SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
คําอธิบายขอมูล

รหัสของตาราง                  FM_RT_001_S2

ชือตาราง
  ่                           อัตราดอกเบียในตลาดเงิน (2548-ปจจุบน)
                                         ้                       ั

ความถีของขอมูล ความลาชา
      ่                       ความถี่ รายเดือน
และกําหนดเวลาเผยแพร          ความลาชา 10 วัน
                              กําหนดเวลาเผยแพร
                               ขอมูลเบืองตน ทุกวันที่ 10
                                        ้
                               ขอมูลจริง จะปรับปรุงแกไข (ถามี) และเผยแพรในงวดการเผยแพรถัดไป

หลักวิธทางสถิติ
         ี                    อัตราดอกเบีย หมายถึงผลตอบแทนหรือจํานวนเงินที่ผกูตองจายชําระใหแกผูใหกูโดยสัญญาวา
                                         ้                                  ู
  หลักการ นิยาม และการจัด     จะชําระคืนเต็มมูลคาในวันที่ครบกําหนดในอนาคตตามทีตกลงกันไว ซึ่งแบงไดเปนหลาย
                                                                                ่
กลุม
                             ประเภท ดังนี้
  ความครอบคลุม
                              1. อัตราดอกเบียเงินใหกยมระหวางธนาคาร (Interbank Rate) เปนอัตราดอกเบียเงินกูยมใน
                                               ้      ู ื                                               ้      ื
  การบันทึกขอมูลและมาตรฐาน
                                 ตลาดเงินระยะสั้น เพื่อใชในการปรับสภาพคลองของธนาคารพาณิชยโดยธุรกรรมอาจจะอยู
บัญชีทเกียวของ
       ี่ ่
                                 ในรูปการกูยืมแบบจายคืนเมื่อทวงถาม (at call) หรือเปนการกูยมแบบมีกําหนดระยะเวลา
                                                                                            ื
  ลักษณะของขอมูลและวิธการ
                       ี
                                 (term) ตั้งแต 1 วัน ถึง 6 เดือน ในทางปฏิบติสวนใหญประมาณรอยละ 50-70 เปนการ
                                                                           ั
จัดเก็บ
                                 กูยืมระยะ 1 วัน (Overnight) รองลงมาเปนการกูยืมแบบจายคืนเมื่อทวงถาม (at call)
  วิธประมวลผลขอมูล
     ี
                                 อนึ่ง ถาเปนการกูยืมในตลาดระหวางสถาบันการเงินดวยกันจะเรียกวา Interfinance และ
                                 อัตราดอกเบี้ยที่ใชเรียกวา Interfinance Rate
                              2. อัตราดอกเบียเงินกู (Lending Rate) :
                                            ้
                                 2.1 อัตราดอกเบีย MLR (Minimum Lending Rate) หรือ (Minimum Loan Rate)
                                                ้
                                     หมายถึงอัตราดอกเบียเงินกูแบบมีระยะเวลาที่ธนาคารพาณิชยเรียกเก็บจากลูกคาราย
                                                       ้
                                     ใหญชั้นดี
                                 2.2 อัตราดอกเบีย MOR (Minimum Overdraft Rate) หมายถึงอัตราดอกเบียประเภท
                                                ้                                                ้
                                     เบิกเกินบัญชีทธนาคารพาณิชยเรียกเก็บจากลูกคารายใหญชนดี
                                                   ี่                                     ั้
                                 2.3 อัตราดอกเบีย MRR (Minimum Retail Rate) หมายถึงอัตราดอกเบียเงินกูที่
                                                  ้                                                       ้
                                     ธนาคารพาณิชยเรียกเก็บจากลูกคารายยอยชั้นดี ทั้งนี้ใชโยงเขากับอัตราดอกเบีย
                                                                                                                 ้
                                     MLR เพื่อใหสามารถสะทอนระดับความเสี่ยงที่แตกตางกันระหวางลูกคารายใหญกบ    ั
                                     ลูกคารายยอยไดโดยบวกสวนตางสูงสุดที่ธนาคารพาณิชยประกาศไมเกินรอยละ 4 ตอ
