1 มาตรฐานที่ 1
ด้านผู้เรียน
5 ตัวบ่งชี้
2 ด้านการเรียน
การสอน
2 มาตรฐาน
14 ตัวบ่งชี้
2 ด้านการจัด
การศึกษา
6 มาตรฐาน
33 ตัวบ่งชี้
2 มาตรฐานที่ 2
ด้านครู
2 ตัวบ่งชี้
3 ด้านการบริหาร
และการจัด
การศึกษา
6 มาตรฐาน
33 ตัวบ่งชี้
3 ด้านการสร้าง
สังคมแห่งการ
เรียนรู้
1 มาตรฐาน
2 ตัวบ่งชี้
3 มาตรฐานที่ ๓
ด้านผู้บริหาร
2 ตัวบ่งชี้
4 ด้านการพัฒนา
ชุมชนแห่งการ
เรียนรู้
2 มาตรฐาน
4 ตัวบ่งชี้
4 ด้านอัตลักษณ์
ของสถานศึกษา
1 มาตรฐาน
2 ตัวบ่งชี้
4 มาตรฐานที่ ๔
ด้านสถานศึกษา
2 ตัวบ่งชี้
5 ด้านมาตรการ
ส่งเสริม
1 มาตรฐาน
2 ตัวบ่งชี้
1. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 -
2561)
2. การปรับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ. 2559 – 2563)
4. ทักษะที่จาเป็ นสาหรับโลกศตวรรษที่ 21
5. นโยบายด้านการศึกษา
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศึกษาเอกสาร
ยกร่างและพัฒนามาตรฐานฯ
ประชาพิจารณ์
ปรับปรุงมาตรฐานฯ
ปรับปรุงคาอธิบายมาตรฐาน
เสนอขอความเห็นชอบ
กาหนดกรอบการพัฒนามาตรฐานฯ
ระดมความคิดเห็นฯ
พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะฯ
กาหนดกรอบการอธิบายมาตรฐานและตัวบ่งชี้
พิจารณากรอบการอธิบายมาตรฐานและตัวบ่งชี้
พิจารณาคาอธิบายและตัวบ่งชี้๒ ครั้ง
อนุกรรมการ
กพฐ.
1. ลดจานวนมาตรฐานและตัวบ่งชี้ให้กระชับ
2. ให้ความสาคัญกับปัจจัย กระบวนการ และความพึงพอใจ
ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
3. เน้นคุณภาพผู้เรียนในสอดรับกับศตวรรษที่ 21
4. กระบวนการพัฒนาของครูและผู้บริหารให้ความสาคัญกับ
ชุมชนแห่งการเรียนรู้
5. ปรับเปลี่ยนกระบวนการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน
และตัวบ่งชี้
กรอบมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ.2559
ด้านผู้บริหาร
เก่งวิชาการ
ความพึง
พอใจ
ด้านผู้เรียน
จิต คุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
สังคม
ด้านครูความพึงพอใจ
เก่งจัดการ
เรียนรู้
กาย
สมอง
(เก่ง)
ด้านสถานศึกษา
การประกัน
คุณภาพภายในบรรยากาศ
4 มาตรฐาน 11 ตัวบ่งชี้
1 ด้านผู้เรียน 5 ตัวบ่งชี้
2 ด้านครู 2 ตัวบ่งชี้
3 ด้านผู้บริหารสถานศึกษา 2 ตัวบ่งชี้
4 ด้านสถานศึกษา 2 ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ 1 ด้านผู้เรียน จานวน 5 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ ๑ ร้อยละของผู้เรียนมีสุขภาพกายดี
ตัวบ่งชี้ ๒ ร้อยละของผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี
ตัวบ่งชี้ ๓ ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะทางสังคม
ตัวบ่งชี้ ๔ ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะและความสามารถ
ในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ ๕ ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ ๒ ด้านครู จานวน ๒ ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 6 ร้อยละของครูมีความสามารถในการจัดการ
เรียนรู้
ตัวบ่งชี้ 7 ร้อยละของครูที่เป็ นคนดีและเป็ นแบบอย่าง
มาตรฐานที่ ๓ ด้านผู้บริหารสถานศึกษา จานวน ๒ ตัว
บ่งชี้ตัวบ่งชี้ 8 ผู้บริหารมีภาวะผู้นาทางวิชาการ
ตัวบ่งชี้ 9 ความพึงพอใจต่อผู้บริหาร
มาตรฐานที่ ๔ ด้านสถานศึกษา จานวน ๒ ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 10 สถานศึกษามีบรรยากาศและสภาพแวดล้อม
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ 11 สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพภายใน
ที่มีประสิทธิผล
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่
1 ด้าน
ผู้เรียน
ผู้เรียนมีพัฒนาการใน ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
และความสามารถในการเรียนรู้ และผู้ปกครองมี
ความพึงพอใจในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
(สุขนิสัย คุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ สุนทรียภาพ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน และคุณลักษณะ
ที่คาดหวังในศตวรรษที่ 21 (ทักษะการแสวงหา
ความรู้ ทักษะชีวิต และทักษะการทางานแบบ
ร่วมมือ)
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 1
ร้อยละของ
ผู้เรียนมี
สุขภาพกายดี
ผู้เรียนมีพัฒนาการทางร่างกาย เจริญเติบโตตาม
วัย ตามเกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตของ
เด็กไทยของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
และมีผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายตาม
เกณฑ์มาตรฐานของกรมพลศึกษาหรือสานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
หรือตามเกณฑ์มาตรฐานอื่น
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 2
ร้อยละของ
ผู้เรียนมี
สุขภาพจิตดี
ผู้เรียนยิ้มแย้มแจ่มใส ร่าเริง อารมณ์ดี มองโลกใน
