SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
Télécharger pour lire hors ligne
Commercial
real estate
แนวโน้มธุรกิจพื้นที่สำนักงำนให้เช่ำ และธุรกิจพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำ
ปี 2023
EIC Industry insight
The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as
to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or
such information by the recipient or other persons in whatever manner.
Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct.
This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in
the companies mentioned here in.
บทสรุปผู้บริหาร หน้า 03
แนวโน้มตลาดสานักงานให้เช่า
ปี 2023 หน้า 06
แนวโน้มตลาดพื้นที่ค้าปลีก
ให้เช่าปี 2023 หน้า 18
ประเด็นที่ต้องจับตามอง
ของธุรกิจพื้นค้าปลีกให้
เช่าในระยะต่อไป หน้า 25
Contents
EIC Industry insight : Commercial real estate
ประเด็นที่ต้องจับตามอง
ของธุรกิจพื้นที่สานักงาน
ให้เช่าในระยะต่อไป หน้า 13
3
EIC Industry insight : Commercial real estate
• ตลาดสานักงานให้เช่ามีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย จากการผ่อนคลาย
การควบคุมโรค ซึ่งส่งผลให้ผู้คนส่วนใหญ่กลับเข้าไปทางานที่ออฟฟิศ
กันตามปกติ แต่รูปแบบการทางานแบบ Hybrid workplace จากที่
ออฟฟิศ ที่บ้าน หรือที่ไหนก็ได้ สลับกับการเข้าสานักงานจะมีบทบาท
มากขึ้น และจะส่งผลต่อความต้องการพื้นที่สานักงานให้ยังมีแนวโน้ม
ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในระยะต่อไป จากความจาเป็นการใช้พื้นที่
สานักงานของแต่ละบริษัทที่อาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลง รวมถึง
รูปแบบความต้องการพื้นที่สานักงานจะมีความหลากหลาย
และต้องการความยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น
• อุปทานพื้นที่เช่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะเพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน
ตร.ม. ในปี 2022-2023 (ตามแผนการเปิดของผู้ประกอบการ) ซึ่งจะ
เป็นปัจจัยกดดันอัตราปล่อยเช่าให้ชะลอตัวในปี 2023
• การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่มีแนวโน้มเป็นไปอย่าง
ค่อยเป็นค่อยไป รวมถึงเศรษฐกิจโลกที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง
ยังเป็นปัจจัยกดดันค่าเช่า โดยคาดว่าอัตราค่าเช่าในปี 2023 ยังมี
แนวโน้มฟื้นตัวได้เพียงเล็กน้อย ทั้งในกลุ่มเกรด A และเกรด B
โดยเฉพาะกลุ่ม Non-CBD เกรด B ที่มีแนวโน้มทรงตัวในปี 2022
• ในช่วง Medium-term (ปี 2024-2026) คาดว่าตลาดสานักงาน
ให้เช่ายังต้องเผชิญกับภาวะอุปทานส่วนเกินที่เพิ่มมากขึ้น
จากอุปทานที่มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราที่เร็วกว่าความต้องการพื้นที่
และคาดว่าอัตราการเติบโตเฉลี่ยของอุปทานพื้นที่เช่ารวมในช่วงปี
2024-2026 จะยังมากกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงปี 2015-2019 ซึ่งอาจกดดัน
อัตราการปล่อยเช่า และอัตราค่าเช่าให้ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นได้อย่างจากัด
Executive
Summary
ตลาดสานักงานให้เช่าในปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัว
ได้เล็กน้อย โดยกลุ่มเกรด A มีโอกาสฟื้นตัวได้
มากกว่ากลุ่มเกรด B โดยเฉพาะในพื้นที่ CBD ที่
ยังคงมีความต้องการ
• การฟื้นตัวของพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้มเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากปัจจัย
ทางเศรษฐกิจ ทั้งภาวะเงินเฟ้อ และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง กดดันให้กาลังซื้อ
ยังคงฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป เช่นเดียวกับผู้เช่าพื้นที่ค้าปลีกที่ได้รับผลกระทบอย่าง
มากในช่วงที่ผ่านมา และยังอยู่ในระยะเริ่มฟื้นตัว ประกอบกับการเติบโตของ E-commerce
ทาให้ความต้องการพื้นที่เช่าเติบโตได้อย่างจากัด อย่างไรก็ตาม คาดว่าอัตราการเพิ่มขึ้น
ของอุปสงค์จะน้อยกว่าของอุปทาน ซึ่งจะส่งผลให้อัตราปล่อยเช่าปี 2023 มีแนวโน้มชะลอ
ตัวลงเล็กน้อย
• พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าได้ในปี 2023 จะขยายตัวตามอุปทานใหม่ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า
500,000 ตร.ม. และการออกมาทากิจกรรมนอกบ้านตามปกติ หลังสถานการณ์การแพร่
ระบาดของ COVID-19 คลี่คลาย
• แนวโน้มการฟื้นตัวจาแนกตามพื้นที่ พื้นที่ Suburb มีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง อีกทั้ง
ยังเป็นพื้นที่เดียวที่ยังขยายตัวแม้ในช่วงที่ COVID-19 แพร่ระบาดรุนแรง จากการใช้จ่ายซื้อ
สินค้าและของใช้จาเป็น ขณะที่ Midtown และ Downtown มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น
ต่อเนื่องเช่นกันในอัตราที่น้อยกว่าเล็กน้อย โดยเฉพาะพื้นที่ Downtown ที่มีปัจจัยบวก
จากการกลับมาของนักท่องเที่ยวต่างชาติ
• ในช่วง Medium-term (ปี 2024-2026) ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ายังต้องเผชิญกับ
อุปทานใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีกไม่ต่ากว่า 600,000 ตร.ม. โดยยังมีโครงการขนาดใหญ่
อีกหลายโครงการที่จะเปิดในช่วงปี 2025-2026 ซึ่งยังไม่ได้ระบุขนาดพื้นที่ที่แน่นอนออกมา
แต่คาดว่าจะมีจานวนมาก อาจส่งผลต่ออัตราการปล่อยเช่า และอัตราค่าเช่าในระยะต่อไป
ให้ต่ากว่าที่คาดการณ์ได้
ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้น
ในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ Suburb ซึ่งได้รับผลกระทบ
น้อยกว่าพื้นที่อื่น ๆ ขณะที่ Midtown และ Downtown
มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น
4
EIC Industry insight : Commercial real estate
Executive
Summary
ประเด็นที่ต้องจับตามองสาหรับแนวโน้มตลาดพื้นที่สานักงาน
และพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในระยะข้างหน้า จะมาจากอุปทานส่วนเกิน
ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงเทรนด์ New normal ทั้งรูปแบบ
การทางาน และ E-commerce ที่จะส่งผลต่อความต้องการ
พื้นที่ และแนวโน้มการแข่งขันในตลาดที่รุนแรงขึ้น
• อุปทานส่วนเกินมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องในระยะกลาง จากอุปทานที่มีแนวโน้มขยายตัว
ในอัตราที่เร็วกว่าความต้องการพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่สานักงานให้เช่าที่คาดว่าอัตราเติบโต
เฉลี่ยของอุปทานพื้นที่เช่ารวมในช่วงปี 2024-2026 จะยังมากกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงปี 2015-
2019 ทั้งนี้อุปทานพื้นที่สานักงานให้เช่าในปี 2022-2023 เพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน ตร.ม. ขณะที่
อุปทานพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าก็จะเพิ่มขึ้นอีกไม่น้อยกว่า 600,000 ตร.ม. และยังมีโครงการ
ขนาดใหญ่อีกหลายโครงการที่จะเปิดในช่วงปี 2025-2026 ซึ่งจะเป็นปัจจัยกดดันการฟื้นตัว
ของอัตราการปล่อยเช่า และอัตราค่าเช่าในระยะต่อไป
• เทรนด์การทางานแบบ Hybrid workplace จากที่ออฟฟิศ ที่บ้าน หรือที่ไหนก็ได้ สลับ
กับการเข้าสานักงาน จะส่งผลต่อแนวโน้มการฟื้นตัวของความต้องการพื้นที่สานักงานให้
เช่า และรูปแบบความต้องการพื้นที่สานักงานให้เช่าในระยะต่อไปมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก
รูปแบบการทางานดังกล่าวมีแนวโน้มถูกนามาปรับใช้ และจะกลายเป็นมาตรฐานอย่าง
รวดเร็ว ทาให้ความต้องการพื้นที่เช่าอาจยังมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในระยะ
ต่อไป จากความจาเป็นในการใช้พื้นที่สานักงานของแต่ละบริษัทที่อาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่
ชะลอลง ขณะที่รูปแบบของสานักงานให้เช่าที่ตอบโจทย์ความต้องการในระยะต่อไปจะต้อง
มีความหลากหลายและยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น เช่น การทาสัญญาเช่าระยะสั้น การปรับเปลี่ยนพื้นที่
เช่าได้ระหว่างสัญญา
• การแข่งขันในพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้มรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะในต่างจังหวัด จากการ
ขยายสาขาของผู้เล่นรายใหญ่ออกไปสู่จังหวัดหัวเมืองสาคัญที่มีศักยภาพมากขึ้น ทั้งใน
รูปแบบพื้นที่ค้าปลีกโดยตรง และโครงการ Mixed-use สะท้อนจากการขออนุญาตก่อสร้าง
อาคารเพื่อการพาณิชย์ในหลายจังหวัดหลัก ที่มีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ซึ่งอาจส่งผล
กระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการรายเล็กในท้องถิ่นมากขึ้น
Implication ต่อผู้ประกอบการพื้นที่
สานักงานให้เช่าและพื้นที่ค้าปลีกให้เช่า
• ผู้ประกอบการพื้นที่สานักงานให้เช่าควรปรับตัว ตามรูปแบบการ
ทางานที่เปลี่ยนไป ท่ามกลางการแข่งขันที่สูงขึ้น พื้นที่ให้เช่าที่มี
รูปแบบตายตัวแบบเดิมอาจไม่เพียงพอ แม้จะเป็นพื้นที่ให้เช่าเปิดใหม่
หรืออยู่ในทาเล CBD ก็ตาม นอกจากนั้น ยังรวมถึงการนาเสนอ
ทางเลือกที่ยืดหยุ่น นาเทคโนโลยีมาใช้ การปรับรูปแบบเพื่อสร้าง
ความแตกต่าง เช่น Green office, Double volume office หรือ
Shared office เป็นต้น รวมถึงการพิจารณาทาโครงการ Mixed-
use ให้มากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยง และการคานึงถึงเทรนด์ ESG
• ผู้ประกอบการพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าควรเน้นตอบโจทย์ความ
ต้องการที่หลากหลายและสร้างความแตกต่าง เพื่อเพิ่ม
ศักยภาพการแข่งขัน ในระยะต่อไปที่ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามี
แนวโน้มแข่งขันกันเข้มข้นยิ่งขึ้น และความต้องการของผู้บริโภค
เปลี่ยนแปลงเร็ว ดังนั้น การดึงดูดกาลังซื้อ และ Traffic ของ
โครงการด้วยรูปแบบพื้นที่ที่หลากหลาย และมีความแตกต่าง
การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล และ Journey ของลูกค้า รวมถึงการ
ให้ความสาคัญกับ Digital experience ควบคู่ไปกับ Physical
experience จะเป็นมาตรฐานใหม่ที่ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีใน
ระยะต่อไป อีกทั้ง ยังต้องคานึงเทรนด์ ESG อีกด้วย
แนวโน้มตลาดพื้นที่
สานักงานให้เช่าปี 2023
และประเด็นที่ต้องจับตา
ในระยะต่อไป
EIC Industry insight : Commercial real estate
แนวโน้มตลาดสานักงานให้เช่า
ปี 2023
ตลาดสานักงานให้เช่ามีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย จากการผ่อนคลายการควบคุมโรค
ส่งผลให้ผู้คนส่วนใหญ่กลับเข้าไปทางานที่ออฟฟิศกันตามปกติ แต่รูปแบบการ
ทางานแบบ Hybrid workplace จะมีบทบาทมากยิ่งขึ้น และจะส่งผลต่อความ
ต้องการพื้นที่สานักงานให้ยังมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในระยะต่อไป
จากความจาเป็นการใช้พื้นที่สานักงานของแต่ละบริษัทที่อาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลง
ขณะที่รูปแบบของพื้นที่สานักงานให้เช่าที่ตอบโจทย์ความต้องการในระยะต่อไป
จะต้องมีความหลากหลายและยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น โดยอุปทานพื้นที่เช่าที่คาดว่าจะ
เพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน ตร.ม. ในปี 2022-2023 (ตามแผนการเปิดของผู้ประกอบการ)
จะเป็นปัจจัยกดดันอัตราปล่อยเช่าให้ชะลอตัว นอกจากนี้ การฟื้นตัวของภาวะ