                                     ป ทังนี้ ธนาคารแหงประเทศไทยไดมหนังสือเวียนลงวันที่ 10 สิงหาคม 2544 ยกเลิก
                                          ้                            ี
                                     การกําหนดสวนตางไมเกินรอยละ 4 ตอป เพือใหมความเสมอภาคในการแขงขันเสนอ
                                                                               ่     ี
                                     บริการสินเชือ เพือตอบสนองความตองการของลูกคาในรูปแบบตางๆ มากขึน
                                                    ่ ่                                                       ้
                              3. อัตราดอกเบียอางอิง (Reference Rate) เปนอัตราดอกเบี้ยที่ ธปท. ประกาศทุกวันศุกร
                                             ้
                                 เพื่อใชในการอางอิงสําหรับการกําหนดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารพาณิชยไทยใน
                                 สัปดาหถัดไป ประกอบดวยอัตราดอกเบียเงินฝากออมทรัพย อัตราดอกเบียเงินฝาก
                                                                      ้                            ้
                                 ระยะเวลา 3 เดือน 6 เดือน และ 12 เดือน
                                 อัตราดอกเบี้ยอางอิงจะคํานวณมาจากอัตราดอกเบี้ยลาสุดเฉลียของธนาคารพาณิชย 5
                                                                                         ่
                                 ธนาคารไดแก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย
                                 และธนาคารกรุงศรีอยุธยา ทังนี้ ธปท. ไดประกาศยกเลิกอัตราดอกเบียอางอิงโดยมีผลบังคับ
                                                            ้                                  ้
                                 ใชตงแตวนที่ 17 กุมภาพันธ 2547 เพือใหอตราดอกเบียเงินฝากลอยตัวอยางแทจริง ซึงจะ
                                     ั้    ั                         ่    ั         ้                           ่
                                 ทําใหผฝากเงินไดรบผลตอบแทนอยางเต็มที่
                                        ู          ั
                              4. อัตราดอกเบียเงินใหกยมในตลาดซือคืนพันธบัตร (Repurchase Rate) เปนอัตรา
                                               ้      ู ื         ้
                                 ดอกเบียที่ใชในการกูยมโดยการซื้อขายพันธบัตรที่มีสัญญาซื้อคืน/ขายคืนพันธบัตรที่ใชเปน
                                        ้                ื
                                 หลักทรัพยวางประกัน ไดแก พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตร ธปท. และพันธบัตร
                                 รัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังค้ําประกันเงินตนและดอกเบี้ยของสถาบันการเงินทีเปน่
                                 สมาชิกในตลาดซื้อคืนพันธบัตรโดย ธปท. เปนนายทะเบียนและตัวแทนการรับจายเงินซึ่ง
                                 ถือวาเปนคูสัญญาโดยตรงกับผูซอและผูขายโดยระยะเวลาการกูยมจะเปน 1 วัน
                                                               ื้                             ื
                                 7 วัน 14 วัน 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน ทั้งนี้ ธปท. ใชอัตราดอกเบียตลาดซื้อ
                                                                                                             ้
                                 คืนระยะ 1 วัน เปนอัตราดอกเบียนโยบายในการสงสัญญาณการดําเนินนโยบายทางการเงิน
                                                                ้
                                 ภายใตกรอบ Inflation Targeting และตอมาเมือวันที่
                                                                               ่
                                 12 กุมภาพันธ 2551 ธนาคารแหงประเทศไทยไดกําหนดใหเปนวันทําการสุดทายของ
                                 ตลาดซื้อคืนธปท.

