SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
โรคตาบอดสี
    ตาบอดสี หรือที่เรียกว่า color blindness เป็นอาการที่ตาของผู้ป่วยแปรผลแปรภาพสีผิดไป จาก
    ผู้อื่นที่เป็นตาปกติ

   ปกติแล้วตาคนเราจะมีเซลรับแสงอยู่ 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นเซลรับแสงที่รับรู้ถึงความมืด หรือ สว่าง
    ไม่สามารถแยกสีออกได้และจะมีความไวต่อการกระตุ้นแม้ในที่ที่มีแสงเพียงเล็กน้อย เซลกลุ่มที่สอง
    เป็นเซลล์ทาหน้าที่มองเห็นสีต่าง ๆ โดยจะแยกได้เป็นเซล อีก 3 ชนิด ตามระดับคลื่นแสง หรือสี ที่
    กระตุ้น คือ เซลล์รับแสงสีแดง เซลล์รับแสงสีน้าเงิน และเซลรับแสงสีเขียวสาหรับแสงสีอื่น จะ
    กระตุ้นเซลดังกล่าวมากกว่าหนึ่งชนิดแล้วให้สมองเราแปลภาพออก มาเป็นสีที่ต้องการ ซึ่งเซลกลุ่มที่
    สองนี้จะ ทางานได้ดีต้องมีแสงสว่างเพียงพอ ดังนั้นในที่สลัว ๆ เราจึงไม่สามารถแยกสีของวัตถุได้
    แต่ยังพอบอก รูปร่างได้ เนื่องจากมีการทางานในเซลของกลุ่มแรกอยู่ เมื่อเพิ่มแสงสว่างขึ้นเราจึง
    มองเห็นสีต่าง ๆ ขึ้นมา
สาเหตุการเกิดตาบอดสี
   ตาบอดสี (Color blindness)เกิดขึ้นจากเซลล์ประสาทชนิดหนึ่ง ในม่านตาซึงมีความไวต่อ
                                                                             ่
  สีต่าง ๆ มีความบกพร่องหรือพิการ ทาให้ดวงตาไม่สามารถทีจะมองเห็นสีบางสีได้ ตาบอด
                                                             ่
  สี มีหลายชนิด ชนิดที่ทุกคนรู้จักโดยทั่วไปได้แก่ ตาบอดสีที่มองสีเขียว กับสีแดงไม่เห็น
  (Red – Green blindness) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถแยกสีแดงกับสีเขียวจากสีอื่น ๆ ได้
  ดังนั้นคนตาบอดสีชนิดนี้จะมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ในโลกเป็นสีน้าเงิน สีเหลือง สีขาว สีดา สี
  เทา และส่วนผสมของสีเหล่านั้นทั้งหมด
        สาเหตุต่าง ๆ เช่น การอักเสบ ภาวะขาดเลือด อุบัตเหตุเนื้อ งอก การเสื่อมลงของ
                                                         ิ
  จอประสาทตา หรือผลข้างเคียงจากยาหรือสารเคมี
อาการ

          ตาบอดสีมีหลายชนิด ชนิดที่พบบ่อยที่สุด เรียกว่า red/green color blindness โดยจะแยก สีแดงและสี
    เขียวค่อนข้างลาบากโดยเฉพาะเวลาที่แสงไม่สว่างนัก ส่วนน้อยลงมาของคนที่มีตาบอด สีคือพวกที่ไม่สามารถ
    แยกสีน้าเงินกับสีเหลือง จะมีบ้างเหมือนกันที่เป็นโรคตาบอดสีทุกสีเลยแต่ เป็น ส่วนน้อยมาก คนที่บอดสีแดง-
    เขียวมักจะบอดสี น้าเงิน-เหลืองด้วย ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นตาบอดสี ชนิดใด ล้วนจะมีสายตาหรือการมองเห็น
    (vision) ที่เป็นปกติ เพียงแต่ความสามารถในการแยกสี ไม่ปกติเท่านั้นเอง