เศรษฐกิจในประเทศที่มีแนวโน้มเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป รวมถึงเศรษฐกิจโลก
ที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง ซึ่งส่งผลต่อแนวโน้มการลงทุนจากต่างชาติ จะยังเป็น
ปัจจัยกดดันความต้องการพื้นที่เช่าสานักงานในระยะสั้น และส่งผลให้อัตราค่าเช่า
ในปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวได้เพียงเล็กน้อย ทั้งในกลุ่มเกรด A
และเกรด B โดยเฉพาะกลุ่ม Non-CBD เกรด B ที่มีแนวโน้มทรงตัวจากปีก่อนหน้า
EIC Industry insight : Commercial real estate
7
EIC Industry insight : Commercial real estate
ตลำดสำนักงำนให้เช่ำมีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย หลังกำรผ่อนคลำยกำรควบคุมโรค โดยมีปัจจัยด้ำนรูปแบบกำรทำงำน
แบบ Hybrid workplace อุปทำนพื้นที่ให้เช่ำใหม่ที่เพิ่มขึ้นมำก รวมถึงควำมไม่แน่นอนของเศรษฐกิจภำยในประเทศ
และเศรษฐกิจโลก ที่อำจส่งผลต่อควำมต้องกำรพื้นที่สำนักงำนให้เพิ่มขึ้นในอัตรำที่ชะลอลงในระยะต่อไป
ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
Office
• ตลาดสานักงานให้เช่าในปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย
โดยพื้นที่ให้เช่าได้คาดว่าจะขยายตัวราว +0% ถึง +4% ใกล้เคียงกับปี
2022 จากการผ่อนคลายการควบคุมโรค ส่งผลให้ผู้คนส่วนใหญ่กลับ
เข้าไปทางานที่ออฟฟิศกันตามปกติ แต่รูปแบบการทางานแบบ
Hybrid workplace จากที่ออฟฟิศ ที่บ้าน หรือที่ไหนก็ได้ สลับกับการ
เข้าสานักงาน จะมีบทบาทมากยิ่งขึ้น และส่งผลกระทบต่อความ
ต้องการพื้นที่สานักงานมากขึ้น จากความจาเป็นต่อการใช้พื้นที่
สานักงานของแต่ละบริษัทที่อาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลง ทั้งในระยะ
สั้นและระยะต่อไป นอกจากนั้น การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจใน
ประเทศที่มีแนวโน้มเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป รวมถึงเศรษฐกิจโลก
ที่ยังมีความ
ไม่แน่นอนสูง ซึ่งส่งผลต่อแนวโน้มการลงทุนจากต่างชาติ ยังเป็น
ปัจจัยกดดันในระยะสั้น ส่งผลให้อัตราปล่อยเช่าทรงตัว ขณะที่อัตรา
ค่าเช่าในปี 2023 ยังมีแนวโน้มฟื้นตัวได้เพียงเล็กน้อย ทั้งในกลุ่ม
เกรด A และเกรด B โดยเฉพาะกลุ่ม Non-CBD เกรด B ที่อาจ
ทาได้เพียงทรงตัวจากปีก่อนหน้า
• อุปทานพื้นที่เช่าที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน ตร.ม. ในปี 2022-
2023 (ตามแผนการเปิดของผู้ประกอบการ) จะเป็นปัจจัยกดดันอัตรา
ปล่อยเช่าในระยะต่อไป ในขณะที่ต้นทุนการบริหารจัดการและการ
ปรับปรุงพื้นที่ที่เพิ่มขึ้นในระยะต่อไป ส่งผลต่ออัตราค่าเช่ายังต้อง
ปรับขึ้นอย่างช้า ๆ
อุปสงค์และอุปทานของพื้นที่สานักงานในกรุงเทพฯ
หน่วย : ล้านตารางเมตร
8.4
9.2
10.3 ถึง 10.8
2020
8.8
9.5
2021
8.3
ถึง 8.5
2022E
8.4
ถึง 8.7
2023F
8.1
9.0
8.3
2017
8.3
8.9
9.9 ถึง 10.1
2018 2019
8.3
-0.9%
+0.5% ถึง +2.5%
+0% ถึง +4%
พื้นที่ให้เช่าได้
(Occupied space)
อุปทานพื้นที่สานักงาน
(Total supply)
Key
indicator
2015-19 2022E 2023F
พื้นที่ให้เช่าได้
(Occupied
space)
1.9%
+0.5%
ถึง
+2.5%
+0%
ถึง
+4.0%
อุปทานพื้นที่
สานักงาน (Total
supply)
+1.5%
+4.0%
ถึง
+6.0%
+3.5% ถึง
+7.5%
อัตราค่าเช่า
(Average rent)
5.5%
-0.5%
ถึง
+1.5%
+0%
ถึง
+4.0%
อัตราปล่อยเช่า
(Occupancy
rate)
93%
84%
ถึง
86%
80%
ถึง
84%
8
EIC Industry insight : Commercial real estate
กำรจดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2022 ยังฟื้นตัวจำกปีก่อนหน้ำ และคำดว่ำยังขยำยตัวได้อย่ำง
ค่อยเป็นค่อยไปตำมกำรฟื้นตัวของเศรษฐกิจ เช่นเดียวกับอัตรำกำรว่ำงงำนที่เริ่มลดลงตั้งแต่ช่วงไตรมำส 4 ปี 2021
ส่งผลให้ธุรกิจพื้นที่สำนักงำนให้เช่ำมีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่ำงช้ำ ๆ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และธนาคารแห่งประเทศไทย
การจดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ (ไม่รวมการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน)
หน่วย : ราย
2,000
3,000
4,000
5,000
6,000
7,000
8,000
9,000
Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
2019 2020
2021 2022
2019 2020 2021 7M2022
จานวน 71,429 62,850 69,653 46,159
%YOY -0.9% -12.0% +10.8% +5.8%
ทุน 4.6 ล้าน 3.7 ล้าน 3.1 ล้าน 6.7 ล้าน
%YOY -11.7% -18.9% -15.2% +113.4%*
ก.ค. 2019 = 6,452 (+8.3%YOY)
ก.ค. 2020 = 5,658 (-12.3%YOY)
ก.ค. 2021 = 5,653 (-0.1%YOY)
ก.ค. 2022 = 5,847 (+3.4%YOY)
* ณ เดือนเมษายน 2022 มีการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทโฮลดิ้งที่ไม่ได้ลงทุนในธุรกิจการเงินเป็นหลัก ซึ่งมีเงินทุนจดทะเบียน 1.5 แสนล้านบาท
หมายเหตุ : กลุ่มธุรกิจบริการที่ส่วนใหญ่มีความต้องการพื้นที่สานักงานให้เช่าครอบคลุมราว 85% ของธุรกิจทั้งหมด ประกอบด้วย ธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง ธุรกิจที่พัก ธุรกิจการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจโทรคมนาคม ธุรกิจก่อสร้าง และธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพ
จานวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงานของไทย
หน่วย : พันคน หน่วย : % กาลังแรงงาน
323
341
377
451
404
373
651
748
378
758
732
871
632
608
547
0.8%
0.9%
1.0%
1.2%
1.1%
1.0%
1.7%
1.9%
1.0%
2.0%
1.9%
2.3%
1.6%
1.5%
1.4%
0.0%
0.5%
1.0%
1.5%
2.0%
2.5%
0
100
200
300
400
500
600
700
800
900
1,000
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
AVG
14-19
Q1-2021
Q2-2021
Q3-2021
Q4-2021
Q1-2022
Q2-2022
ผู้ว่างงาน (แกนซ้าย) อัตราว่างงาน (แกนขวา)
1.0% 1.4%
ก่อน COVID-19* Q2/22
*เฉลี่ยปี 2014-19
Pre-COVID
Office
9
EIC Industry insight : Commercial real estate
กำรลงทุนจำกต่ำงชำติฟื้นตัวได้ดีในปีที่ผ่ำนมำ และขยำยตัวต่อเนื่องในปี 2022 ตำมกำรฟื้นตัวทำงเศรษฐกิจ และกำร
อนุญำตให้ชำวต่ำงชำติเดินทำงเข้ำประเทศได้ตำมปกติ ทำให้อุปสงค์ของบริษัทต่ำงชำติต่อพื้นที่สำนักงำนฟื้นตัวได้มำกขึ้น
แต่แนวโน้มในปี 2023 ยังต้องติดตำมควำมไม่แน่นอนของสถำนกำรณ์เศรษฐกิจโลก ซึ่งอำจส่งผลให้กำรลงทุนชะลอตัว
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย และกระทรวงแรงงาน
การลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศที่เข้ามาประเทศไทย (Inflow FDI)
หน่วย : พันล้านบาท
ใบอนุญาตทางานของชาวต่างชาติประเภทแรงงานฝีมือ
หน่วย : พันใบอนุญาต
Office
0
2,500
500
1,500
1,000
2,000
6M21
2017
2016 2018 2019 2020 2021 6M22
2,060
1,939 1,976
1,876
1,549
959
1,126
2,068
-3.1%
-17.4%
+33%
+17%
170
155
165
145
135
140
150
160
175
180
Nov
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Dec
2022
2019 2021
2020
อุปสงค์ของบริษัทต่างชาติต่อพื้นที่สานักงานฟื้นตัวได้มากขึ้น แต่จะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศ ท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่เริ่ม
ส่งสัญญาณของการชะลอตัว
10
EIC Industry insight : Commercial real estate
ตลำดสำนักงำนให้เช่ำในพื้นที่ CBD มีแนวโน้มขยำยตัวได้มำกขึ้น ตำมกำรเพิ่มขึ้นของพื้นที่ให้เช่ำได้ที่ยังคงมีควำม
ต้องกำร โดยเฉพำะในกลุ่ม CBD เกรด A อย่ำงไรก็ตำม กำรฟื้นตัวก็ยังคงเป็นไปอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปจำกอุปทำนใหม่
ที่เพิ่มขึ้นมำกในกลุ่มเกรด A ซึ่งอำจทำให้กลุ่มเกรด B ในพื้นที่ต้องเริ่มปรับตัว
พื้นที่ให้เช่าได้ และอัตราการเช่าใน CBD จาแนกตามเกรด
หน่วย : ล้านตารางเมตร / %
Office - CBD
ภาพรวมภาวะตลาดในพื้นที่ CBD
• พื้นที่ให้เช่าได้ใน CBD ปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว ได้ราว +1.5% ถึง +5.5%YOY จากการ
เพิ่มขึ้นของพื้นที่ให้เช่าได้ของกลุ่ม CBD เกรด A เป็นหลัก หลังจากการกลับเข้าทางานที่
ออฟฟิศตามปกติ แต่เทรนด์การทางานแบบ Hybrid workplace จะเป็นปัจจัยกดดันการ
ขยายตัว เช่นเดียวกับสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ยังมีความไม่แน่นอน อาจส่งผลต่อความ
ต้องการพื้นที่เช่าของบริษัทจากต่างชาติให้ยังไม่สามารถฟื้นตัวได้เต็มที่ นอกจากนั้น
อุปทานใหม่ของ CBD เกรด A ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นกว่า 500,000 ตร.ม. ในปี 2022-2023
จะทาให้อัตราการเช่าของ CBD เกรด A ชะลอตัวลง และกดดันให้อัตราค่าเช่าขยายตัวได้
เพียงเล็กน้อยในระยะสั้น ส่วนกลุ่ม CBD เกรด B ที่อุปทานใหม่เพิ่มขึ้นเพียงราว 90,000
ตร.ม. จึงทาให้อัตราการเช่ายังมีแนวโน้มทรงตัวได้ แต่อาจได้รับผลกระทบมากขึ้นในระยะ
ต่อไป จากตัวเลือกอุปทานใหม่เกรด A ที่มีความทันสมัย ในขณะที่ความแตกต่างของอัตรา
ค่าเช่ายังมีแนวโน้มไม่เพิ่มขึ้นมากนัก
• อัตราค่าเช่าในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากปีก่อนหน้า จากอุปทานใหม่
จานวนมากในกลุ่มเกรด A ที่ยังคงกดดัน ในขณะที่อุปสงค์เริ่มฟื้นตัวได้มากขึ้น
ประเด็นที่ต้องติดตาม
• อุปทานส่วนเกินของพื้นที่ CBD เกรด A ในช่วงปี 2023-2026 ที่จะเพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน
ตร.ม. เป็นอย่างน้อย ซึ่งมีโอกาสสูงที่อุปสงค์จะเร่งตัวตามไม่ทัน กดดันการขยายตัวของ
อัตราการเช่าได้ และยังกดดันให้การปรับขึ้นของอัตราค่าเช่าในระยะข้างหน้าจะเป็นไป
อย่างค่อยเป็นค่อยไป
Occupied space A (แกนซ้าย)
Occupied space B (แกนซ้าย) %Occ rate A (แกนขวา)
%Occ rate B (แกนขวา)
ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
2
0
60
1
0
80
100
5
7
6
20
40
3
4
4.2
68%
32%
2018
68%
32%
2019
66%
2020
66%
34%
4.2
35%
65%
2022E
2023F
64%
2021
34%
4.1
36%
4.1 ถึง 4.2
4.1
4.3 ถึง 4.5
-1.5%
+1% ถึง +3%
+1.5% ถึง +5.5%
11
EIC Industry insight : Commercial real estate
ตลำดสำนักงำนให้เช่ำในพื้นที่ Non-CBD มีโอกำสที่จะฟื้นตัวได้เพียงเล็กน้อย หรือขยำยตัวในอัตรำที่ต่ำกว่ำของพื้นที่
CBD จำกพื้นที่ให้เช่ำในกลุ่มเกรด A ที่ยังขยำยตัวได้ ขณะที่ของกลุ่มเกรด B ซึ่งมีสัดส่วนกว่ำ 80% ของพื้นที่ทั้งหมด
ยังมีแนวโน้มทรงตัว
พื้นที่ให้เช่าได้ และอัตราการเช่าใน Non-CBD จาแนกตามเกรด
หน่วย : ล้านตารางเมตร / %
Office – Non-CBD
ภาพรวมภาวะตลาดในพื้นที่ Non-CBD
• พื้นที่ให้เช่าได้ใน Non-CBD ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย ต่ากว่าพื้นที่ CBD โดยคาดว่า
จะขยายตัว ราว 0% ถึง +4%YOY จากพื้นที่ให้เช่าได้ของกลุ่มเกรด A ที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ขณะที่
กลุ่มเกรด B ซึ่งมีสัดส่วนกว่า 80% มีแนวโน้มทรงตัว อย่างไรก็ดี อุปทานใหม่ของกลุ่มเกรด A
ที่เพิ่มขึ้นราว 300,000 ตร.ม. ในปี 2022-2023 อาจกดดันการฟื้นตัวของอัตราค่าเช่าให้เป็นอย่าง
จากัด และอัตราการเช่าชะลอตัวลงในระยะสั้น แต่ด้วยปัจจัยด้านอัตราค่าเช่าที่ยังต่ากว่าในพื้นที่
CBD เกรด A และการขยายตัวของรถไฟฟ้าสายใหม่ที่ทาให้เดินทางเข้าถึงได้สะดวกขึ้น จะทาให้
พื้นที่ให้เช่าได้ของกลุ่มเกรด A ยังมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง เพียงแต่อัตราการขยายตัวของ
อุปสงค์ยังต่ากว่าอุปทานในระยะสั้น ส่วนในกลุ่มเกรด B แม้อุปทานใหม่อาจเพิ่มขึ้นไม่มากนัก