                                                FM_RT_001_S2: หนา 1/2
คําอธิบายขอมูล

                        5. อัตราดอกเบียมาตรฐาน (Bank Rate) เปนอัตราดอกเบี้ยทีธนาคารกลางเรียกเก็บจาก
                                              ้                                  ่
                           สถาบันการเงินทีใหกูยืมในวงเงินที่กําหนดจากฐานเงินฝากของสถาบันการเงินแตละแหง
                                                       ่
                           โดยการใหกยมนี้ถือวาเปนแหลงกูยมแหลงสุดทาย (Lender of last resource) เมื่อมี
                                                ู ื          ื
                           ความจําเปนภายในระยะเวลาสั้นอยางมากไมเกิน 7 วัน ทั้งนี้ เพื่อรองรับความผันผวนของ
                           ความตองการใชเงินในตลาดเงินเปนสําคัญ หรือจากการเบิกถอนเงินฝากของประชาชนใน
                           ภาวะผิดปกติโดยจะชวยสรางความเชื่อมันใหกับระบบการชําระเงิน เปนตน หลักประกันที่
                                                                    ่
                           ใชในการกูยมเงินนี้สวนมากจะเปนหลักทรัพยรฐบาล เชน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตร ธปท.
                                             ื                         ั
                           และพันธบัตรกองทุนเพื่อการฟนฟูฯ ทังนี้ ธปท. ไดประกาศยกเลิกอัตราดอกเบียมาตรฐาน
                                                                 ้                                  ้
                           เมือวันที่ 25 กันยายน 2544 และใหใชอตราคาตอบแทนในการซือขายพันธบัตรกับสถาบัน
                              ่                                       ั                    ้
                           การเงินเพือปรับสภาพคลองสินวัน หรือ End-of-day Liquidity Rate แทน โดยมีผล
                                          ่              ้
                           บังคับใชตงแตวนที่ 1 ตุลาคม 2544 เปนตนไป
                                       ั้            ั
                        6. อัตราคาตอบแทนในการซือขายพันธบัตรกับสถาบันการเงินเพือปรับสภาพคลองสินวัน
                                                     ้                               ่                 ้
                           (End-of-day Liquidity Rate) เปนอัตราคาตอบแทนที่ ธปท. เรียกเก็บจากสถาบัน
                           การเงินในการซือขายพันธบัตรกับสถาบันการเงินเพื่อปรับสภาพคลองสิ้นวันโดยมี
                                           ้
                           ขอสัญญาวาผูขายจะซื้อคืน ทังนี้ ธปท. จะคิดคาตอบแทนดังกลาวในอัตราดอกเบียนโยบาย
                                                        ้                                            ้
                           บวกสวนตาง (Margin) รอยละ 1.5 ตอป และตอมาเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2550 ไดแยก
                           รายการ End-of-day Liquidity Rate ออกเปน Lending Facility และ Borrowing
                           Facility
                        อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินครอบคลุมอัตราดอกเบี้ยในประเทศ ซึ่งไดแก อัตราดอกเบี้ยเงินให
                        กูยืมระหวางธนาคาร อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตร อัตราดอกเบียในการซื้อขาย
                                                                                           ้
                        เงินตราตางประเทศลวงหนา อัตราคาตอบแทนในการซื้อขายพันธบัตรเพื่อปรับสภาพคลองสิ้น
                        วัน อัตราดอกเบียพันธบัตร และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินใหกูยืมของสถาบันการเงิน
                                        ้
                        รวมทั้งอัตราดอกเบียตางประเทศที่สําคัญไดแก อัตราดอกเบี้ยของประเทศสหรัฐฯ อัตรา
                                          ้
                        ดอกเบียเงินกูระหวางธนาคารในตลาดลอนดอน และตลาดสิงคโปร
                                ้     
                        ขอมูลอัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินเปนอัตราดอกเบียที่ ธปท. จัดเก็บรวบรวมจากธุรกรรม
                                                                      ้
                        ที่เกิดขึนในตลาดเงินแตละวันแลวถัวเฉลียเปนรายเดือน สวนอัตราดอกเบียเงินฝากและเงินให
                                 ้                              ่                            ้
                        กูยืมของสถาบันการเงินเปนอัตราดอกเบีย ณ วันสิ้นเดือนที่สถาบันการเงินแตละแหงประกาศ
                                                              ้
                        กําหนด โดยขอมูลของธนาคารพาณิชยจะแสดงคาสูงสุดและต่ําสุดของ 5 ธนาคารพาณิชย
                        ไดแก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย และธนาคาร
                        กรุงศรีอยุธยา