แง่ดี ปรับตัวเข้ากับสังคมและสภาพแวดล้อม
สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นอย่าง
สร้างสรรค์
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ ๓
ร้อยละของ
ผู้เรียนมี
ทักษะทาง
สังคม
ผู้เรียนมีความสามารถในการปรับตัว มี
สัมพันธภาพกับคนรอบข้างที่ดี และสามารถ
ควบคุมอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม ทางานร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีการทางานอย่างเป็ น
โดยมีการวางแผนการทางาน ดาเนินงานตามแผน
อย่างรอบคอบ เอาใจใส่ มานะ พากเพียร มีการ
ตรวจสอบทบทวน การทางานเป็ นระยะ ๆ จนงาน
ที่ดาเนินการบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ และ
เป้ าหมายที่กาหนดจนสาเร็จอย่างมีคุณภาพ
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ ๔
ร้อยละของ
ผู้เรียนมี
ทักษะและ
ความสามาร
ถในการ
เรียนรู้
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยทั้ง 8 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ผลประเมินสมรรถนะสาคัญตาม
หลักสูตร และผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด และ
ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ผลการ
ทดสอบด้านความสามารถด้านภาษา การคิด
คานวณ และการให้เหตุผล (NT) ตามเกณฑ์ที่
กาหนด
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ ๕ ร้อยละ
ของผู้เรียนที่มี
คุณลักษณะที่พึง
ประสงค์
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีความพึงพอใจต่อ
คุณลักษณะพฤติกรรม ได้แก่ ความรับผิดชอบต่อตนเองและ
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การพูดจาสุภาพ เหมาะสม กิริยา
มารยาท ความมีสัมมาคาราวะ มีจิตอาสาช่วยเหลือผู้อื่น ซื่อสัตย์
สุจริต ไม่กล่าวเท็จ ช่วยเหลือพ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้มีพระคุณ
และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ฯลฯ และความสามารถใน
การเรียนรู้ของผู้เรียน ได้แก่ การแสวงหาความรู้ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รัก
การอ่าน การพึ่งตนเอง และช่วยเหลือตนเอง การดูแลรักษา
สุขภาพตนเองและป้ องกันตนเองให้ปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บและ
อุบัติภัย ความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่น และมี
สัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น และความสามารถในการสื่อสารรู้เรื่อง
และมีเหตุผล ฯลฯ
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ 2
ด้านครู
ครูควรมีความรู้ในเนื้อหาวิชา ปรัชญา ทฤษฎี และหลักการจัดการศึกษา
จิตวิทยาสาหรับครู หลักสูตร การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน การ
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทาง
การศึกษา การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ และการประกันคุณภาพการ
เรียนรู้ของผู้เรียน และสามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ โดยมี
การวิเคราะห์หลักสูตรอย่างรอบด้าน กาหนดเป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียนที่
ชัดเจน ศึกษาและวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล นาข้อมูลสารสนเทศจากผล
การวิเคราะห์มาออกแบบ วางแผน และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความ
แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่
เหมาะสม และนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้และ
ประเมินผลที่มุ่งพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายให้คาแนะนา
คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาผู้เรียนอย่างทั่วถึง ตลอดจนพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งควรมี
ลักษณะและพฤติกรรมที่รักและเอาใจใส่ผู้เรียน มีบุคลิกภาพเหมาะสม มุ่งมั่น
ทุ่มเท และรับผิดชอบต่อหน้าที่ และเป็ นเพื่อนร่วมงานที่ดี
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 6 ร้อยละ
ของครูมี
ความสามารถใน
การจัดการเรียนรู้
ครูมีความรู้ในเนื้อหาวิชา ปรัชญา ทฤษฎี และหลักการจัดการศึกษา จิตวิทยา
สาหรับครู หลักสูตร การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน การวิจัยเพื่อ
พัฒนาการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ และการประกันคุณภาพการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน และสามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ โดยมีการวิเคราะห์
หลักสูตรอย่างรอบด้าน กาหนดเป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียนที่ชัดเจน ศึกษา
และวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล นาข้อมูลสารสนเทศจากผลการวิเคราะห์