แต่ความต้องการพื้นที่ให้เช่าอาจชะลอตัวลงเช่นกัน จากพื้นที่ให้เช่าเปิดใหม่ของกลุ่มเกรด A ที่มี
อัตราค่าเช่าสูงกว่าไม่มากนัก, กลุ่มเป้าหมายเดิมของ Non-CBD เกรด B ที่ส่วนใหญ่เป็นบริษัท
ขนาดกลาง-เล็กอาจมีความต้องการพื้นที่น้อยลงจากทั้งเหตุผลทางเศรษฐกิจ หรือการสนับสนุน
ให้พนักงานทางานแบบ Remote work มากขึ้นเพื่อความคล่องตัว รวมเหตุผลด้านการเดินทาง
ของทาเล Non-CBD บางทาเลที่อาจยังเข้าถึงได้ยากจากระบบโดยสารสาธารณะ
• อัตราค่าเช่าในปี 2023 อาจยังทรงตัวหรือขยายตัวได้เพียงเล็กน้อย จากอัตราค่าเช่าของกลุ่ม
เกรด B ซึ่งมีสัดส่วนค่อนข้างมากยังมีแนวโน้มทรงตัว ส่วนของกลุ่มเกรด A ฟื้นตัวได้เล็กน้อย
ประเด็นที่ต้องติดตาม
• การทยอยเปิดให้บริการของรถไฟฟ้าสายใหม่ และส่วนต่อขยายในระยะต่อไป จะเป็นปัจจัย
สาคัญที่ช่วยสนับสนุนให้พื้นที่เช่าได้เติบโตตามพื้นที่ให้เช่าได้ดีขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเกรด A
Occupied space A (แกนซ้าย)
Occupied space B (แกนซ้าย) %Occ rate A (แกนขวา)
%Occ rate B (แกนขวา)
ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
0
20
40
60
80
100
5
0
6
1
2
7
3
4
85%
2018
15%
2019
15%
2020
87%
15%
4.0
2021
17%
2022E
83%
17%
2023F
85%
2017
13%
4.2
87%
4.1
85%
4.1 4.2 4.2 ถึง 4.3
4.2 ถึง 4.4
83%
13%
-0.3%
+1% ถึง +3%
+0% ถึง +4%
12
EIC Industry insight : Commercial real estate
อุปทำนที่เพิ่มขึ้นตลอดปี 2022 อำจกดดันให้อัตรำกำรปล่อยเช่ำทั้งปีลดลงไปอยู่ที่รำว 85% ขณะที่ในปี 2023-2026
อุปทำนใหม่ที่จะเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่ำ 1.6 ล้ำน ตร.ม. จะกดดันกำรฟื้นตัวของอัตรำกำรปล่อยเช่ำ และอัตรำค่ำเช่ำในระยะถัดไป
ในพื้นที่ที่มีอุปทำนใหม่เพิ่มขึ้นมำก เช่น ลุมพินี Northern Corridor และบำงนำ-ตรำด
อุปทานพื้นที่จาแนกตามพื้นที่*
หน่วย : พันตารางเมตร
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
อัตราการปล่อยเช่าจาแนกตามพื้นที่ ณ ไตรมาส 1 ปี 2022
-8 -6 -4 -2 0 2 4
0%
100%
80%
85%
90%
95%
Ratchada North
Bangna-Trad
Northern Corridor
Lumpini
อัตราการเติบโตของพื้นที่ให้เช่าได้ (%YOY)
Outer Northern Corridor
Late Sukhumvit
East Bangkok
City South
Other non-CBD
Early Sukhumvit
อั
ต
ราการปล่
อ
ยเช่
า
(%)
Other CBD
Silom/Sathorn
CBD Non-CBD อุปทานพื้นที่
867
Early Sukhumvit
396
Silom/Sathorn 1,741
Lumpini
938
1,153
Other CBD
1,282
Northern Corridor
911
303
Ratchada North
344
374
Outer Northern Corridor
646
Late Sukhumvit
Bangna-Trad
East Bangkok
532
City South
Other non-CBD
อุปทานพื้นที่รวมใน Q1-2022
อุปทานใหม่ช่วงปี 2022-26F
13
EIC Industry insight : Commercial real estate
ประเด็นที่ต้องจับตามองของธุรกิจพื้นที่สานักงานให้เช่าในระยะต่อไป
อุปทานส่วนเกินที่เพิ่มขึ้น
ต่อเนื่องในระยะกลาง
การทางานแบบ Hybrid ทั้งจาก
ออฟฟิศ จากบ้าน หรือจากที่
ไหนก็ได้ ที่มีบทบาทมากขึ้น
1 2
14
EIC Industry insight : Commercial real estate
ในระยะกลำง อุปทำนพื้นที่สำนักงำนใหม่มีแนวโน้มขยำยตัวเร็วกว่ำอุปสงค์ค่อนข้ำงมำก โดยเฉพำะกลุ่มเกรด A
และในพื้นที่ CBD ที่มีควำมเสี่ยงต้องเผชิญภำวะอุปทำนส่วนเกิน และรับมือกับกำรแข่งขันที่สูงขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
อุปทานพื้นที่สานักงานเกรด A เปิดใหม่ในปี 2022-2025 อุปทานพื้นที่สานักงานเกรด B เปิดใหม่ในปี 2022-2025
หน่วย : พันตารางเมตร
62%
38%
2022
17%
440 ถึง 460
2023
100%
83%
69%
2024
2025
100%
2026+
350 ถึง 370
120 ถึง 140
10 ถึง 15
500 ถึง 520
CBD Non-CBD
48%
100%
2023
52%
54%
2024
0
2022
46%
2025 2026+
120 ถึง 140
70 ถึง 75
20 ถึง 25
0
หน่วย : พันตารางเมตร
CBD Non-CBD
15
EIC Industry insight : Commercial real estate
บริษัทต่ำง ๆ มีแนวโน้มทำงำนแบบ Hybrid workplace ส่งผลให้ผู้ประกอบกำรพื้นที่สำนักงำนให้เช่ำจำเป็นต้องทำควำม
เข้ำใจควำมต้องกำรเชิงลึก (Insight) ของลูกค้ำในด้ำนต่ำง ๆ เพื่อนำเสนอพื้นที่ให้เช่ำ และกำรให้บริกำรได้อย่ำงเหมำะสม
รูปแบบการจัดที่นั่งทางานของบริษัทที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
หน่วย : % ของผู้ตอบแบบสอบถาม
18%
28%
11%
13%
Pre COVID-19 2022 Next 2 years
29%
58%
29%
24%
19%
12%
27%
33%
รูปแบบการจัดที่นั่งทางานของบริษัทที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในอีก 2 ปีข้างหน้า
หน่วย : % ของผู้ตอบแบบสอบถาม
13%
30%
25%
Life sciences
Finance Tech Professional services
32%
26%
14%
26%
35%
22%
35%
17%
26%
7%
14%
43%
36%
ในระยะ 2 ปีข้างหน้า บริษัทต่าง ๆ
มีแนวโน้มลดที่นั่งทางานประจาสาหรับ
พนักงานลง และมีแนวโน้มปรับรูปแบบ
การจัดที่นั่งทางานให้มีความยืดหยุ่น
ปรับเปลี่ยนไปตามรูปแบบกิจกรรมการ
ทางานมากขึ้น
อย่างไรก็ดี แนวโน้มการปรับรูปแบบ
การจัดที่นั่งทางานมีความแตกต่างกัน
ในแต่ละธุรกิจ เช่น บริการด้าน
วิชาชีพยังมีแนวโน้มให้ความสาคัญ
กับที่นั่งทางานประจาสาหรับพนักงาน
ค่อนข้างมากกว่าธุรกิจอื่น ๆ
Fixed seating
Activity-based working
Targeted mobility
Hotdesking
รูปแบบการจัดที่นั่งทางานของบริษัทที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
หน่วย : % ของผู้ตอบแบบสอบถาม
สานักงานให้เช่าจะต้องตอบโจทย์ผู้เช่า ทั้งด้านการใช้พื้นที่โดยรวม วิถีชีวิต
พนักงานของผู้เช่า และมีการนาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการทางาน ดังนั้น
ผู้ประกอบการพื้นที่สานักงานให้เช่าต้องทาความเข้าใจ Insight ของลูกค้าใน
ด้านต่าง ๆ เพื่อนาเสนอพื้นที่ให้เช่า และการให้บริการได้อย่างเหมาะสม
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลผลสารวจ Spring 2022 Asia pacific Occupier Survey ของ CBRE สารวจ ณ เดือนมีนาคม 2022
16
EIC Industry insight : Commercial real estate
กำรปรับกลยุทธ์ของผู้ประกอบกำรพื้นที่สำนักงำนให้เช่ำ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC
การตกแต่ง
• ตกแต่งครบ
• ตกแต่งบางส่วน
• ไม่มีการตกแต่ง
• ประเภทธุรกิจ และลักษณะการประกอบธุรกิจของผู้เช่า
• นโยบายการทางานแบบ Hybrid workplace ของผู้เช่า
• ความต้องการของพนักงานของผู้เช่า
• การบริหารจัดการ Facility ต่าง ๆ
• การติดต่อเจ้าของพื้นที่ให้เช่าได้
แบบ Real time
• อาคารสีเขียว เช่น มีระบบประหยัดพลังงาน ใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
• สภาพแวดล้อมที่ดีสาหรับพนักงาน เช่น มีระบบกรองอากาศ Facility ต่าง ๆ
• มาตรฐานอาคาร เช่น Leadership in Energy and Environmental Design (LEED), Global Real
Estate Sustainability Benchmark (GRESB) และ WELL Building Standard
ขนาดพื้นที่
• พื้นที่ใช้สอยเริ่มต้นที่ผู้เช่า SMEs
หรือ Start up สามารถเข้าถึงได้
• ระบบความปลอดภัย
• ระบบไร้สัมผัสในการเข้าใช้พื้นที่
ส่วนกลาง
นาเทคโนโลยีมาอานวยความสะดวก
นาเสนอทางเลือกในการเช่าที่หลากหลาย
และยืดหยุ่นสาหรับลูกค้า
ทาความเข้าใจ Insight ของลูกค้าในด้านต่าง ๆ
เพื่อนาเสนอพื้นที่ให้เช่า และการให้บริการ
ได้อย่างเหมาะสม
ตอบโจทย์เทรนด์ ESG เพื่อรักษาความสามารถ
ในการแข่งขัน และอัตราค่าเช่า
แนวโน้มตลาดพื้นที่ค้า
ปลีกให้เช่าปี 2023 และ
ประเด็นที่ต้องจับตา
ในระยะต่อไป
EIC Industry insight : Commercial real estate
แนวโน้มตลาด
พื้นที่ค้าปลีกให้เช่า
ปี 2023
ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง โดยความ
ต้องการพื้นที่ค้าปลีกมีแนวโน้มฟื้นตัวได้มากขึ้น จากการออกมา
ทากิจกรรมนอกบ้านเริ่มเป็นปกติมากขึ้นหลังสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของ COVID-19 คลี่คลาย ขณะที่คาดว่าพื้นที่ให้เช่า
ได้จะขยายตัวตามอุปทานใหม่ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า
500,000 ตร.ม. อย่างไรก็ตาม อัตราการเพิ่มขึ้นของอุปทานที่
คาดว่าจะมากกว่าของอุปสงค์ส่งผลให้อัตราปล่อยเช่าปี 2023
มีแนวโน้มชะลอตัวลงเล็กน้อย ส่วนปัจจัยทางเศรษฐกิจ ทั้ง
ภาวะเงินเฟ้อ และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง กดดันให้
กาลังซื้อยังคงฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป เช่นเดียวกับผู้เช่า
พื้นที่ค้าปลีกที่ได้รับผลกระทบอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และ
ยังอยู่ในระยะเริ่มฟื้นตัว ประกอบกับการเติบโตของ E-
commerce ทาให้การฟื้นตัวของพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้ม
เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป ขณะที่อัตราค่าเช่าในปี 2023 มี
แนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยใกล้เคียงกับอัตราในปีก่อนหน้า
EIC Industry insight : Commercial real estate
19
EIC Industry insight : Commercial real estate
Key
indicator
2015-19 2022E 2023F
พื้นที่ให้เช่าได้
(Occupied
space)
+3.1%
+2.0%
ถึง
+4.0%
+3.0%
ถึง
+7.0%
อุปทานพื้นที่
ค้าปลีก (Total
supply)
+2.4%
+3.0%
ถึง
+5.0%
+5.0%
ถึง
+9.0%
อัตราปล่อยเช่า
(Occupancy
rate)
94.1%
93%
ถึง
95%
90%
ถึง
94%
อัตราค่าเช่า
(Average rent)
+0.9%
+2.0%
ถึง
+4.0%
+1.0%
ถึง
+5.0%
ตลำดพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่องหลังกำรแพร่ระบำดกลับสู่ภำวะปกติ และตำมอุปทำนใหม่ที่เพิ่มขึ้นมำก
อย่ำงไรก็ตำม อัตรำกำรเพิ่มขึ้นของอุปทำนที่มีแนวโน้มมำกกว่ำอุปสงค์ และกำรเติบโตของ E-commerce
อำจกดดันกำรฟื้นตัวของตลำดให้เป็นไปอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปในระยะต่อไป
ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
Retail
• ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง โดย
ความต้องการพื้นที่ค้าปลีกมีแนวโน้มฟื้นตัว จากการออกมาทากิจกรรม
นอกบ้านเริ่มเป็นปกติมากขึ้นหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
COVID-19 คลี่คลาย ซึ่งคาดว่าพื้นที่ให้เช่าได้จะขยายตัวราว +3% ถึง
+7%YOY ในส่วนของอุปทานใหม่ คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 500,000 ตร.ม.
จากทั้งตามแผนการเปิดเดิม และทั้งที่ชะลอการเปิดไปในช่วงที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตาม อัตราการเพิ่มขึ้นของอุปทานที่คาดว่าจะมากกว่าของอุป
สงค์ส่งผลให้อัตราปล่อยเช่าปี 2023 มีแนวโน้มชะลอตัวลงเล็กน้อยอีกทั้ง
ภาวะเงินเฟ้อและหนี้ครัวเรือนที่ยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับสูงยังคงกดดันให้
กาลังซื้อยังคงฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป เช่นเดียวกับผู้เช่าพื้นที่ค้า
ปลีกที่ได้รับผลกระทบอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และยังอยู่ในระยะเริ่ม
ฟื้นตัว ประกอบกับการเติบโตของ E-commerce ทาให้การฟื้นตัวของ
พื้นที่
ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้มเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป
• อัตราค่าเช่าในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น ราว +1.0% ถึง
+5.0%YOY ใกล้เคียงกับอัตราในปีก่อนหน้า โดยเป็นการฟื้นตัวอย่าง
ค่อยเป็นค่อยไปหลังจากหดตัวแรงต่อเนื่องในช่วง COVID-19 และภาระ
ต้นทุนที่ปรับตัวสูงขึ้น
• ในปี 2024-2026 อุปทานใหม่อย่างน้อยอีก 600,000 ตร.ม.