แหลงทีมาของขอมูล
       ่                ธนาคารแหงประเทศไทย

สื่อทีใชในการเผยแพร
      ่                 เว็บไซต ธนาคารแหงประเทศไทย
                        (http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=223&language=th
                        )
การปรับปรุงขอมูล       -

                                                                                            ทีมสถิตตลาดการเงิน
                                                                                                   ิ
                                                                                               ฝายบริหารขอมูล
                                                                                            โทร 0-2283-5141




                                         FM_RT_001_S2: หนา 2/2

Contenu connexe

En vedette

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationErica Santiago
 

En vedette (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

อัตราดอกเบี้ย Bot

  • 1. คําอธิบายขอมูล รหัสของตาราง FM_RT_001_S2 ชือตาราง ่ อัตราดอกเบียในตลาดเงิน (2548-ปจจุบน) ้ ั ความถีของขอมูล ความลาชา ่ ความถี่ รายเดือน และกําหนดเวลาเผยแพร ความลาชา 10 วัน กําหนดเวลาเผยแพร ขอมูลเบืองตน ทุกวันที่ 10 ้ ขอมูลจริง จะปรับปรุงแกไข (ถามี) และเผยแพรในงวดการเผยแพรถัดไป หลักวิธทางสถิติ ี อัตราดอกเบีย หมายถึงผลตอบแทนหรือจํานวนเงินที่ผกูตองจายชําระใหแกผูใหกูโดยสัญญาวา ้ ู หลักการ นิยาม และการจัด จะชําระคืนเต็มมูลคาในวันที่ครบกําหนดในอนาคตตามทีตกลงกันไว ซึ่งแบงไดเปนหลาย ่ กลุม  ประเภท ดังนี้ ความครอบคลุม 1. อัตราดอกเบียเงินใหกยมระหวางธนาคาร (Interbank Rate) เปนอัตราดอกเบียเงินกูยมใน ้ ู ื ้  ื การบันทึกขอมูลและมาตรฐาน ตลาดเงินระยะสั้น เพื่อใชในการปรับสภาพคลองของธนาคารพาณิชยโดยธุรกรรมอาจจะอยู บัญชีทเกียวของ ี่ ่ ในรูปการกูยืมแบบจายคืนเมื่อทวงถาม (at call) หรือเปนการกูยมแบบมีกําหนดระยะเวลา  ื ลักษณะของขอมูลและวิธการ ี (term) ตั้งแต 1 วัน ถึง 6 เดือน ในทางปฏิบติสวนใหญประมาณรอยละ 50-70 เปนการ ั จัดเก็บ กูยืมระยะ 1 วัน (Overnight) รองลงมาเปนการกูยืมแบบจายคืนเมื่อทวงถาม (at call) วิธประมวลผลขอมูล ี อนึ่ง ถาเปนการกูยืมในตลาดระหวางสถาบันการเงินดวยกันจะเรียกวา Interfinance และ อัตราดอกเบี้ยที่ใชเรียกวา Interfinance Rate 2. อัตราดอกเบียเงินกู (Lending Rate) : ้ 2.1 อัตราดอกเบีย MLR (Minimum Lending Rate) หรือ (Minimum Loan Rate) ้ หมายถึงอัตราดอกเบียเงินกูแบบมีระยะเวลาที่ธนาคารพาณิชยเรียกเก็บจากลูกคาราย ้ ใหญชั้นดี 2.2 อัตราดอกเบีย MOR (Minimum Overdraft