          ป่วยมักจะมีอาการเรียกชื่อสีหรือเห็นสีผิดไปจากเดิม โดยมากพบความผิดปกติของการมอง สี น้าเงิน
    เหลือง มากกว่าแดงเขียว ความผิดปกติของตาทัง 2 ข้างไม่เท่ากัน อาจเป็นตาเดียวหรือทั้ง 2 ตา มีการ
                                                   ้
    เปลียนแปลงมากขึนหรือลดลงได้ รวมทั้งมีความผิดปกติของสายตาด้านอื่น ๆ เช่น การมอง เห็นและลาน
        ่             ้
    สายตาลดลงได้ ขึ้นอยู่กบสาเหตุและความรุนแรงของโรค
                          ั
   โรคตาบอดสี พบได้ประมาณ 8% ของประชากร
    แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มที่เป็นตั้งแต่กาเนิด
    (congenital color vision defects) และกลุ่มที่เป็น
    ภายหลัง (acquired color vision defects) ซึ่งมักพบ
    กลุ่มแรก คือกลุ่มที่เป็นตั้งแต่กาเนิดบ่อยกว่ากลุ่มที่เป็น
    ภายหลัง
    เมื่อพิจารณาในกลุ่มที่เป็นตั้งแต่เกิด กลุ่มย่อยที่พบได้
    บ่อยที่สุด คือ กลุ่มที่บอดสีเขียว-แดง ซึ่งพบได้
    ประมาณ 5-8% ในผู้ชาย และพบเพียง 0.5% ในผู้หญิง
    (ผู้ชายพบได้บ่อยกว่า)
    ส่วนในกลุ่มที่เป็นภายหลัง มักพบเป็นการบอดสีน้าเงิน-
    เหลือง และพบได้พอๆกันทั้งชายและหญิง ซึ่งจานวนคน
    ที่เป็นในกลุ่มนี้น้อยกว่ากลุ่มที่เป็นแต่กาเนิดมาก
ภาพแสดงการถ่ายทอดทางพันธุกรรมโดยโครโมโซม




         การพบโรคนีในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง และมักเป็นกับแบบ แดง-แทบทั้งหมด เนื่องจากว่ายีน ที่ควบคุมการสร้างรงควัตถุรับสีชนิดสี
                      ้
 แดง และสีเขียวนัน (red-pigment เขียวgene, green-pigment gene) อยูบนโครโมโซม X เมื่อยีนนี้ขาดตกบกพร่องไปในคนใดคนหนึง
                    ้                                                         ่                                                        ่
 ก็จะทาให้คนนันสามารถรับรู้ สีเหล่านันได้ลดลงกว่าคนปกติแน่นอนว่าผู้หญิงมีโอกาสเป็นน้อยกว่าเนื่องจากในผูหญิงมีโครโมโซม X ถึงสอง
              ้                       ้                                                                    ้
 ตัว ถ้าเพียงแต่ X ตัวใดตัวหนึ่งมียนเหล่านี้อยู่ ก็สามารถรับรูสีได้แล้ว ในขณะที่ผ้ชาย มีโครโมโซม X เพียงตัวเดียว อีกตัวเป็น Y ซึ่งไม่ได้
                                   ี                          ้                   ู
 มีแพคเกจบรรจุยนนี้แถมมาด้วย ;) ก็จะแสดง อาการได้เมื่อ X ตัวเดียวเท่าที่มีอยู่นั้นบกพร่องไป
                  ี
โดย นพ.ณวัฒน์ วัฒนชัย จักษุแพทย์



                                    คณะผู้จัดทา
                                    นางสาวมยุตรา จุลสินธุ์

                                    นางสาวหทัยรัตน์ แซ่ซิ้ม

                                    นางสาววนิดา นารีจัน

                                    นางสาวศิรวิมล แสนสวัสดิ์
                                               ิ
                                    นายอมรเทพ ปะสาโท



       จบ

Contenu connexe

Tendances

นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดล
Bios Logos
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
Namthip Theangtrong
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
พัน พัน
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 

Tendances (20)

บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดล
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 

En vedette (7)

ใบความรู้ ลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2 +ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f23-1page
ใบความรู้  ลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2  +ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f23-1pageใบความรู้  ลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2  +ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f23-1page
ใบความรู้ ลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2 +ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f23-1page
 
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีโรคตาบอดสี
โรคตาบอดสี
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Management and Treatment of Recurrent Apthous ulcer’s
Management and Treatment of Recurrent Apthous ulcer’sManagement and Treatment of Recurrent Apthous ulcer’s
Management and Treatment of Recurrent Apthous ulcer’s
 
Aphthous Ulcer
Aphthous UlcerAphthous Ulcer
Aphthous Ulcer
 
Periodontal Diesase Classification (presentation)
Periodontal Diesase Classification (presentation)Periodontal Diesase Classification (presentation)
Periodontal Diesase Classification (presentation)
 