มีแนวโน้มกดดันอัตราการขยายตัวของตลาด ทั้งในด้านอัตราการ
ปล่อยเช่า และอัตราค่าเช่า
อุปสงค์และอุปทานของพื้นที่ค้าปลีกในกรุงเทพฯ
หน่วย : ล้านตารางเมตร
2023F
2019
7.5
7.8
2020
7.5
8.6 ถึง 8.9
7.0
2021
7.6
ถึง 7.8
2022E
7.4
7.9
ถึง 8.3
7.4
2017
8.1 ถึง 8.3
2018
7.9
7.6
7.2
7.7
+0.2%
+2% ถึง +4%
+3% ถึง +7%
พื้นที่ให้เช่าได้
(Occupied space)
อุปทานพื้นที่ค้าปลีก
(Total supply)
20
EIC Industry insight : Commercial real estate
ดัชนีค้ำปลีกในหมวดต่ำง ๆ ยังมีแนวโน้มทรงตัวหรือฟื้นตัวอย่ำงค่อยเป็นค่อยไป ท่ำมกลำงควำมกังวลเกี่ยวกับเงินเฟ้อ
และค่ำครองชีพที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น สะท้อนจำกดัชนีควำมเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงทรงตัว อย่ำงไรก็ตำม ดัชนีค้ำปลีก
ในหมวด Online ยังมีแนวโน้มขยำยตัวได้ต่อเนื่อง สะท้อนกำรเติบโตของตลำด E-commerce
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จาก Euromonitor และศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
Retail
ดัชนีค้าปลีกหมวดต่าง ๆ
หน่วย : ดัชนี 2019=100
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค
หน่วย : ดัชนี
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
40
50
60
70
80
90
100
110
120
130
140
4Q2021
4Q2020
2019
1Q2020
2Q2020
3Q2021
2Q2021
3Q2020
1Q2021
1Q2022
2Q2022
Online (แกนขวา)
Department store and supermarket (แกนซ้าย)
Health & Beauty (แกนซ้าย)
Home & Garden (แกนซ้าย)
Fashion (แกนซ้าย)
0
20
40
60
80
100
120
01/2021
01/2018 01/2019 01/2020 01/2022 01/2023
Economic Situation: Present Income Economic Situation: Future
21
EIC Industry insight : Commercial real estate
Traffic ในพื้นที่ค้ำปลีกแม้จะดีกว่ำในช่วง COVID-19 ระบำดรุนแรงแต่เริ่มชะลอตัว เช่นเดียวกับควำมถี่ในกำรซื้อ
และกำรใช้จ่ำยแต่ละครั้ง จำกปัจจัยเสี่ยงทำงเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อกำรฟื้นตัวของกำลังซื้อ และส่งผลต่อควำมเชื่อมั่น
ผู้ประกอบกำรค้ำปลีกที่ยังมีควำมกังวลถึงควำมไม่แน่นอนของกำรฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Google และสมาคมค้าปลีกไทย
Retail
Google Mobility Index
หน่วย : ดัชนี (% การเปลี่ยนแปลงจากช่วงเวลา 3 ม.ค. – 6 ก.พ. 2020)
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการค้าปลีก
หน่วย : Index
-50
-40
-30
-20
-10
0
10
20
30
40
50
Mar Mar
Jun Sep
Dec
Sep Jun Dec Mar Jun Sep
Retail and Recreation Grocery and Pharmacy
2020 2021 2022
22
EIC Industry insight : Commercial real estate
ตลำดพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำในพื้นที่ Downtown มีแนวโน้มกลับมำปรับตัวเพิ่มขึ้น จำกทำเลใจกลำงเมืองที่ยังสำมำรถดึงดูด
Traffic ได้ดี ทั้งจำกชำวไทย และนักท่องเที่ยวต่ำงชำติ เช่นเดียวกับอัตรำค่ำเช่ำในพื้นที่ที่คำดว่ำจะกลับมำฟื้นตัวได้ดี
หลังลดลงต่อเนื่องจำก COVID-19 และมำตรกำรลดค่ำเช่ำในช่วงที่ผ่ำนมำ
ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าได้ในพื้นที่ Downtown
หน่วย : ล้านตารางเมตร
ภาพรวมภาวะตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าใน Downtown
• อัตราการปล่อยเช่าในปี 2023 มีแนวโน้มกลับมาปรับตัวเพิ่มขึ้น
มาอยู่ที่ราว 91-95% จากสถานการณ์การแพร่ระบาดที่คลี่คลาย
การใช้ชีวิตเข้าสู่ภาวะปกติ นักท่องเที่ยวต่างชาติมีแนวโน้มกลับมา
มากขึ้น และอุปทานใหม่ที่เพิ่มขึ้นไม่มากนัก หลังเพิ่มขึ้นมากว่า 1.2
แสน ตร.ม. ในปีก่อนหน้า โดยคาดว่าอุปสงค์จะขยายตัวได้ต่อเนื่อง
ราว +1.5% ถึง +5.5%YOY
• อัตราค่าเช่าปี 2023 มีแนวโน้มกลับมาฟื้นตัวได้ดี ราว +2% ถึง
+6%YOY หลังลดลงมาแรงตั้งแต่ปี 2020 และทรงตัวได้ในปีที่ผ่านมา
หลังสถานการณ์เริ่มคลี่คลายมากขึ้น โดยอัตราค่าเช่ามีแนวโน้ม
ฟื้นตัวได้เร็วจากทาเลในเมือง ที่ยังคงดึงดูด Traffic ที่หนาแน่นได้
อย่างต่อเนื่อง เมื่อสถานการณ์เริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
ประเด็นที่ต้องติดตาม
• ความเสี่ยงอุปทานส่วนเกินจากโครงการขนาดใหญ่ในระยะกลาง
ช่วงปี 2024-2026 ที่อาจกดดันอัตราการขยายตัวของตลาด อาทิ
Dusit Central Park (2024) One Bangkok (2024) British
Embassy Site (2026+) ซึ่งอาจส่งผลให้การแข่งขันในพื้นที่สีลม
และบริเวณใกล้เคียงมีความเข้มข้นมากขึ้นในระยะต่อไป
1.8
1.8
1.7
2019
1.7
1.9
1.7
1.9
ถึง 2.1
2020 2021
1.8
ถึง 1.9
1.9 ถึง 2.1
2022E
2.0 ถึง 2.2
2023F
+4% ถึง +5%
+1.5% ถึง +5.5%YOY
พื้นที่ให้เช่าได้
(Occupied space)
อุปทานพื้นที่ค้าปลีก
(Total supply)
Retail - Downtown
23
EIC Industry insight : Commercial real estate
ตลำดพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำในพื้นที่ Midtown มีแนวโน้มขยำยตัวได้ในอัตรำที่ใกล้เคียงกับในพื้นที่ Downtown ตำมกำร
ขยำยตัวของอุปทำนใหม่ที่เพิ่มขึ้นมำก อย่ำงไรก็ตำม ด้วย Traffic อำจยังไม่เท่ำของพื้นที่ Downtown ทำให้อัตรำกำร
ปล่อยเช่ำในพื้นที่อำจชะลอตัวลง และต่ำกว่ำอัตรำกำรปล่อยเช่ำของ Downtown เล็กน้อย
ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
Retail - Midtown
พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าได้ในพื้นที่ Midtown
หน่วย : ล้านตารางเมตร
ภาพรวมภาวะตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าใน Midtown
• พื้นที่ให้เช่าได้ในปี 2023 ยังมีแนวโน้มขยายตัว ราว +2% ถึง
+6%YOY ตามการขยายตัวของอุปทานใหม่ที่เพิ่มขึ้นเกือบ 200,000
ตร.ม. หรือราว +9%YOY และกาลังซื้อในภาพรวมที่ค่อย ๆ ฟื้นตัวได้
มากขึ้น แม้ Traffic อาจยังไม่เท่าของพื้นที่ Downtown ทาให้อัตรา
การปล่อยเช่ามีแนวโน้มลดลงจากปีก่อนหน้า มาอยู่ที่ระดับ 90%
หรือต่ากว่าเล็กน้อย
• อัตราค่าเช่าปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ในอัตราที่
ใกล้เคียงกับในปีก่อนหน้าอยู่ที่ราว +0.5% ถึง +4.5%YOY ส่วนหนึ่ง
จากการกดดันของอุปทานใหม่ที่เพิ่มขึ้นมาก โดยในระยะต่อไป อัตรา
ค่าเช่าในพื้นที่ยังมีทิศทางการขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในอัตรา
ที่ใกล้เคียงกับในปัจจุบัน
ประเด็นที่ต้องติดตาม
• ความเสี่ยงอุปทานส่วนเกินจากโครงการขนาดใหญ่ในระยะกลาง
ช่วงปี 2024-2026 ที่อาจกดดันอัตราการขยายตัวของตลาด อาทิ
Asiatique phase 2.3 (2024) Centerpoint Shopping Mall
Ratchadapisek (2026+) และ Gateway (Thonburi) (2026+)
พื้นที่ให้เช่าได้
(Occupied space)
อุปทานพื้นที่ค้าปลีก
(Total supply)
2.1
2.0
2019
2.0
2020
2.2
ถึง 2.4
2.3 ถึง 2.5
2021
2.1
2.0
2.2 ถึง 2.4
2.1
ถึง 2.2
2022E 2023F
2.1
+2% ถึง +4%
+2% ถึง +6%YOY
24
EIC Industry insight : Commercial real estate
ตลำดพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำในพื้นที่ Suburb ยังขยำยตัวได้อย่ำงต่อเนื่อง และเป็นพื้นที่เดียวที่ยังขยำยตัวได้แม้ในช่วงที่
COVID-19 แพร่ระบำดรุนแรง อย่ำงไรก็ตำม อุปทำนใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมำกอำจทำให้อัตรำกำรเช่ำลดลงเล็กน้อย
ในระยะสั้น แต่ด้วยทำเลที่ตอบโจทย์กำรขยำยตัวของเมืองส่งผลให้ตลำดยังมีแนวโน้มเติบโตและคำดว่ำจะกลับไปอยู่ระดับ
เดิมได้ในระยะต่อไป
ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
Retail - Suburb
พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าได้ในพื้นที่ Suburb
หน่วย : ล้านตารางเมตร
ภาพรวมภาวะตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าใน Suburb
• พื้นที่ให้เช่าได้ในปี 2023 ยังมีแนวโน้มขยายตัว ราว +2.5% ถึง +6.5%YOY
ตามการขยายตัวของอุปทานใหม่ที่เพิ่มขึ้นกว่า 350,000 ตร.ม. ประกอบกับ
การฟื้นตัวของกาลังซื้อที่ดีขึ้น ทาให้ทิศทางการขยายตัวอยู่ในลักษณะ
เดียวกับในพื้นที่ Midtown สาหรับอัตราการเช่าที่มีแนวโน้มชะลอตัวลงมา
อยู่ที่ระดับราว 91-95% จาก 96-97% ในช่วงก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม
จากแนวโน้ม Traffic ในพื้นที่ที่ดีมาตลอดแม้ในช่วงที่มีการแพร่ระบาด
จากการซื้อสินค้าอาหาร และของใช้ที่จาเป็นตามพื้นที่ค้าปลีก ที่อยู่ไม่ไกล
จากบ้าน ประกอบกับสัดส่วนการพึ่งพารายได้จากนักท่องเที่ยวน้อย ทาให้
คาดว่าอัตราการเช่าจะกลับมาขยายตัวขึ้นไปอยู่ในระดับเดิมได้ในระยะต่อไป
• อัตราค่าเช่าปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ราว +0% ถึง +4%
น้อยกว่าในพื้นที่ Midtown เล็กน้อย จากการกดดันของอุปทานใหม่ที่
เพิ่มขึ้นมากเช่นกัน
ประเด็นที่ต้องติดตาม
• ความเสี่ยงอุปทานส่วนเกินจากโครงการขนาดใหญ่ในระยะกลาง ช่วงปี
2024-2026 ที่อาจกดดันอัตราการขยายตัวของตลาด อาทิ Gateway
Bangna (2026+) Central M (2026+) และ Big Lake City (2026+)
พื้นที่ให้เช่าได้
(Occupied space)
อุปทานพื้นที่ค้าปลีก
(Total supply)
2.5
4.5
3.7
3.7
4.0 ถึง 4.1
3.8
2019
3.9
2021
2020
3.8
3.9
3.9
ถึง 4.0
2022E
4.1
ถึง 4.3
4.3 ถึง 4.5
2023F
+1% ถึง +3%
+2.5% ถึง +6.5%
25
EIC Industry insight : Commercial real estate
ประเด็นที่ต้องจับตามองของธุรกิจพื้นค้าปลีกให้เช่าในระยะต่อไป
ความเสี่ยงอุปทานส่วนเกิน
ในระยะต่อไป
การแข่งขันในพื้นที่ต่างจังหวัด
มีแนวโน้มรุนแรงขึ้น จากการ
ขยายสาขาของผู้เล่นรายใหญ่
1 2
26
EIC Industry insight : Commercial real estate
พื้นที่ค้ำปลีกเปิดให้บริกำรใหม่มำกกว่ำ 1 ล้ำนตำรำงเมตร ระหว่ำงปี 2023-2026 กระจำยตัวอยู่ทั่วพื้นที่กรุงเทพ
และปริมณฑล ไม่รวมพื้นที่ที่ทำกำร Renovate ใหม่ ทำให้ยังต้องติดตำมควำมเสี่ยงภำวะอุปทำนส่วนเกินในระยะต่อไป
โดยในพื้นที่ Downtown ต้องติดตำมกำรแข่งขันในพื้นที่สีลมและพื้นที่ใกล้เคียงในระยะต่อไป
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting
อุปทานพื้นที่ค้าปลีกใหม่ แบ่งตามพื้นที่
หน่วย : พันตารางเมตร
2022
30%
30%
63%
31%
39%
2023
35%
2%
2025
12%
88%
2026+
298
2024
5
311
556
267
10%
60%
Downtown Midtown Suburbs
27
EIC Industry insight : Commercial real estate
พื้นที่ค้ำปลีกในต่ำงจังหวัดแข่งขันรุนแรงขึ้นจำกกำรขยำยสำขำของผู้ประกอบกำรรำยใหญ่ ขณะที่พื้นที่ขออนุญำต
ก่อสร้ำงอำคำรเพื่อกำรพำณิชย์ในจังหวัดหลักส่วนใหญ่เริ่มฟื้นตัวตั้งแต่ปี 2021 สะท้อนถึงพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำที่จะเพิ่ม
มำกขึ้นในระยะข้ำงหน้ำ
นครราชสีมา
มีแผนพัฒนา Mixed-use project : คอนโดมิเนียม โรงแรม
(Centara Korat) ศูนย์การประชุม
นครสวรรค์
- ศาลายา
- New!!! นครปฐม
(สร้างเสร็จ 2024)
นครปฐม
เดอะวอล์ค
แฟรี่แลนด์
V-Square
คลังพลาซา
Wishco Wholesale
มีแผนพัฒนาโครงการ Mixed-use : คอนโดมิเนียม
โรงแรม
มีแผนพัฒนาโครงการ Mixed-use : คอนโดมิเนียม
โรงแรม
ผู้ประกอบการรายใหญ่ โดยเฉพาะเซ็นทรัล
ขยายสาขาในต่างจังหวัดมากขึ้น
• จังหวัดนั้น ๆ และจังหวัดโดยรอบมีศักยภาพ
• พัฒนาโครงการ Mixed-use เพื่อสร้าง Synergy
ระหว่างธุรกิจค้าปลีก กับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ REIC, เซ็นทรัล และสานักข่าวต่าง ๆ
• การแข่งขันดึง Traffic ของผู้บริโภค
ในแต่ละพื้นที่เป็นไปอย่างรุนแรงขึ้น
• กระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน
ของผู้ประกอบการรายเล็กในท้องถิ่น