Rate) หมายถึงอัตราดอกเบียประเภท ้ ้ เบิกเกินบัญชีทธนาคารพาณิชยเรียกเก็บจากลูกคารายใหญชนดี ี่ ั้ 2.3 อัตราดอกเบีย MRR (Minimum Retail Rate) หมายถึงอัตราดอกเบียเงินกูที่ ้ ้ ธนาคารพาณิชยเรียกเก็บจากลูกคารายยอยชั้นดี ทั้งนี้ใชโยงเขากับอัตราดอกเบีย ้ MLR เพื่อใหสามารถสะทอนระดับความเสี่ยงที่แตกตางกันระหวางลูกคารายใหญกบ ั ลูกคารายยอยไดโดยบวกสวนตางสูงสุดที่ธนาคารพาณิชยประกาศไมเกินรอยละ 4 ตอ ป ทังนี้ ธนาคารแหงประเทศไทยไดมหนังสือเวียนลงวันที่ 10 สิงหาคม 2544 ยกเลิก ้ ี การกําหนดสวนตางไมเกินรอยละ 4 ตอป เพือใหมความเสมอภาคในการแขงขันเสนอ ่ ี บริการสินเชือ เพือตอบสนองความตองการของลูกคาในรูปแบบตางๆ มากขึน ่ ่ ้ 3. อัตราดอกเบียอางอิง (Reference Rate) เปนอัตราดอกเบี้ยที่ ธปท. ประกาศทุกวันศุกร ้ เพื่อใชในการอางอิงสําหรับการกําหนดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารพาณิชยไทยใน สัปดาหถัดไป ประกอบดวยอัตราดอกเบียเงินฝากออมทรัพย อัตราดอกเบียเงินฝาก ้ ้ ระยะเวลา 3 เดือน 6 เดือน และ 12 เดือน อัตราดอกเบี้ยอางอิงจะคํานวณมาจากอัตราดอกเบี้ยลาสุดเฉลียของธนาคารพาณิชย 5 ่ ธนาคารไดแก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา ทังนี้ ธปท. ไดประกาศยกเลิกอัตราดอกเบียอางอิงโดยมีผลบังคับ ้ ้ ใชตงแตวนที่ 17 กุมภาพันธ 2547 เพือใหอตราดอกเบียเงินฝากลอยตัวอยางแทจริง ซึงจะ ั้ ั ่ ั ้ ่ ทําใหผฝากเงินไดรบผลตอบแทนอยางเต็มที่ ู ั 4. อัตราดอกเบียเงินใหกยมในตลาดซือคืนพันธบัตร (Repurchase Rate) เปนอัตรา ้ ู ื ้ ดอกเบียที่ใชในการกูยมโดยการซื้อขายพันธบัตรที่มีสัญญาซื้อคืน/ขายคืนพันธบัตรที่ใชเปน ้ ื หลักทรัพยวางประกัน ไดแก พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตร ธปท. และพันธบัตร รัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังค้ําประกันเงินตนและดอกเบี้ยของสถาบันการเงินทีเปน่ สมาชิกในตลาดซื้อคืนพันธบัตรโดย ธปท. เปนนายทะเบียนและตัวแทนการรับจายเงินซึ่ง ถือวาเปนคูสัญญาโดยตรงกับผูซอและผูขายโดยระยะเวลาการกูยมจะเปน 1 วัน  ื้  ื 7 วัน 14 วัน 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน ทั้งนี้ ธปท. ใชอัตราดอกเบียตลาดซื้อ ้ คืนระยะ 1 วัน เปนอัตราดอกเบียนโยบายในการสงสัญญาณการดําเนินนโยบายทางการเงิน ้ ภายใตกรอบ Inflation Targeting และตอมาเมือวันที่ ่ 12 กุมภาพันธ 2551 ธนาคารแหงประเทศไทยไดกําหนดใหเปนวันทําการสุดทายของ ตลาดซื้อคืนธปท. FM_RT_001_S2: หนา 1/2