มาออกแบบ วางแผน และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม และนา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้และประเมินผลที่มุ่ง
พัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายให้คาแนะนา คาปรึกษา และ
แก้ไขปัญหาผู้เรียนอย่างทั่วถึง ตลอดจนพัฒนาการจัดการเรียนรู้และพัฒนา
ผู้เรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 7
ร้อยละของครู
ที่เป็ นคนดี
และเป็ น
แบบอย่าง
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา และชุมชน มีความพึงพอใจต่อครูในด้านด้าน
คุณลักษณะ พฤติกรรม เป็ นการแสดงความรู้สึกต่อครูใน
ด้านบุคลิกภาพ การวางตัว ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การ
ดูแลเอาใจใส่และแก้ปัญหาผู้เรียน รวมถึงการมีส่วนร่วม
ในกิจกรรมของชุมชน และความพึงพอใจด้าน
ความสามารถของครู เป็ นการแสดงความรู้สึกต่อครูใน
ด้านการถ่ายทอดความรู้ให้ผู้เรียนสามารถอ่าน เขียน คิด
คานวณ และสื่อสารได้ รวมถึงความสามารถของผู้เรียนใน
การช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ 3
ด้านผู้บริหาร
ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษาโดยผู้บริหาร
มีภาวะผู้นาทางวิชาการ มีการส่งเสริมพัฒนาบุคลากรที่มี
ประสิทธิภาพ มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง จัด
สภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็ม
ศักยภาพ ส่งเสริมให้คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง
ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ และจัดการศึกษาให้บรรลุ
วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และมาตรการที่กาหนด รวมทั้ง
ต้องมีคุณลักษณะที่ดี มีความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน
มุ่งมั่น ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียร
พยายามให้สาเร็จลุล่วงตามเป้ าหมาย รักษา ส่งเสริมเกียรติ
คุณ/ชื่อเสียงให้เป็ นที่เชื่อถือและศรัทธาของผู้รับบริการและ
สังคม เอาใจใส่ในการจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา มี
บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และมีความซื่อสัตย์สุจริต
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ ๘
ผู้บริหารมีภาวะ
ผู้นาทางวิชาการ
ผู้บริหารพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
เช่น การศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ด้วยตนเอง การเข้าร่วมอบรม ประชุมสัมมนา การ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคม นโยบายและจุดเน้นทางการศึกษา การบริหารงานตาม
ภารกิจ 4 ด้าน ประกอบด้วย งานบริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารบุคคล
และงานบริหารทั่วไป ใช้ข้อมูลสารสนเทศ ผลการประเมิน หรือผลการวิจัยเป็ นฐานคิดในการ
จัดทาแผนงาน โครงการ กิจกรรม และเป้ าหมายความสาเร็จ และใช้แผนเป็ นเครื่องมือในการ
บริหารจัดการ บริหารจัดการหลักสูตรสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และท้องถิ่น ตอบสนองเป้ าหมาย วิสัยทัศน์ จุดเน้นของสถานศึกษา มีการติดตามและ
ประเมินผลการใช้หลักสูตรไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมที่สนองความต้องการ ความถนัด และความสนใจ
ของผู้เรียนอย่างครบถ้วน ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
ส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยมีการติดตาม ตรวจสอบการวางแผน การ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้และการวัดและประเมินผล และมีการกาหนดโครงการ กิจกรรม ที่
ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพ มีการ
จัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมผู้เรียนทุกคน นิเทศ
ติดตาม กากับ ประเมินผล อย่างเป็ นระบบต่อเนื่อง โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย มีแผนการ
นิเทศและนาผลการนิเทศไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้คาแนะนา
คาปรึกษาทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์และเป็ นกัลยาณมิตร
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 9 ความ
พึงพอใจต่อ
ผู้บริหาร
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา และชุมชน มีความพึงพอใจต่อผู้บริหารใน
ด้านคุณลักษณะ พฤติกรรมของผู้บริหาร ประกอบด้วย
ความมุ่งมั่น ตั้งใจ เอาใจใส่ ปฏิบัติหน้าที่ในการบริหารงาน
ให้สาเร็จลุล่วงตามเป้ าหมายที่กาหนด มีความรับผิดชอบ
บุคลิกภาพดี วางตัวเหมาะสม มีความเป็ นผู้นา มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตในการบริหารงาน มีความมั่นคงทางอารมณ์
หลีกเลี่ยงอบายมุข มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับคนรอบข้าง
และส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
และด้านความสามารถในการบริหารจัดการสถานศึกษา