มากขึ้น
นัยสาคัญ พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารเพื่อการพาณิชย์ในจังหวัดหลัก
หน่วย : พันตารางเมตร
105
ขอนแก่น
เชียงใหม่
147
25
11
นครราชสีมา
129
110
67
211
189
121
68 58
38
147
36
2019 2021 6M22
2020 6M21
70
145
ชลบุรี
362
ฉะเชิงเทรา
37
ระยอง
820
375
44
597
95 100 133
57 53 99 51
35
191
154
ภูเก็ต
78
50
พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารเพื่อการพาณิชย์ในเชียงใหม่ ขอนแก่น และ EEC ฟื้นตัว
ตั้งแต่ปี 2021 สะท้อนพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในจังหวัดดังกล่าว ที่จะเพิ่มมากขึ้นในระยะ
ข้างหน้า
จึงต้องจับตาการฟื้นตัวของกาลังซื้อของผู้บริโภคในพื้นที่ และการกลับมาของนักท่องเที่ยว
ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนุนตลาดค้าปลีก และอัตราการเช่าพื้นที่ค้าปลีกในระยะต่อไป
28
EIC Industry insight : Commercial real estate
กำรปรับกลยุทธ์ของผู้ประกอบกำรพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC
เทรนด์พื้นที่ค้าปลีกปี 2023 และระยะข้างหน้า การปรับกลยุทธ์ของผู้ประกอบการพื้นที่ค้าปลีกให้เช่า
Traffic พื้นที่ค้าปลีกฟื้นตัวดีขึ้นต่อเนื่อง
ผู้บริโภคใช้ชีวิตนอกบ้านมากขึ้น แม้ยังมีการระบาดของ COVID-19 แต่ยัง
ต้องจับตาเงินเฟ้อ และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง ซึ่งจะกดดันการใช้
จ่ายต่อไป
Dynamic ในตลาดค้าปลีก ส่งผลให้รูปแบบสัญญาเช่าเปลี่ยนแปลงไป
รูปแบบสัญญา : ระยะยาว ระยะปานกลาง+เงื่อนไขยืดหยุ่นมากขึ้น
การจัดเก็บค่าเช่า : แบบคงที่ แบบแบ่งปันส่วนแบ่งรายได้
(Revenue sharing) จากผู้เช่า
เทรนด์ ESG เป็นแรงกดดันให้เจ้าของพื้นที่ค้าปลีกต้องเร่งปรับกลยุทธ์
• ผู้บริโภค โดยเฉพาะ Gen Y และ Z ที่จะเป็นกาลังซื้อที่สาคัญในตลาด
ค้าปลีก มีความใส่ใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
• เจ้าของพื้นที่ค้าปลีกจาเป็นต้องลด Emission
เพิ่ม Traffic รวมถึงดึงดูดผู้บริโภคให้ใช้เวลานานขึ้น และใช้จ่ายมากขึ้น
• กาหนดตาแหน่งการแข่งขันที่ชัดเจน
• ปรับสัดส่วนร้านค้าให้มีความหลากหลาย และสรรหาผู้เช่ารายใหม่ ๆ
• ปรับสัดส่วนพื้นที่ เช่น Display ส่วนกลาง พื้นที่ Open air อย่างเหมาะสม
• ร่วมมือกับผู้เช่าใช้ฐานข้อมูลลูกค้า และทาการตลาดร่วมกัน
สร้าง Physical & Digital experience ควบคู่กันไป
• Omni channel
• นาเทคโนโลยีมาช่วยสร้างประสบการณ์ในการซื้อสินค้า เช่น AR/VR, Metaverse
และระบบไร้สัมผัส
• ใช้ฐานข้อมูลลูกค้าจัดทา Personalized marketing และ Loyalty program
ทั้งทางออนไลน์ และหน้าร้าน
ตอบโจทย์เทรนด์ ESG เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขัน และอัตราค่าเช่า
• อาคารสีเขียว เช่น อาคารประหยัดพลังงาน ใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มีพื้นที่ Open air
• มาตรฐานอาคาร เช่น Leadership in Energy and Environmental Design (LEED)
และ Global Real Estate Sustainability Benchmark (GRESB)
• สภาพแวดล้อมที่ดีสาหรับลูกค้า ผู้เช่า และชุมชนโดยรอบ
• เปิดโอกาสให้ผู้เช่าอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะ SMEs
Industry-insight_COMMERCIAL-REAL-ESTATE-OUTLOOK_20221116.pdf
Industry-insight_COMMERCIAL-REAL-ESTATE-OUTLOOK_20221116.pdf

Contenu connexe

Similaire à Industry-insight_COMMERCIAL-REAL-ESTATE-OUTLOOK_20221116.pdf

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
SCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
SCBEICSCB
 
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
SCBEICSCB
 
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supplyราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
SCBEICSCB
 

Similaire à Industry-insight_COMMERCIAL-REAL-ESTATE-OUTLOOK_20221116.pdf (6)

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แต่ยังต้องจับตาความเสี่ยงทางด...
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวแรง จากการเร่งตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวหนุนธุรกิจโรงแรม...
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
 
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supplyราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
 

Plus de SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
SCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
SCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
SCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
SCBEICSCB
 

Plus de SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 

Industry-insight_COMMERCIAL-REAL-ESTATE-OUTLOOK_20221116.pdf

  • 2. The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or such information by the recipient or other persons in whatever manner. Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct. This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in the companies mentioned here in. บทสรุปผู้บริหาร หน้า 03 แนวโน้มตลาดสานักงานให้เช่า ปี 2023 หน้า 06 แนวโน้มตลาดพื้นที่ค้าปลีก ให้เช่าปี 2023 หน้า 18 ประเด็นที่ต้องจับตามอง ของธุรกิจพื้นค้าปลีกให้ เช่าในระยะต่อไป หน้า 25 Contents EIC Industry insight : Commercial real estate ประเด็นที่ต้องจับตามอง ของธุรกิจพื้นที่สานักงาน ให้เช่าในระยะต่อไป หน้า 13
  • 3. 3 EIC Industry insight : Commercial real estate • ตลาดสานักงานให้เช่ามีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย จากการผ่อนคลาย การควบคุมโรค ซึ่งส่งผลให้ผู้คนส่วนใหญ่กลับเข้าไปทางานที่ออฟฟิศ กันตามปกติ แต่รูปแบบการทางานแบบ Hybrid workplace จากที่ ออฟฟิศ ที่บ้าน หรือที่ไหนก็ได้ สลับกับการเข้าสานักงานจะมีบทบาท มากขึ้น และจะส่งผลต่อความต้องการพื้นที่สานักงานให้ยังมีแนวโน้ม ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในระยะต่อไป จากความจาเป็นการใช้พื้นที่ สานักงานของแต่ละบริษัทที่อาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลง รวมถึง รูปแบบความต้องการพื้นที่สานักงานจะมีความหลากหลาย และต้องการความยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น • อุปทานพื้นที่เช่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะเพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน ตร.ม. ในปี 2022-2023 (ตามแผนการเปิดของผู้ประกอบการ) ซึ่งจะ เป็นปัจจัยกดดันอัตราปล่อยเช่าให้ชะลอตัวในปี 2023 • การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่มีแนวโน้มเป็นไปอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป รวมถึงเศรษฐกิจโลกที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง ยังเป็นปัจจัยกดดันค่าเช่า โดยคาดว่าอัตราค่าเช่าในปี 2023 ยังมี แนวโน้มฟื้นตัวได้เพียงเล็กน้อย ทั้งในกลุ่มเกรด A และเกรด B โดยเฉพาะกลุ่ม Non-CBD เกรด B ที่มีแนวโน้มทรงตัวในปี 2022 • ในช่วง Medium-term (ปี 2024-2026) คาดว่าตลาดสานักงาน ให้เช่ายังต้องเผชิญกับภาวะอุปทานส่วนเกินที่เพิ่มมากขึ้น จากอุปทานที่มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราที่เร็วกว่าความต้องการพื้นที่ และคาดว่าอัตราการเติบโตเฉลี่ยของอุปทานพื้นที่เช่ารวมในช่วงปี 2024-2026 จะยังมากกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงปี 2015-2019 ซึ่งอาจกดดัน อัตราการปล่อยเช่า และอัตราค่าเช่าให้ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นได้อย่างจากัด Executive Summary ตลาดสานักงานให้เช่าในปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัว ได้เล็กน้อย โดยกลุ่มเกรด A มีโอกาสฟื้นตัวได้ มากกว่ากลุ่มเกรด B โดยเฉพาะในพื้นที่ CBD ที่ ยังคงมีความต้องการ • การฟื้นตัวของพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้มเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากปัจจัย ทางเศรษฐกิจ ทั้งภาวะเงินเฟ้อ และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง กดดันให้กาลังซื้อ ยังคงฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป เช่นเดียวกับผู้เช่าพื้นที่ค้าปลีกที่ได้รับผลกระทบอย่าง มากในช่วงที่ผ่านมา และยังอยู่ในระยะเริ่มฟื้นตัว ประกอบกับการเติบโตของ E-commerce ทาให้ความต้องการพื้นที่เช่าเติบโตได้อย่างจากัด อย่างไรก็ตาม คาดว่าอัตราการเพิ่มขึ้น ของอุปสงค์จะน้อยกว่าของอุปทาน ซึ่งจะส่งผลให้อัตราปล่อยเช่าปี 2023 มีแนวโน้มชะลอ ตัวลงเล็กน้อย • พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าได้ในปี 2023 จะขยายตัวตามอุปทานใหม่ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 500,000 ตร.ม. และการออกมาทากิจกรรมนอกบ้านตามปกติ หลังสถานการณ์การแพร่ ระบาดของ COVID-19 คลี่คลาย • แนวโน้มการฟื้นตัวจาแนกตามพื้นที่ พื้นที่ Suburb มีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง อีกทั้ง ยังเป็นพื้นที่เดียวที่ยังขยายตัวแม้ในช่วงที่ COVID-19 แพร่ระบาดรุนแรง จากการใช้จ่ายซื้อ สินค้าและของใช้จาเป็น ขณะที่ Midtown และ Downtown มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ต่อเนื่องเช่นกันในอัตราที่น้อยกว่าเล็กน้อย โดยเฉพาะพื้นที่ Downtown ที่มีปัจจัยบวก จากการกลับมาของนักท่องเที่ยวต่างชาติ • ในช่วง Medium-term (ปี 2024-2026) ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ายังต้องเผชิญกับ อุปทานใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีกไม่ต่ากว่า 600,000 ตร.ม. โดยยังมีโครงการขนาดใหญ่ อีกหลายโครงการที่จะเปิดในช่วงปี 2025-2026 ซึ่งยังไม่ได้ระบุขนาดพื้นที่ที่แน่นอนออกมา แต่คาดว่าจะมีจานวนมาก อาจส่งผลต่ออัตราการปล่อยเช่า และอัตราค่าเช่าในระยะต่อไป ให้ต่ากว่าที่คาดการณ์ได้ ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้น ในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ Suburb ซึ่งได้รับผลกระทบ น้อยกว่าพื้นที่อื่น ๆ ขณะที่ Midtown และ Downtown มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น
