SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
ใบความรู้ที่ ๕.๑
บทร้อยกรอง
ความหมายของร้อยกรอง
ร้อยกรอง คือ งานเขียนที่มีการเลือกใช้คาโดยนามาประกอบกันเข้าตามลักษณะบังคับ
อันได้แก่การบังคับจานวนคาเสียงสูงต่าหนัก (ครุ) เบา (ลหุ) เอกโทและสัมผัสตามรูปแบบของ
ร้อยกรองแต่ละชนิดซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆกันเช่นกวีนิพนธ์คาประพันธ์บทประพันธ์บทกวี กวีวัจนะ
บทกานท์ เป็นต้น
ลักษณะบังคับของร้อยกรองลักษณะบังคับที่ทาให้ร้อยกรองมีลักษณะพิเ
ศษจากข้อเขียนร้อยแก้วมีอยู่ ๙ ประการดังนี้
คณะ คือ
แบบบังคับที่วางกาหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่าคาประพันธ์ชนิดนั้นๆแต่ละบทจะมีกี่บาทแต่ละบาทจะมี
กี่วรรคแต่ละวรรคจะมีกี่คาเช่นโคลงสี่สุภาพกาหนดไว้ว่าคณะหนึ่งหรือบทหนึ่งมีสี่บาทบาทละ
๒ วรรควรรคหน้ามี ๕ คาวรรคหลังมี ๒ คา (พยางค์) ส่วนวรรคหลังบาทที่ ๔ มี ๔ คา
(พยางค์ฉะนั้นโคลงสี่สุภาพ ๑ บทจะมี ๓๐คาอาจมีคาสร้อยต่อท้ายบาทที่ ๑๓ และบังคับเอก ๗
โท ๔ แห่งดังนี้เป็นต้น
อ่านหนังสือเสร็จเรา
ไปเล่นกันนะ..
สัมผัสคือลักษณะบังคับให้ใช้คาที่มีเสียงคล้องจองกันซึ่งมี๒ชนิดคือ
ก. สัมผัสสระเป็นเสียงที่มีสระตัวสะกดในมาตราเดียวกันเช่นอ้อน-งอน-ห่อน-ขอน-จร
(จราจร)-อุดร-
ข. สัมผัสอักษรเป็นคาที่ใช้พยัญชนะต้นเหมือนกันเช่นรัก-ร้าง-รื่น-ทรวง-ส้ม-ซ่อน-
แสง-โทรม-เศร้า-ซวนเซเป็นต้นสัมผัสยังแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ
- สัมผัสนอกวรรคเป็นสัมผัสนอกบังคับจะเป็นสัมผัสสระเท่านั้น
-
สัมผัสในคือสัมผัสในบังคับเป็นสัมผัสที่อยู่ภายในวรรคเดียวกันไม่บังคับว่าจะเป็นสัมผัสสระห
รือสัมผัสอักษรก็ได้
ครุ-ลหุ คือ คาที่มีเสียงหนัก-เบาใช้ในคาประพันธ์ประเภทฉันท์
ครุ :เสียงหนักคือพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงยาวในมาตราแม่
ก.กาและมีตัวสะกดรวมทั้งประสมด้วย อา ไอ ใอ เอา เช่น จาได้
ไป เขารักลูก
ลหุ :คาที่มีเสียงเบาคือพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น เช่น จะ ดุ ติ
ผิว กระทะ ฤ ฯลฯ
ครุ-ลหุ มีสัญลักษณ์แทนดังนี้
กั เป็นสัญลักษณ์แทนครุ
กุ เป็นสัญลักษณ์แทนลหุ
อากาศดี
จังเลย !
เอก-โท คือคาที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์เอกโทนิยมใช้กับคาประพันธ์ประเภทร่าย โคลง
คาเป็น -คาตายใช้ในโคลง
คาเป็น คือ คาที่ประสมด้วยสระเสียงยาวเช่นตาดีแม้เสือดูและคาที่ประสมด้วย
มาตราตัวสะกดในแม่กง กน กม เกย เกอว เช่น ลม โชย เย็น ช่าง ชื่นใจ เป็นต้น
คาตาย คือ คาที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นเช่นเดียวกับคาลหุและคาที่ประสมด้วยมาตรา
ตัวสะกดในแม่กก กด กบ เช่น แกลบ เจ็บ โยก หลุด ฤทธิ์ ประจบ เป็นต้น
พยางค์หรือคา คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆแต่จะนับแทนที่กันได้เช่นสมัคร
สมานอาจเป็น ๒๓ หรือ ๔พยางค์ในแต่ละประเภทไม่เหมือนกัน
วรรณยุกต์ คือ เสียงสูง-ต่า ตามตาแหน่งของบทประพันธ์เช่นคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒
ของกลอนจะต้องใช้เสียงสูงตัวอย่างเช่น
งานวันเกิดยิ่งใหญ่ใครคนนั้น
ฉลองกันในกลุ่มผู้ลุ่มหลง
หลงลาภยศสรรเสริญเพลินทะนง
วันเกิดส่งชีพสั้นเร่งวันตาย
อีกมุมหนึ่งซึ่งเหงาน่าเศร้าแท้
หญิงแก่แก่ทั้งเหงาและคอยหาย
โอ้วันนั้นเป็นวันอันตราย
แม่คลอดสายโลหิตแทบปลิดชนม์
คาว่าหลงหายต่างมีวรรณยุกต์เสียงสูงตายชนม์ต่างมีวรรณยุกต์เสียงสามัญเป็นต้น