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 9 ความ
พึงพอใจต่อ
ผู้บริหาร
ผลการดาเนินงานที่เกิดจากความร่วมมือของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งครู
บุคลากร และการบริหารจัดการของผู้บริหาร ซึ่งพิจารณาได้จากการ
ดาเนินการในเรื่องการจัดสภาพแวดล้อมสิ่งอานวยความสะดวกให้พอเพียง
ใช้การได้ดีนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนทุกด้าน ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ได้แก่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
ห้องสมุด อาคารเรียน อาคารประกอบ แหล่งเรียนรู้ การบริการสื่อ
เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่งเสริมสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของ
ผู้เรียน รวมทั้งผลของการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ที่ผู้บริหารสามารถบริหารงานให้บรรลุเป้ าหมายของสถานศึกษา มีการ
กาหนดเป้ าหมายการทางานร่วมกัน มีทีมงานและเชื่อถือไว้วางใจ
บริหารงานทั้ง 4 ด้าน คือ วิชาการ งบประมาณ บุคคล บริหารงานทั่วไป
อย่างโปร่งใส เป็ นธรรม และตรวจสอบได้ มีการทางานร่วมกับบุคลากร
เพื่อให้เป้ าหมายสาเร็จ ตามแผนที่ร่วมกันกาหนดไว้ สามารถชี้แนะและให้
คาปรึกษาทางวิชาการกับทีมงาน เลือกและปรับปรุงการทางาน รวมทั้ง
สามารถนานวัตกรรมมาใช้เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 10
สถานศึกษามี
บรรยากาศและ
สภาพแวดล้อมที่
เอื้อต่อการเรียนรู้
การจัดสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ สิ่งอานวยความสะดวก
ที่เพียงพอ เหมาะสม ใช้การได้ดีและมีความปลอดภัย มี
การบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และส่งเสริม บริการ
ด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยให้ผู้เรียน นาไปสู่
การพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้านเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
คาอธิบายมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้ 11
สถานศึกษามี
ระบบการประกัน
คุณภาพภายในที่
มีประสิทธิผล
การดาเนินการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาที่เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง และ
เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด โดยมีการกาหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดาเนินงาน
ตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัดให้มีการ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการประเมิน
คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทา
รายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน และ
จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

Contenu connexe

Tendances

แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
หนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดมหนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดมprakasit srisaard
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นpeter dontoom
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
สถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียงสถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียงJanchai Pokmoonphon
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565MungMink2
 

Tendances (20)

แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
๒.๕ Ppt สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา จักราวุธ คำทวี
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
หนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดมหนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดม
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
 
Math
MathMath
Math
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
สถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียงสถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียง
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 

Similaire à Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐานผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง Jaru O-not
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfwidsanusak srisuk
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 

Similaire à Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙ (20)

งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
 
B1
B1B1
B1
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 

Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