  • 4. 4 EIC Industry insight : Commercial real estate Executive Summary ประเด็นที่ต้องจับตามองสาหรับแนวโน้มตลาดพื้นที่สานักงาน และพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในระยะข้างหน้า จะมาจากอุปทานส่วนเกิน ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงเทรนด์ New normal ทั้งรูปแบบ การทางาน และ E-commerce ที่จะส่งผลต่อความต้องการ พื้นที่ และแนวโน้มการแข่งขันในตลาดที่รุนแรงขึ้น • อุปทานส่วนเกินมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องในระยะกลาง จากอุปทานที่มีแนวโน้มขยายตัว ในอัตราที่เร็วกว่าความต้องการพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่สานักงานให้เช่าที่คาดว่าอัตราเติบโต เฉลี่ยของอุปทานพื้นที่เช่ารวมในช่วงปี 2024-2026 จะยังมากกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงปี 2015- 2019 ทั้งนี้อุปทานพื้นที่สานักงานให้เช่าในปี 2022-2023 เพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน ตร.ม. ขณะที่ อุปทานพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าก็จะเพิ่มขึ้นอีกไม่น้อยกว่า 600,000 ตร.ม. และยังมีโครงการ ขนาดใหญ่อีกหลายโครงการที่จะเปิดในช่วงปี 2025-2026 ซึ่งจะเป็นปัจจัยกดดันการฟื้นตัว ของอัตราการปล่อยเช่า และอัตราค่าเช่าในระยะต่อไป • เทรนด์การทางานแบบ Hybrid workplace จากที่ออฟฟิศ ที่บ้าน หรือที่ไหนก็ได้ สลับ กับการเข้าสานักงาน จะส่งผลต่อแนวโน้มการฟื้นตัวของความต้องการพื้นที่สานักงานให้ เช่า และรูปแบบความต้องการพื้นที่สานักงานให้เช่าในระยะต่อไปมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก รูปแบบการทางานดังกล่าวมีแนวโน้มถูกนามาปรับใช้ และจะกลายเป็นมาตรฐานอย่าง รวดเร็ว ทาให้ความต้องการพื้นที่เช่าอาจยังมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในระยะ ต่อไป จากความจาเป็นในการใช้พื้นที่สานักงานของแต่ละบริษัทที่อาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่ ชะลอลง ขณะที่รูปแบบของสานักงานให้เช่าที่ตอบโจทย์ความต้องการในระยะต่อไปจะต้อง มีความหลากหลายและยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น เช่น การทาสัญญาเช่าระยะสั้น การปรับเปลี่ยนพื้นที่ เช่าได้ระหว่างสัญญา • การแข่งขันในพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้มรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะในต่างจังหวัด จากการ ขยายสาขาของผู้เล่นรายใหญ่ออกไปสู่จังหวัดหัวเมืองสาคัญที่มีศักยภาพมากขึ้น ทั้งใน รูปแบบพื้นที่ค้าปลีกโดยตรง และโครงการ Mixed-use สะท้อนจากการขออนุญาตก่อสร้าง อาคารเพื่อการพาณิชย์ในหลายจังหวัดหลัก ที่มีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการรายเล็กในท้องถิ่นมากขึ้น Implication ต่อผู้ประกอบการพื้นที่ สานักงานให้เช่าและพื้นที่ค้าปลีกให้เช่า • ผู้ประกอบการพื้นที่สานักงานให้เช่าควรปรับตัว ตามรูปแบบการ ทางานที่เปลี่ยนไป ท่ามกลางการแข่งขันที่สูงขึ้น พื้นที่ให้เช่าที่มี รูปแบบตายตัวแบบเดิมอาจไม่เพียงพอ แม้จะเป็นพื้นที่ให้เช่าเปิดใหม่ หรืออยู่ในทาเล CBD ก็ตาม นอกจากนั้น ยังรวมถึงการนาเสนอ ทางเลือกที่ยืดหยุ่น นาเทคโนโลยีมาใช้ การปรับรูปแบบเพื่อสร้าง ความแตกต่าง เช่น Green office, Double volume office หรือ Shared office เป็นต้น รวมถึงการพิจารณาทาโครงการ Mixed- use ให้มากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยง และการคานึงถึงเทรนด์ ESG • ผู้ประกอบการพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าควรเน้นตอบโจทย์ความ ต้องการที่หลากหลายและสร้างความแตกต่าง เพื่อเพิ่ม ศักยภาพการแข่งขัน ในระยะต่อไปที่ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามี แนวโน้มแข่งขันกันเข้มข้นยิ่งขึ้น และความต้องการของผู้บริโภค เปลี่ยนแปลงเร็ว ดังนั้น การดึงดูดกาลังซื้อ และ Traffic ของ โครงการด้วยรูปแบบพื้นที่ที่หลากหลาย และมีความแตกต่าง การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล และ Journey ของลูกค้า รวมถึงการ ให้ความสาคัญกับ Digital experience ควบคู่ไปกับ Physical experience จะเป็นมาตรฐานใหม่ที่ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีใน ระยะต่อไป อีกทั้ง ยังต้องคานึงเทรนด์ ESG อีกด้วย
  • 6. แนวโน้มตลาดสานักงานให้เช่า ปี 2023 ตลาดสานักงานให้เช่ามีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย จากการผ่อนคลายการควบคุมโรค ส่งผลให้ผู้คนส่วนใหญ่กลับเข้าไปทางานที่ออฟฟิศกันตามปกติ แต่รูปแบบการ ทางานแบบ Hybrid workplace จะมีบทบาทมากยิ่งขึ้น และจะส่งผลต่อความ ต้องการพื้นที่สานักงานให้ยังมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในระยะต่อไป จากความจาเป็นการใช้พื้นที่สานักงานของแต่ละบริษัทที่อาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลง ขณะที่รูปแบบของพื้นที่สานักงานให้เช่าที่ตอบโจทย์ความต้องการในระยะต่อไป จะต้องมีความหลากหลายและยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น โดยอุปทานพื้นที่เช่าที่คาดว่าจะ เพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน ตร.ม. ในปี 2022-2023 (ตามแผนการเปิดของผู้ประกอบการ) จะเป็นปัจจัยกดดันอัตราปล่อยเช่าให้ชะลอตัว นอกจากนี้ การฟื้นตัวของภาวะ เศรษฐกิจในประเทศที่มีแนวโน้มเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป รวมถึงเศรษฐกิจโลก ที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง ซึ่งส่งผลต่อแนวโน้มการลงทุนจากต่างชาติ จะยังเป็น ปัจจัยกดดันความต้องการพื้นที่เช่าสานักงานในระยะสั้น และส่งผลให้อัตราค่าเช่า ในปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวได้เพียงเล็กน้อย ทั้งในกลุ่มเกรด A และเกรด B โดยเฉพาะกลุ่ม Non-CBD เกรด B ที่มีแนวโน้มทรงตัวจากปีก่อนหน้า EIC Industry insight : Commercial real estate
  • 7. 7 EIC Industry insight : Commercial real estate ตลำดสำนักงำนให้เช่ำมีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย หลังกำรผ่อนคลำยกำรควบคุมโรค โดยมีปัจจัยด้ำนรูปแบบกำรทำงำน แบบ Hybrid workplace อุปทำนพื้นที่ให้เช่ำใหม่ที่เพิ่มขึ้นมำก รวมถึงควำมไม่แน่นอนของเศรษฐกิจภำยในประเทศ และเศรษฐกิจโลก ที่อำจส่งผลต่อควำมต้องกำรพื้นที่สำนักงำนให้เพิ่มขึ้นในอัตรำที่ชะลอลงในระยะต่อไป ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting Office • ตลาดสานักงานให้เช่าในปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย โดยพื้นที่ให้เช่าได้คาดว่าจะขยายตัวราว +0% ถึง +4% ใกล้เคียงกับปี 2022 จากการผ่อนคลายการควบคุมโรค ส่งผลให้ผู้คนส่วนใหญ่กลับ เข้าไปทางานที่ออฟฟิศกันตามปกติ แต่รูปแบบการทางานแบบ Hybrid workplace จากที่ออฟฟิศ ที่บ้าน หรือที่ไหนก็ได้ สลับกับการ เข้าสานักงาน จะมีบทบาทมากยิ่งขึ้น และส่งผลกระทบต่อความ ต้องการพื้นที่สานักงานมากขึ้น จากความจาเป็นต่อการใช้พื้นที่ สานักงานของแต่ละบริษัทที่อาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลง ทั้งในระยะ สั้นและระยะต่อไป นอกจากนั้น การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจใน ประเทศที่มีแนวโน้มเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป รวมถึงเศรษฐกิจโลก ที่ยังมีความ ไม่แน่นอนสูง ซึ่งส่งผลต่อแนวโน้มการลงทุนจากต่างชาติ ยังเป็น ปัจจัยกดดันในระยะสั้น ส่งผลให้อัตราปล่อยเช่าทรงตัว ขณะที่อัตรา ค่าเช่าในปี 2023 ยังมีแนวโน้มฟื้นตัวได้เพียงเล็กน้อย ทั้งในกลุ่ม เกรด A และเกรด B โดยเฉพาะกลุ่ม Non-CBD เกรด B ที่อาจ ทาได้เพียงทรงตัวจากปีก่อนหน้า • อุปทานพื้นที่เช่าที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน ตร.ม. ในปี 2022- 2023 (ตามแผนการเปิดของผู้ประกอบการ) จะเป็นปัจจัยกดดันอัตรา ปล่อยเช่าในระยะต่อไป ในขณะที่ต้นทุนการบริหารจัดการและการ ปรับปรุงพื้นที่ที่เพิ่มขึ้นในระยะต่อไป ส่งผลต่ออัตราค่าเช่ายังต้อง ปรับขึ้นอย่างช้า ๆ อุปสงค์และอุปทานของพื้นที่สานักงานในกรุงเทพฯ หน่วย : ล้านตารางเมตร 8.4 9.2 10.3 ถึง 10.8 2020 8.8 9.5 2021 8.3 ถึง 8.5 2022E 8.4 ถึง 8.7 2023F 8.1 9.0 8.3 2017 8.3 8.9 9.9 ถึง 10.1 2018 2019 8.3 -0.9% +0.5% ถึง +2.5% +0% ถึง +4% พื้นที่ให้เช่าได้ (Occupied space) อุปทานพื้นที่สานักงาน (Total supply) Key indicator 2015-19 2022E 2023F พื้นที่ให้เช่าได้ (Occupied space) 1.9% +0.5% ถึง +2.5% +0% ถึง +4.0% อุปทานพื้นที่ สานักงาน (Total supply) +1.5% +4.0% ถึง +6.0% +3.5% ถึง +7.5% อัตราค่าเช่า (Average rent) 5.5% -0.5% ถึง +1.5% +0% ถึง +4.0% อัตราปล่อยเช่า (Occupancy rate) 93% 84% ถึง 86% 80% ถึง 84%
  • 8. 8 EIC Industry insight : Commercial real estate กำรจดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2022 ยังฟื้นตัวจำกปีก่อนหน้ำ และคำดว่ำยังขยำยตัวได้อย่ำง ค่อยเป็นค่อยไปตำมกำรฟื้นตัวของเศรษฐกิจ เช่นเดียวกับอัตรำกำรว่ำงงำนที่เริ่มลดลงตั้งแต่ช่วงไตรมำส 4 ปี 2021 ส่งผลให้ธุรกิจพื้นที่สำนักงำนให้เช่ำมีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่ำงช้ำ ๆ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และธนาคารแห่งประเทศไทย การจดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ (ไม่รวมการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน) หน่วย : ราย 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 9,000 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2019 2020 2021 2022 2019 2020 2021 7M2022 จานวน 71,429 62,850 69,653 46,159 %YOY -0.9% -12.0% +10.8% +5.8% ทุน 4.6 ล้าน 3.7 ล้าน 3.1 ล้าน 6.7 ล้าน %YOY -11.7% -18.9% -15.2% +113.4%* ก.ค. 2019 = 6,452 (+8.3%YOY) ก.ค. 2020 = 5,658 (-12.3%YOY) ก.ค. 2021 = 5,653 (-0.1%YOY) ก.ค. 2022 = 5,847 (+3.4%YOY) * ณ เดือนเมษายน 2022 มีการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทโฮลดิ้งที่ไม่ได้ลงทุนในธุรกิจการเงินเป็นหลัก ซึ่งมีเงินทุนจดทะเบียน 1.5 แสนล้านบาท หมายเหตุ : กลุ่มธุรกิจบริการที่ส่วนใหญ่มีความต้องการพื้นที่สานักงานให้เช่าครอบคลุมราว 85% ของธุรกิจทั้งหมด ประกอบด้วย ธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง ธุรกิจที่พัก ธุรกิจการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจโทรคมนาคม ธุรกิจก่อสร้าง และธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพ จานวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงานของไทย หน่วย : พันคน หน่วย : % กาลังแรงงาน 323 341 377 451 404 373 651 748 378 758 732 871 632 608 547 0.8% 0.9% 1.0% 1.2% 1.1% 1.0% 1.7% 1.9% 1.0% 2.0% 1.9% 2.3% 1.6% 1.5% 1.4% 0.0% 0.5% 1.0% 1.5% 2.0% 2.5% 0 100 200 300 400 500 600 700 800 900 1,000 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 AVG 14-19 Q1-2021 Q2-2021 Q3-2021 Q4-2021 Q1-2022 Q2-2022 ผู้ว่างงาน (แกนซ้าย) อัตราว่างงาน (แกนขวา) 1.0% 1.4% ก่อน COVID-19* Q2/22 *เฉลี่ยปี 2014-19 Pre-COVID Office
  • 9. 9 EIC Industry insight : Commercial real estate กำรลงทุนจำกต่ำงชำติฟื้นตัวได้ดีในปีที่ผ่ำนมำ และขยำยตัวต่อเนื่องในปี 2022 ตำมกำรฟื้นตัวทำงเศรษฐกิจ และกำร อนุญำตให้ชำวต่ำงชำติเดินทำงเข้ำประเทศได้ตำมปกติ ทำให้อุปสงค์ของบริษัทต่ำงชำติต่อพื้นที่สำนักงำนฟื้นตัวได้มำกขึ้น แต่แนวโน้มในปี 2023 ยังต้องติดตำมควำมไม่แน่นอนของสถำนกำรณ์เศรษฐกิจโลก ซึ่งอำจส่งผลให้กำรลงทุนชะลอตัว ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย และกระทรวงแรงงาน การลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศที่เข้ามาประเทศไทย (Inflow FDI) หน่วย : พันล้านบาท ใบอนุญาตทางานของชาวต่างชาติประเภทแรงงานฝีมือ หน่วย : พันใบอนุญาต Office 0 2,500 500 1,500 1,000 2,000 6M21 2017 2016 2018 2019 2020 2021 6M22 2,060 1,939 1,976 1,876 1,549 959 1,126 2,068 -3.1% -17.4% +33% +17% 170 155 165 145 135 140 150 160 175 180 Nov Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Dec 2022 2019 2021 2020 อุปสงค์ของบริษัทต่างชาติต่อพื้นที่สานักงานฟื้นตัวได้มากขึ้น แต่จะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศ ท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่เริ่ม ส่งสัญญาณของการชะลอตัว