Similaire à โรคตาบอดสี

ภัสสร กาญจนา
ภัสสร  กาญจนาภัสสร  กาญจนา
ภัสสร กาญจนา
supphawan
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อิน
supphawan
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
Melody Minhyok
 
อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์
บีม ก็ดีนะ
 
อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์
บีม ก็ดีนะ
 
N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1
Wichai Likitponrak
 

Similaire à โรคตาบอดสี (9)

ภัสสร กาญจนา
ภัสสร  กาญจนาภัสสร  กาญจนา
ภัสสร กาญจนา
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อิน
 
Presentation final
Presentation finalPresentation final
Presentation final
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
Is 2 3 9
Is 2 3 9Is 2 3 9
Is 2 3 9
 
อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์
 
อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์อัลไซเมอร์
อัลไซเมอร์
 
N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1
 

Plus de Roongroeng

ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
Roongroeng
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
Roongroeng
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
Roongroeng
 
โรคฮีโมฟีเลีย
โรคฮีโมฟีเลียโรคฮีโมฟีเลีย
โรคฮีโมฟีเลีย
Roongroeng
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
Roongroeng
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
Roongroeng
 

Plus de Roongroeng (6)

ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 
โรคฮีโมฟีเลีย
โรคฮีโมฟีเลียโรคฮีโมฟีเลีย
โรคฮีโมฟีเลีย
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 