Contenu connexe

En vedette

แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำRung Kru
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2Rung Kru
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 
นิทานชาดก
นิทานชาดกนิทานชาดก
นิทานชาดกRung Kru
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓Rung Kru
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑Rung Kru
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ภาษาอังกฤษคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ภาษาอังกฤษKingkarn Saowalak
 
แบบฝึกทักษะ
แบบฝึกทักษะแบบฝึกทักษะ
แบบฝึกทักษะKingkarn Saowalak
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 

En vedette (20)

แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
นิทานชาดก
นิทานชาดกนิทานชาดก
นิทานชาดก
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ภาษาอังกฤษคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
English 1
English 1English 1
English 1
 
ตัวการันต์
ตัวการันต์ตัวการันต์
ตัวการันต์
 
แบบฝึกทักษะ
แบบฝึกทักษะแบบฝึกทักษะ
แบบฝึกทักษะ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
Worksheet color and numbers
Worksheet color and numbersWorksheet color and numbers
Worksheet color and numbers
 

ใบความรู้ที่ 5.1

  • 1. ใบความรู้ที่ ๕.๑ บทร้อยกรอง ความหมายของร้อยกรอง ร้อยกรอง คือ งานเขียนที่มีการเลือกใช้คาโดยนามาประกอบกันเข้าตามลักษณะบังคับ อันได้แก่การบังคับจานวนคาเสียงสูงต่าหนัก (ครุ) เบา (ลหุ) เอกโทและสัมผัสตามรูปแบบของ ร้อยกรองแต่ละชนิดซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆกันเช่นกวีนิพนธ์คาประพันธ์บทประพันธ์บทกวี กวีวัจนะ บทกานท์ เป็นต้น ลักษณะบังคับของร้อยกรองลักษณะบังคับที่ทาให้ร้อยกรองมีลักษณะพิเ ศษจากข้อเขียนร้อยแก้วมีอยู่ ๙ ประการดังนี้ คณะ คือ แบบบังคับที่วางกาหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่าคาประพันธ์ชนิดนั้นๆแต่ละบทจะมีกี่บาทแต่ละบาทจะมี กี่วรรคแต่ละวรรคจะมีกี่คาเช่นโคลงสี่สุภาพกาหนดไว้ว่าคณะหนึ่งหรือบทหนึ่งมีสี่บาทบาทละ ๒ วรรควรรคหน้ามี ๕ คาวรรคหลังมี ๒ คา (พยางค์) ส่วนวรรคหลังบาทที่ ๔ มี ๔ คา (พยางค์ฉะนั้นโคลงสี่สุภาพ ๑ บทจะมี ๓๐คาอาจมีคาสร้อยต่อท้ายบาทที่ ๑๓ และบังคับเอก ๗ โท ๔ แห่งดังนี้เป็นต้น อ่านหนังสือเสร็จเรา ไปเล่นกันนะ..