  • 10. 10 EIC Industry insight : Commercial real estate ตลำดสำนักงำนให้เช่ำในพื้นที่ CBD มีแนวโน้มขยำยตัวได้มำกขึ้น ตำมกำรเพิ่มขึ้นของพื้นที่ให้เช่ำได้ที่ยังคงมีควำม ต้องกำร โดยเฉพำะในกลุ่ม CBD เกรด A อย่ำงไรก็ตำม กำรฟื้นตัวก็ยังคงเป็นไปอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปจำกอุปทำนใหม่ ที่เพิ่มขึ้นมำกในกลุ่มเกรด A ซึ่งอำจทำให้กลุ่มเกรด B ในพื้นที่ต้องเริ่มปรับตัว พื้นที่ให้เช่าได้ และอัตราการเช่าใน CBD จาแนกตามเกรด หน่วย : ล้านตารางเมตร / % Office - CBD ภาพรวมภาวะตลาดในพื้นที่ CBD • พื้นที่ให้เช่าได้ใน CBD ปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว ได้ราว +1.5% ถึง +5.5%YOY จากการ เพิ่มขึ้นของพื้นที่ให้เช่าได้ของกลุ่ม CBD เกรด A เป็นหลัก หลังจากการกลับเข้าทางานที่ ออฟฟิศตามปกติ แต่เทรนด์การทางานแบบ Hybrid workplace จะเป็นปัจจัยกดดันการ ขยายตัว เช่นเดียวกับสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ยังมีความไม่แน่นอน อาจส่งผลต่อความ ต้องการพื้นที่เช่าของบริษัทจากต่างชาติให้ยังไม่สามารถฟื้นตัวได้เต็มที่ นอกจากนั้น อุปทานใหม่ของ CBD เกรด A ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นกว่า 500,000 ตร.ม. ในปี 2022-2023 จะทาให้อัตราการเช่าของ CBD เกรด A ชะลอตัวลง และกดดันให้อัตราค่าเช่าขยายตัวได้ เพียงเล็กน้อยในระยะสั้น ส่วนกลุ่ม CBD เกรด B ที่อุปทานใหม่เพิ่มขึ้นเพียงราว 90,000 ตร.ม. จึงทาให้อัตราการเช่ายังมีแนวโน้มทรงตัวได้ แต่อาจได้รับผลกระทบมากขึ้นในระยะ ต่อไป จากตัวเลือกอุปทานใหม่เกรด A ที่มีความทันสมัย ในขณะที่ความแตกต่างของอัตรา ค่าเช่ายังมีแนวโน้มไม่เพิ่มขึ้นมากนัก • อัตราค่าเช่าในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากปีก่อนหน้า จากอุปทานใหม่ จานวนมากในกลุ่มเกรด A ที่ยังคงกดดัน ในขณะที่อุปสงค์เริ่มฟื้นตัวได้มากขึ้น ประเด็นที่ต้องติดตาม • อุปทานส่วนเกินของพื้นที่ CBD เกรด A ในช่วงปี 2023-2026 ที่จะเพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้าน ตร.ม. เป็นอย่างน้อย ซึ่งมีโอกาสสูงที่อุปสงค์จะเร่งตัวตามไม่ทัน กดดันการขยายตัวของ อัตราการเช่าได้ และยังกดดันให้การปรับขึ้นของอัตราค่าเช่าในระยะข้างหน้าจะเป็นไป อย่างค่อยเป็นค่อยไป Occupied space A (แกนซ้าย) Occupied space B (แกนซ้าย) %Occ rate A (แกนขวา) %Occ rate B (แกนขวา) ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting 2 0 60 1 0 80 100 5 7 6 20 40 3 4 4.2 68% 32% 2018 68% 32% 2019 66% 2020 66% 34% 4.2 35% 65% 2022E 2023F 64% 2021 34% 4.1 36% 4.1 ถึง 4.2 4.1 4.3 ถึง 4.5 -1.5% +1% ถึง +3% +1.5% ถึง +5.5%
  • 11. 11 EIC Industry insight : Commercial real estate ตลำดสำนักงำนให้เช่ำในพื้นที่ Non-CBD มีโอกำสที่จะฟื้นตัวได้เพียงเล็กน้อย หรือขยำยตัวในอัตรำที่ต่ำกว่ำของพื้นที่ CBD จำกพื้นที่ให้เช่ำในกลุ่มเกรด A ที่ยังขยำยตัวได้ ขณะที่ของกลุ่มเกรด B ซึ่งมีสัดส่วนกว่ำ 80% ของพื้นที่ทั้งหมด ยังมีแนวโน้มทรงตัว พื้นที่ให้เช่าได้ และอัตราการเช่าใน Non-CBD จาแนกตามเกรด หน่วย : ล้านตารางเมตร / % Office – Non-CBD ภาพรวมภาวะตลาดในพื้นที่ Non-CBD • พื้นที่ให้เช่าได้ใน Non-CBD ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวเล็กน้อย ต่ากว่าพื้นที่ CBD โดยคาดว่า จะขยายตัว ราว 0% ถึง +4%YOY จากพื้นที่ให้เช่าได้ของกลุ่มเกรด A ที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ขณะที่ กลุ่มเกรด B ซึ่งมีสัดส่วนกว่า 80% มีแนวโน้มทรงตัว อย่างไรก็ดี อุปทานใหม่ของกลุ่มเกรด A ที่เพิ่มขึ้นราว 300,000 ตร.ม. ในปี 2022-2023 อาจกดดันการฟื้นตัวของอัตราค่าเช่าให้เป็นอย่าง จากัด และอัตราการเช่าชะลอตัวลงในระยะสั้น แต่ด้วยปัจจัยด้านอัตราค่าเช่าที่ยังต่ากว่าในพื้นที่ CBD เกรด A และการขยายตัวของรถไฟฟ้าสายใหม่ที่ทาให้เดินทางเข้าถึงได้สะดวกขึ้น จะทาให้ พื้นที่ให้เช่าได้ของกลุ่มเกรด A ยังมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง เพียงแต่อัตราการขยายตัวของ อุปสงค์ยังต่ากว่าอุปทานในระยะสั้น ส่วนในกลุ่มเกรด B แม้อุปทานใหม่อาจเพิ่มขึ้นไม่มากนัก แต่ความต้องการพื้นที่ให้เช่าอาจชะลอตัวลงเช่นกัน จากพื้นที่ให้เช่าเปิดใหม่ของกลุ่มเกรด A ที่มี อัตราค่าเช่าสูงกว่าไม่มากนัก, กลุ่มเป้าหมายเดิมของ Non-CBD เกรด B ที่ส่วนใหญ่เป็นบริษัท ขนาดกลาง-เล็กอาจมีความต้องการพื้นที่น้อยลงจากทั้งเหตุผลทางเศรษฐกิจ หรือการสนับสนุน ให้พนักงานทางานแบบ Remote work มากขึ้นเพื่อความคล่องตัว รวมเหตุผลด้านการเดินทาง ของทาเล Non-CBD บางทาเลที่อาจยังเข้าถึงได้ยากจากระบบโดยสารสาธารณะ • อัตราค่าเช่าในปี 2023 อาจยังทรงตัวหรือขยายตัวได้เพียงเล็กน้อย จากอัตราค่าเช่าของกลุ่ม เกรด B ซึ่งมีสัดส่วนค่อนข้างมากยังมีแนวโน้มทรงตัว ส่วนของกลุ่มเกรด A ฟื้นตัวได้เล็กน้อย ประเด็นที่ต้องติดตาม • การทยอยเปิดให้บริการของรถไฟฟ้าสายใหม่ และส่วนต่อขยายในระยะต่อไป จะเป็นปัจจัย สาคัญที่ช่วยสนับสนุนให้พื้นที่เช่าได้เติบโตตามพื้นที่ให้เช่าได้ดีขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเกรด A Occupied space A (แกนซ้าย) Occupied space B (แกนซ้าย) %Occ rate A (แกนขวา) %Occ rate B (แกนขวา) ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting 0 20 40 60 80 100 5 0 6 1 2 7 3 4 85% 2018 15% 2019 15% 2020 87% 15% 4.0 2021 17% 2022E 83% 17% 2023F 85% 2017 13% 4.2 87% 4.1 85% 4.1 4.2 4.2 ถึง 4.3 4.2 ถึง 4.4 83% 13% -0.3% +1% ถึง +3% +0% ถึง +4%
  • 12. 12 EIC Industry insight : Commercial real estate อุปทำนที่เพิ่มขึ้นตลอดปี 2022 อำจกดดันให้อัตรำกำรปล่อยเช่ำทั้งปีลดลงไปอยู่ที่รำว 85% ขณะที่ในปี 2023-2026 อุปทำนใหม่ที่จะเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่ำ 1.6 ล้ำน ตร.ม. จะกดดันกำรฟื้นตัวของอัตรำกำรปล่อยเช่ำ และอัตรำค่ำเช่ำในระยะถัดไป ในพื้นที่ที่มีอุปทำนใหม่เพิ่มขึ้นมำก เช่น ลุมพินี Northern Corridor และบำงนำ-ตรำด อุปทานพื้นที่จาแนกตามพื้นที่* หน่วย : พันตารางเมตร ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting อัตราการปล่อยเช่าจาแนกตามพื้นที่ ณ ไตรมาส 1 ปี 2022 -8 -6 -4 -2 0 2 4 0% 100% 80% 85% 90% 95% Ratchada North Bangna-Trad Northern Corridor Lumpini อัตราการเติบโตของพื้นที่ให้เช่าได้ (%YOY) Outer Northern Corridor Late Sukhumvit East Bangkok City South Other non-CBD Early Sukhumvit อั ต ราการปล่ อ ยเช่ า (%) Other CBD Silom/Sathorn CBD Non-CBD อุปทานพื้นที่ 867 Early Sukhumvit 396 Silom/Sathorn 1,741 Lumpini 938 1,153 Other CBD 1,282 Northern Corridor 911 303 Ratchada North 344 374 Outer Northern Corridor 646 Late Sukhumvit Bangna-Trad East Bangkok 532 City South Other non-CBD อุปทานพื้นที่รวมใน Q1-2022 อุปทานใหม่ช่วงปี 2022-26F
  • 13. 13 EIC Industry insight : Commercial real estate ประเด็นที่ต้องจับตามองของธุรกิจพื้นที่สานักงานให้เช่าในระยะต่อไป อุปทานส่วนเกินที่เพิ่มขึ้น ต่อเนื่องในระยะกลาง การทางานแบบ Hybrid ทั้งจาก ออฟฟิศ จากบ้าน หรือจากที่ ไหนก็ได้ ที่มีบทบาทมากขึ้น 1 2
  • 14. 14 EIC Industry insight : Commercial real estate ในระยะกลำง อุปทำนพื้นที่สำนักงำนใหม่มีแนวโน้มขยำยตัวเร็วกว่ำอุปสงค์ค่อนข้ำงมำก โดยเฉพำะกลุ่มเกรด A และในพื้นที่ CBD ที่มีควำมเสี่ยงต้องเผชิญภำวะอุปทำนส่วนเกิน และรับมือกับกำรแข่งขันที่สูงขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting อุปทานพื้นที่สานักงานเกรด A เปิดใหม่ในปี 2022-2025 อุปทานพื้นที่สานักงานเกรด B เปิดใหม่ในปี 2022-2025 หน่วย : พันตารางเมตร 62% 38% 2022 17% 440 ถึง 460 2023 100% 83% 69% 2024 2025 100% 2026+ 350 ถึง 370 120 ถึง 140 10 ถึง 15 500 ถึง 520 CBD Non-CBD 48% 100% 2023 52% 54% 2024 0 2022 46% 2025 2026+ 120 ถึง 140 70 ถึง 75 20 ถึง 25 0 หน่วย : พันตารางเมตร CBD Non-CBD
  • 15. 15 EIC Industry insight : Commercial real estate บริษัทต่ำง ๆ มีแนวโน้มทำงำนแบบ Hybrid workplace ส่งผลให้ผู้ประกอบกำรพื้นที่สำนักงำนให้เช่ำจำเป็นต้องทำควำม เข้ำใจควำมต้องกำรเชิงลึก (Insight) ของลูกค้ำในด้ำนต่ำง ๆ เพื่อนำเสนอพื้นที่ให้เช่ำ และกำรให้บริกำรได้อย่ำงเหมำะสม รูปแบบการจัดที่นั่งทางานของบริษัทที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง หน่วย : % ของผู้ตอบแบบสอบถาม 18% 28% 11% 13% Pre COVID-19 2022 Next 2 years 29% 58% 29% 24% 19% 12% 27% 33% รูปแบบการจัดที่นั่งทางานของบริษัทที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในอีก 2 ปีข้างหน้า หน่วย : % ของผู้ตอบแบบสอบถาม 13% 30% 25% Life sciences Finance Tech Professional services 32% 26% 14% 26% 35% 22% 35% 17% 26% 7% 14% 43% 36% ในระยะ 2 ปีข้างหน้า บริษัทต่าง ๆ มีแนวโน้มลดที่นั่งทางานประจาสาหรับ พนักงานลง และมีแนวโน้มปรับรูปแบบ การจัดที่นั่งทางานให้มีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนไปตามรูปแบบกิจกรรมการ ทางานมากขึ้น อย่างไรก็ดี แนวโน้มการปรับรูปแบบ การจัดที่นั่งทางานมีความแตกต่างกัน ในแต่ละธุรกิจ เช่น บริการด้าน วิชาชีพยังมีแนวโน้มให้ความสาคัญ กับที่นั่งทางานประจาสาหรับพนักงาน ค่อนข้างมากกว่าธุรกิจอื่น ๆ Fixed seating Activity-based working Targeted mobility Hotdesking รูปแบบการจัดที่นั่งทางานของบริษัทที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง หน่วย : % ของผู้ตอบแบบสอบถาม สานักงานให้เช่าจะต้องตอบโจทย์ผู้เช่า ทั้งด้านการใช้พื้นที่โดยรวม วิถีชีวิต พนักงานของผู้เช่า และมีการนาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการทางาน ดังนั้น ผู้ประกอบการพื้นที่สานักงานให้เช่าต้องทาความเข้าใจ Insight ของลูกค้าใน ด้านต่าง ๆ เพื่อนาเสนอพื้นที่ให้เช่า และการให้บริการได้อย่างเหมาะสม ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลผลสารวจ Spring 2022 Asia pacific Occupier Survey ของ CBRE สารวจ ณ เดือนมีนาคม 2022
  • 16. 16 EIC Industry insight : Commercial real estate กำรปรับกลยุทธ์ของผู้ประกอบกำรพื้นที่สำนักงำนให้เช่ำ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC การตกแต่ง • ตกแต่งครบ • ตกแต่งบางส่วน • ไม่มีการตกแต่ง • ประเภทธุรกิจ และลักษณะการประกอบธุรกิจของผู้เช่า • นโยบายการทางานแบบ Hybrid workplace ของผู้เช่า • ความต้องการของพนักงานของผู้เช่า • การบริหารจัดการ Facility ต่าง ๆ • การติดต่อเจ้าของพื้นที่ให้เช่าได้ แบบ Real time • อาคารสีเขียว เช่น มีระบบประหยัดพลังงาน ใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • สภาพแวดล้อมที่ดีสาหรับพนักงาน เช่น มีระบบกรองอากาศ Facility ต่าง ๆ • มาตรฐานอาคาร เช่น Leadership in Energy and Environmental Design (LEED), Global Real Estate Sustainability Benchmark (GRESB) และ WELL Building Standard ขนาดพื้นที่ • พื้นที่ใช้สอยเริ่มต้นที่ผู้เช่า SMEs หรือ Start up สามารถเข้าถึงได้ • ระบบความปลอดภัย • ระบบไร้สัมผัสในการเข้าใช้พื้นที่ ส่วนกลาง นาเทคโนโลยีมาอานวยความสะดวก นาเสนอทางเลือกในการเช่าที่หลากหลาย และยืดหยุ่นสาหรับลูกค้า ทาความเข้าใจ Insight ของลูกค้าในด้านต่าง ๆ เพื่อนาเสนอพื้นที่ให้เช่า และการให้บริการ ได้อย่างเหมาะสม ตอบโจทย์เทรนด์ ESG เพื่อรักษาความสามารถ ในการแข่งขัน และอัตราค่าเช่า