  • 2. คําอธิบายขอมูล 5. อัตราดอกเบียมาตรฐาน (Bank Rate) เปนอัตราดอกเบี้ยทีธนาคารกลางเรียกเก็บจาก ้ ่ สถาบันการเงินทีใหกูยืมในวงเงินที่กําหนดจากฐานเงินฝากของสถาบันการเงินแตละแหง ่ โดยการใหกยมนี้ถือวาเปนแหลงกูยมแหลงสุดทาย (Lender of last resource) เมื่อมี ู ื ื ความจําเปนภายในระยะเวลาสั้นอยางมากไมเกิน 7 วัน ทั้งนี้ เพื่อรองรับความผันผวนของ ความตองการใชเงินในตลาดเงินเปนสําคัญ หรือจากการเบิกถอนเงินฝากของประชาชนใน ภาวะผิดปกติโดยจะชวยสรางความเชื่อมันใหกับระบบการชําระเงิน เปนตน หลักประกันที่ ่ ใชในการกูยมเงินนี้สวนมากจะเปนหลักทรัพยรฐบาล เชน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตร ธปท.  ื ั และพันธบัตรกองทุนเพื่อการฟนฟูฯ ทังนี้ ธปท. ไดประกาศยกเลิกอัตราดอกเบียมาตรฐาน  ้ ้ เมือวันที่ 25 กันยายน 2544 และใหใชอตราคาตอบแทนในการซือขายพันธบัตรกับสถาบัน ่ ั ้ การเงินเพือปรับสภาพคลองสินวัน หรือ End-of-day Liquidity Rate แทน โดยมีผล ่ ้ บังคับใชตงแตวนที่ 1 ตุลาคม 2544 เปนตนไป ั้ ั 6. อัตราคาตอบแทนในการซือขายพันธบัตรกับสถาบันการเงินเพือปรับสภาพคลองสินวัน ้ ่ ้ (End-of-day Liquidity Rate) เปนอัตราคาตอบแทนที่ ธปท. เรียกเก็บจากสถาบัน การเงินในการซือขายพันธบัตรกับสถาบันการเงินเพื่อปรับสภาพคลองสิ้นวันโดยมี ้ ขอสัญญาวาผูขายจะซื้อคืน ทังนี้ ธปท. จะคิดคาตอบแทนดังกลาวในอัตราดอกเบียนโยบาย ้ ้ บวกสวนตาง (Margin) รอยละ 1.5 ตอป และตอมาเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2550 ไดแยก รายการ End-of-day Liquidity Rate ออกเปน Lending Facility และ Borrowing Facility อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินครอบคลุมอัตราดอกเบี้ยในประเทศ ซึ่งไดแก อัตราดอกเบี้ยเงินให กูยืมระหวางธนาคาร อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตร อัตราดอกเบียในการซื้อขาย ้ เงินตราตางประเทศลวงหนา อัตราคาตอบแทนในการซื้อขายพันธบัตรเพื่อปรับสภาพคลองสิ้น วัน อัตราดอกเบียพันธบัตร และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินใหกูยืมของสถาบันการเงิน ้ รวมทั้งอัตราดอกเบียตางประเทศที่สําคัญไดแก อัตราดอกเบี้ยของประเทศสหรัฐฯ อัตรา ้ ดอกเบียเงินกูระหวางธนาคารในตลาดลอนดอน และตลาดสิงคโปร ้  ขอมูลอัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินเปนอัตราดอกเบียที่ ธปท. จัดเก็บรวบรวมจากธุรกรรม ้ ที่เกิดขึนในตลาดเงินแตละวันแลวถัวเฉลียเปนรายเดือน สวนอัตราดอกเบียเงินฝากและเงินให ้ ่ ้ กูยืมของสถาบันการเงินเปนอัตราดอกเบีย ณ วันสิ้นเดือนที่สถาบันการเงินแตละแหงประกาศ ้ กําหนด โดยขอมูลของธนาคารพาณิชยจะแสดงคาสูงสุดและต่ําสุดของ 5 ธนาคารพาณิชย ไดแก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย และธนาคาร กรุงศรีอยุธยา แหลงทีมาของขอมูล ่ ธนาคารแหงประเทศไทย สื่อทีใชในการเผยแพร ่ เว็บไซต ธนาคารแหงประเทศไทย (http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=223&language=th ) การปรับปรุงขอมูล - ทีมสถิตตลาดการเงิน ิ ฝายบริหารขอมูล โทร 0-2283-5141 FM_RT_001_S2: หนา 2/2