  • 2. สัมผัสคือลักษณะบังคับให้ใช้คาที่มีเสียงคล้องจองกันซึ่งมี๒ชนิดคือ ก. สัมผัสสระเป็นเสียงที่มีสระตัวสะกดในมาตราเดียวกันเช่นอ้อน-งอน-ห่อน-ขอน-จร (จราจร)-อุดร- ข. สัมผัสอักษรเป็นคาที่ใช้พยัญชนะต้นเหมือนกันเช่นรัก-ร้าง-รื่น-ทรวง-ส้ม-ซ่อน- แสง-โทรม-เศร้า-ซวนเซเป็นต้นสัมผัสยังแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ - สัมผัสนอกวรรคเป็นสัมผัสนอกบังคับจะเป็นสัมผัสสระเท่านั้น - สัมผัสในคือสัมผัสในบังคับเป็นสัมผัสที่อยู่ภายในวรรคเดียวกันไม่บังคับว่าจะเป็นสัมผัสสระห รือสัมผัสอักษรก็ได้ ครุ-ลหุ คือ คาที่มีเสียงหนัก-เบาใช้ในคาประพันธ์ประเภทฉันท์ ครุ :เสียงหนักคือพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงยาวในมาตราแม่ ก.กาและมีตัวสะกดรวมทั้งประสมด้วย อา ไอ ใอ เอา เช่น จาได้ ไป เขารักลูก ลหุ :คาที่มีเสียงเบาคือพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น เช่น จะ ดุ ติ ผิว กระทะ ฤ ฯลฯ ครุ-ลหุ มีสัญลักษณ์แทนดังนี้ กั เป็นสัญลักษณ์แทนครุ กุ เป็นสัญลักษณ์แทนลหุ อากาศดี จังเลย !
  • 3. เอก-โท คือคาที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์เอกโทนิยมใช้กับคาประพันธ์ประเภทร่าย โคลง คาเป็น -คาตายใช้ในโคลง คาเป็น คือ คาที่ประสมด้วยสระเสียงยาวเช่นตาดีแม้เสือดูและคาที่ประสมด้วย มาตราตัวสะกดในแม่กง กน กม เกย เกอว เช่น ลม โชย เย็น ช่าง ชื่นใจ เป็นต้น คาตาย คือ คาที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นเช่นเดียวกับคาลหุและคาที่ประสมด้วยมาตรา ตัวสะกดในแม่กก กด กบ เช่น แกลบ เจ็บ โยก หลุด ฤทธิ์ ประจบ เป็นต้น พยางค์หรือคา คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆแต่จะนับแทนที่กันได้เช่นสมัคร สมานอาจเป็น ๒๓ หรือ ๔พยางค์ในแต่ละประเภทไม่เหมือนกัน วรรณยุกต์ คือ เสียงสูง-ต่า ตามตาแหน่งของบทประพันธ์เช่นคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ของกลอนจะต้องใช้เสียงสูงตัวอย่างเช่น งานวันเกิดยิ่งใหญ่ใครคนนั้น ฉลองกันในกลุ่มผู้ลุ่มหลง หลงลาภยศสรรเสริญเพลินทะนง วันเกิดส่งชีพสั้นเร่งวันตาย อีกมุมหนึ่งซึ่งเหงาน่าเศร้าแท้ หญิงแก่แก่ทั้งเหงาและคอยหาย โอ้วันนั้นเป็นวันอันตราย แม่คลอดสายโลหิตแทบปลิดชนม์ คาว่าหลงหายต่างมีวรรณยุกต์เสียงสูงตายชนม์ต่างมีวรรณยุกต์เสียงสามัญเป็นต้น