โรคตาบอดสี

  • 1.
  • 2. โรคตาบอดสี  ตาบอดสี หรือที่เรียกว่า color blindness เป็นอาการที่ตาของผู้ป่วยแปรผลแปรภาพสีผิดไป จาก ผู้อื่นที่เป็นตาปกติ  ปกติแล้วตาคนเราจะมีเซลรับแสงอยู่ 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นเซลรับแสงที่รับรู้ถึงความมืด หรือ สว่าง ไม่สามารถแยกสีออกได้และจะมีความไวต่อการกระตุ้นแม้ในที่ที่มีแสงเพียงเล็กน้อย เซลกลุ่มที่สอง เป็นเซลล์ทาหน้าที่มองเห็นสีต่าง ๆ โดยจะแยกได้เป็นเซล อีก 3 ชนิด ตามระดับคลื่นแสง หรือสี ที่ กระตุ้น คือ เซลล์รับแสงสีแดง เซลล์รับแสงสีน้าเงิน และเซลรับแสงสีเขียวสาหรับแสงสีอื่น จะ กระตุ้นเซลดังกล่าวมากกว่าหนึ่งชนิดแล้วให้สมองเราแปลภาพออก มาเป็นสีที่ต้องการ ซึ่งเซลกลุ่มที่ สองนี้จะ ทางานได้ดีต้องมีแสงสว่างเพียงพอ ดังนั้นในที่สลัว ๆ เราจึงไม่สามารถแยกสีของวัตถุได้ แต่ยังพอบอก รูปร่างได้ เนื่องจากมีการทางานในเซลของกลุ่มแรกอยู่ เมื่อเพิ่มแสงสว่างขึ้นเราจึง มองเห็นสีต่าง ๆ ขึ้นมา
  • 3. สาเหตุการเกิดตาบอดสี ตาบอดสี (Color blindness)เกิดขึ้นจากเซลล์ประสาทชนิดหนึ่ง ในม่านตาซึงมีความไวต่อ ่ สีต่าง ๆ มีความบกพร่องหรือพิการ ทาให้ดวงตาไม่สามารถทีจะมองเห็นสีบางสีได้ ตาบอด ่ สี มีหลายชนิด ชนิดที่ทุกคนรู้จักโดยทั่วไปได้แก่ ตาบอดสีที่มองสีเขียว กับสีแดงไม่เห็น (Red – Green blindness) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถแยกสีแดงกับสีเขียวจากสีอื่น ๆ ได้ ดังนั้นคนตาบอดสีชนิดนี้จะมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ในโลกเป็นสีน้าเงิน สีเหลือง สีขาว สีดา สี เทา และส่วนผสมของสีเหล่านั้นทั้งหมด สาเหตุต่าง ๆ เช่น การอักเสบ ภาวะขาดเลือด อุบัตเหตุเนื้อ งอก การเสื่อมลงของ ิ จอประสาทตา หรือผลข้างเคียงจากยาหรือสารเคมี
  • 4. อาการ  ตาบอดสีมีหลายชนิด ชนิดที่พบบ่อยที่สุด เรียกว่า red/green color blindness โดยจะแยก สีแดงและสี เขียวค่อนข้างลาบากโดยเฉพาะเวลาที่แสงไม่สว่างนัก ส่วนน้อยลงมาของคนที่มีตาบอด สีคือพวกที่ไม่สามารถ แยกสีน้าเงินกับสีเหลือง จะมีบ้างเหมือนกันที่เป็นโรคตาบอดสีทุกสีเลยแต่ เป็น ส่วนน้อยมาก คนที่บอดสีแดง- เขียวมักจะบอดสี น้าเงิน-เหลืองด้วย ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นตาบอดสี ชนิดใด ล้วนจะมีสายตาหรือการมองเห็น (vision) ที่เป็นปกติ เพียงแต่ความสามารถในการแยกสี ไม่ปกติเท่านั้นเอง ป่วยมักจะมีอาการเรียกชื่อสีหรือเห็นสีผิดไปจากเดิม โดยมากพบความผิดปกติของการมอง สี น้าเงิน เหลือง มากกว่าแดงเขียว ความผิดปกติของตาทัง 2 ข้างไม่เท่ากัน อาจเป็นตาเดียวหรือทั้ง 2 ตา มีการ ้ เปลียนแปลงมากขึนหรือลดลงได้ รวมทั้งมีความผิดปกติของสายตาด้านอื่น ๆ เช่น การมอง เห็นและลาน ่ ้ สายตาลดลงได้ ขึ้นอยู่กบสาเหตุและความรุนแรงของโรค ั
  • 5. โรคตาบอดสี พบได้ประมาณ 8% ของประชากร แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มที่เป็นตั้งแต่กาเนิด (congenital color vision defects) และกลุ่มที่เป็น ภายหลัง (acquired color vision defects) ซึ่งมักพบ กลุ่มแรก คือกลุ่มที่เป็นตั้งแต่กาเนิดบ่อยกว่ากลุ่มที่เป็น ภายหลัง เมื่อพิจารณาในกลุ่มที่เป็นตั้งแต่เกิด กลุ่มย่อยที่พบได้ บ่อยที่สุด คือ กลุ่มที่บอดสีเขียว-แดง ซึ่งพบได้ ประมาณ 5-8% ในผู้ชาย และพบเพียง 0.5% ในผู้หญิง (ผู้ชายพบได้บ่อยกว่า) ส่วนในกลุ่มที่เป็นภายหลัง มักพบเป็นการบอดสีน้าเงิน- เหลือง และพบได้พอๆกันทั้งชายและหญิง ซึ่งจานวนคน ที่เป็นในกลุ่มนี้น้อยกว่ากลุ่มที่เป็นแต่กาเนิดมาก
  • 6. ภาพแสดงการถ่ายทอดทางพันธุกรรมโดยโครโมโซม การพบโรคนีในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง และมักเป็นกับแบบ แดง-แทบทั้งหมด เนื่องจากว่ายีน ที่ควบคุมการสร้างรงควัตถุรับสีชนิดสี ้ แดง และสีเขียวนัน (red-pigment เขียวgene, green-pigment gene) อยูบนโครโมโซม X เมื่อยีนนี้ขาดตกบกพร่องไปในคนใดคนหนึง ้ ่ ่ ก็จะทาให้คนนันสามารถรับรู้ สีเหล่านันได้ลดลงกว่าคนปกติแน่นอนว่าผู้หญิงมีโอกาสเป็นน้อยกว่าเนื่องจากในผูหญิงมีโครโมโซม X ถึงสอง ้ ้ ้ ตัว ถ้าเพียงแต่ X ตัวใดตัวหนึ่งมียนเหล่านี้อยู่ ก็สามารถรับรูสีได้แล้ว ในขณะที่ผ้ชาย มีโครโมโซม X เพียงตัวเดียว อีกตัวเป็น Y ซึ่งไม่ได้ ี ้ ู มีแพคเกจบรรจุยนนี้แถมมาด้วย ;) ก็จะแสดง อาการได้เมื่อ X ตัวเดียวเท่าที่มีอยู่นั้นบกพร่องไป ี
  • 7. โดย นพ.ณวัฒน์ วัฒนชัย จักษุแพทย์  คณะผู้จัดทา  นางสาวมยุตรา จุลสินธุ์  นางสาวหทัยรัตน์ แซ่ซิ้ม  นางสาววนิดา นารีจัน  นางสาวศิรวิมล แสนสวัสดิ์ ิ  นายอมรเทพ ปะสาโท จบ