  • 18. แนวโน้มตลาด พื้นที่ค้าปลีกให้เช่า ปี 2023 ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง โดยความ ต้องการพื้นที่ค้าปลีกมีแนวโน้มฟื้นตัวได้มากขึ้น จากการออกมา ทากิจกรรมนอกบ้านเริ่มเป็นปกติมากขึ้นหลังสถานการณ์การ แพร่ระบาดของ COVID-19 คลี่คลาย ขณะที่คาดว่าพื้นที่ให้เช่า ได้จะขยายตัวตามอุปทานใหม่ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 500,000 ตร.ม. อย่างไรก็ตาม อัตราการเพิ่มขึ้นของอุปทานที่ คาดว่าจะมากกว่าของอุปสงค์ส่งผลให้อัตราปล่อยเช่าปี 2023 มีแนวโน้มชะลอตัวลงเล็กน้อย ส่วนปัจจัยทางเศรษฐกิจ ทั้ง ภาวะเงินเฟ้อ และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง กดดันให้ กาลังซื้อยังคงฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป เช่นเดียวกับผู้เช่า พื้นที่ค้าปลีกที่ได้รับผลกระทบอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และ ยังอยู่ในระยะเริ่มฟื้นตัว ประกอบกับการเติบโตของ E- commerce ทาให้การฟื้นตัวของพื้นที่ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้ม เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป ขณะที่อัตราค่าเช่าในปี 2023 มี แนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยใกล้เคียงกับอัตราในปีก่อนหน้า EIC Industry insight : Commercial real estate
  • 19. 19 EIC Industry insight : Commercial real estate Key indicator 2015-19 2022E 2023F พื้นที่ให้เช่าได้ (Occupied space) +3.1% +2.0% ถึง +4.0% +3.0% ถึง +7.0% อุปทานพื้นที่ ค้าปลีก (Total supply) +2.4% +3.0% ถึง +5.0% +5.0% ถึง +9.0% อัตราปล่อยเช่า (Occupancy rate) 94.1% 93% ถึง 95% 90% ถึง 94% อัตราค่าเช่า (Average rent) +0.9% +2.0% ถึง +4.0% +1.0% ถึง +5.0% ตลำดพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำมีแนวโน้มขยำยตัวต่อเนื่องหลังกำรแพร่ระบำดกลับสู่ภำวะปกติ และตำมอุปทำนใหม่ที่เพิ่มขึ้นมำก อย่ำงไรก็ตำม อัตรำกำรเพิ่มขึ้นของอุปทำนที่มีแนวโน้มมำกกว่ำอุปสงค์ และกำรเติบโตของ E-commerce อำจกดดันกำรฟื้นตัวของตลำดให้เป็นไปอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปในระยะต่อไป ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting Retail • ตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง โดย ความต้องการพื้นที่ค้าปลีกมีแนวโน้มฟื้นตัว จากการออกมาทากิจกรรม นอกบ้านเริ่มเป็นปกติมากขึ้นหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 คลี่คลาย ซึ่งคาดว่าพื้นที่ให้เช่าได้จะขยายตัวราว +3% ถึง +7%YOY ในส่วนของอุปทานใหม่ คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 500,000 ตร.ม. จากทั้งตามแผนการเปิดเดิม และทั้งที่ชะลอการเปิดไปในช่วงที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม อัตราการเพิ่มขึ้นของอุปทานที่คาดว่าจะมากกว่าของอุป สงค์ส่งผลให้อัตราปล่อยเช่าปี 2023 มีแนวโน้มชะลอตัวลงเล็กน้อยอีกทั้ง ภาวะเงินเฟ้อและหนี้ครัวเรือนที่ยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับสูงยังคงกดดันให้ กาลังซื้อยังคงฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป เช่นเดียวกับผู้เช่าพื้นที่ค้า ปลีกที่ได้รับผลกระทบอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา และยังอยู่ในระยะเริ่ม ฟื้นตัว ประกอบกับการเติบโตของ E-commerce ทาให้การฟื้นตัวของ พื้นที่ ค้าปลีกให้เช่ามีแนวโน้มเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป • อัตราค่าเช่าในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น ราว +1.0% ถึง +5.0%YOY ใกล้เคียงกับอัตราในปีก่อนหน้า โดยเป็นการฟื้นตัวอย่าง ค่อยเป็นค่อยไปหลังจากหดตัวแรงต่อเนื่องในช่วง COVID-19 และภาระ ต้นทุนที่ปรับตัวสูงขึ้น • ในปี 2024-2026 อุปทานใหม่อย่างน้อยอีก 600,000 ตร.ม. มีแนวโน้มกดดันอัตราการขยายตัวของตลาด ทั้งในด้านอัตราการ ปล่อยเช่า และอัตราค่าเช่า อุปสงค์และอุปทานของพื้นที่ค้าปลีกในกรุงเทพฯ หน่วย : ล้านตารางเมตร 2023F 2019 7.5 7.8 2020 7.5 8.6 ถึง 8.9 7.0 2021 7.6 ถึง 7.8 2022E 7.4 7.9 ถึง 8.3 7.4 2017 8.1 ถึง 8.3 2018 7.9 7.6 7.2 7.7 +0.2% +2% ถึง +4% +3% ถึง +7% พื้นที่ให้เช่าได้ (Occupied space) อุปทานพื้นที่ค้าปลีก (Total supply)
  • 20. 20 EIC Industry insight : Commercial real estate ดัชนีค้ำปลีกในหมวดต่ำง ๆ ยังมีแนวโน้มทรงตัวหรือฟื้นตัวอย่ำงค่อยเป็นค่อยไป ท่ำมกลำงควำมกังวลเกี่ยวกับเงินเฟ้อ และค่ำครองชีพที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น สะท้อนจำกดัชนีควำมเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงทรงตัว อย่ำงไรก็ตำม ดัชนีค้ำปลีก ในหมวด Online ยังมีแนวโน้มขยำยตัวได้ต่อเนื่อง สะท้อนกำรเติบโตของตลำด E-commerce ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จาก Euromonitor และศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย Retail ดัชนีค้าปลีกหมวดต่าง ๆ หน่วย : ดัชนี 2019=100 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค หน่วย : ดัชนี 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 140 4Q2021 4Q2020 2019 1Q2020 2Q2020 3Q2021 2Q2021 3Q2020 1Q2021 1Q2022 2Q2022 Online (แกนขวา) Department store and supermarket (แกนซ้าย) Health & Beauty (แกนซ้าย) Home & Garden (แกนซ้าย) Fashion (แกนซ้าย) 0 20 40 60 80 100 120 01/2021 01/2018 01/2019 01/2020 01/2022 01/2023 Economic Situation: Present Income Economic Situation: Future
  • 21. 21 EIC Industry insight : Commercial real estate Traffic ในพื้นที่ค้ำปลีกแม้จะดีกว่ำในช่วง COVID-19 ระบำดรุนแรงแต่เริ่มชะลอตัว เช่นเดียวกับควำมถี่ในกำรซื้อ และกำรใช้จ่ำยแต่ละครั้ง จำกปัจจัยเสี่ยงทำงเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อกำรฟื้นตัวของกำลังซื้อ และส่งผลต่อควำมเชื่อมั่น ผู้ประกอบกำรค้ำปลีกที่ยังมีควำมกังวลถึงควำมไม่แน่นอนของกำรฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Google และสมาคมค้าปลีกไทย Retail Google Mobility Index หน่วย : ดัชนี (% การเปลี่ยนแปลงจากช่วงเวลา 3 ม.ค. – 6 ก.พ. 2020) ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการค้าปลีก หน่วย : Index -50 -40 -30 -20 -10 0 10 20 30 40 50 Mar Mar Jun Sep Dec Sep Jun Dec Mar Jun Sep Retail and Recreation Grocery and Pharmacy 2020 2021 2022
  • 22. 22 EIC Industry insight : Commercial real estate ตลำดพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำในพื้นที่ Downtown มีแนวโน้มกลับมำปรับตัวเพิ่มขึ้น จำกทำเลใจกลำงเมืองที่ยังสำมำรถดึงดูด Traffic ได้ดี ทั้งจำกชำวไทย และนักท่องเที่ยวต่ำงชำติ เช่นเดียวกับอัตรำค่ำเช่ำในพื้นที่ที่คำดว่ำจะกลับมำฟื้นตัวได้ดี หลังลดลงต่อเนื่องจำก COVID-19 และมำตรกำรลดค่ำเช่ำในช่วงที่ผ่ำนมำ ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าได้ในพื้นที่ Downtown หน่วย : ล้านตารางเมตร ภาพรวมภาวะตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าใน Downtown • อัตราการปล่อยเช่าในปี 2023 มีแนวโน้มกลับมาปรับตัวเพิ่มขึ้น มาอยู่ที่ราว 91-95% จากสถานการณ์การแพร่ระบาดที่คลี่คลาย การใช้ชีวิตเข้าสู่ภาวะปกติ นักท่องเที่ยวต่างชาติมีแนวโน้มกลับมา มากขึ้น และอุปทานใหม่ที่เพิ่มขึ้นไม่มากนัก หลังเพิ่มขึ้นมากว่า 1.2 แสน ตร.ม. ในปีก่อนหน้า โดยคาดว่าอุปสงค์จะขยายตัวได้ต่อเนื่อง ราว +1.5% ถึง +5.5%YOY • อัตราค่าเช่าปี 2023 มีแนวโน้มกลับมาฟื้นตัวได้ดี ราว +2% ถึง +6%YOY หลังลดลงมาแรงตั้งแต่ปี 2020 และทรงตัวได้ในปีที่ผ่านมา หลังสถานการณ์เริ่มคลี่คลายมากขึ้น โดยอัตราค่าเช่ามีแนวโน้ม ฟื้นตัวได้เร็วจากทาเลในเมือง ที่ยังคงดึงดูด Traffic ที่หนาแน่นได้ อย่างต่อเนื่อง เมื่อสถานการณ์เริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ประเด็นที่ต้องติดตาม • ความเสี่ยงอุปทานส่วนเกินจากโครงการขนาดใหญ่ในระยะกลาง ช่วงปี 2024-2026 ที่อาจกดดันอัตราการขยายตัวของตลาด อาทิ Dusit Central Park (2024) One Bangkok (2024) British Embassy Site (2026+) ซึ่งอาจส่งผลให้การแข่งขันในพื้นที่สีลม และบริเวณใกล้เคียงมีความเข้มข้นมากขึ้นในระยะต่อไป 1.8 1.8 1.7 2019 1.7 1.9 1.7 1.9 ถึง 2.1 2020 2021 1.8 ถึง 1.9 1.9 ถึง 2.1 2022E 2.0 ถึง 2.2 2023F +4% ถึง +5% +1.5% ถึง +5.5%YOY พื้นที่ให้เช่าได้ (Occupied space) อุปทานพื้นที่ค้าปลีก (Total supply) Retail - Downtown
  • 23. 23 EIC Industry insight : Commercial real estate ตลำดพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำในพื้นที่ Midtown มีแนวโน้มขยำยตัวได้ในอัตรำที่ใกล้เคียงกับในพื้นที่ Downtown ตำมกำร ขยำยตัวของอุปทำนใหม่ที่เพิ่มขึ้นมำก อย่ำงไรก็ตำม ด้วย Traffic อำจยังไม่เท่ำของพื้นที่ Downtown ทำให้อัตรำกำร ปล่อยเช่ำในพื้นที่อำจชะลอตัวลง และต่ำกว่ำอัตรำกำรปล่อยเช่ำของ Downtown เล็กน้อย ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting Retail - Midtown พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าได้ในพื้นที่ Midtown หน่วย : ล้านตารางเมตร ภาพรวมภาวะตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าใน Midtown • พื้นที่ให้เช่าได้ในปี 2023 ยังมีแนวโน้มขยายตัว ราว +2% ถึง +6%YOY ตามการขยายตัวของอุปทานใหม่ที่เพิ่มขึ้นเกือบ 200,000 ตร.ม. หรือราว +9%YOY และกาลังซื้อในภาพรวมที่ค่อย ๆ ฟื้นตัวได้ มากขึ้น แม้ Traffic อาจยังไม่เท่าของพื้นที่ Downtown ทาให้อัตรา การปล่อยเช่ามีแนวโน้มลดลงจากปีก่อนหน้า มาอยู่ที่ระดับ 90% หรือต่ากว่าเล็กน้อย • อัตราค่าเช่าปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ในอัตราที่ ใกล้เคียงกับในปีก่อนหน้าอยู่ที่ราว +0.5% ถึง +4.5%YOY ส่วนหนึ่ง จากการกดดันของอุปทานใหม่ที่เพิ่มขึ้นมาก โดยในระยะต่อไป อัตรา ค่าเช่าในพื้นที่ยังมีทิศทางการขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในอัตรา ที่ใกล้เคียงกับในปัจจุบัน ประเด็นที่ต้องติดตาม • ความเสี่ยงอุปทานส่วนเกินจากโครงการขนาดใหญ่ในระยะกลาง ช่วงปี 2024-2026 ที่อาจกดดันอัตราการขยายตัวของตลาด อาทิ Asiatique phase 2.3 (2024) Centerpoint Shopping Mall Ratchadapisek (2026+) และ Gateway (Thonburi) (2026+) พื้นที่ให้เช่าได้ (Occupied space) อุปทานพื้นที่ค้าปลีก (Total supply) 2.1 2.0 2019 2.0 2020 2.2 ถึง 2.4 2.3 ถึง 2.5 2021 2.1 2.0 2.2 ถึง 2.4 2.1 ถึง 2.2 2022E 2023F 2.1 +2% ถึง +4% +2% ถึง +6%YOY
  • 24. 24 EIC Industry insight : Commercial real estate ตลำดพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำในพื้นที่ Suburb ยังขยำยตัวได้อย่ำงต่อเนื่อง และเป็นพื้นที่เดียวที่ยังขยำยตัวได้แม้ในช่วงที่ COVID-19 แพร่ระบำดรุนแรง อย่ำงไรก็ตำม อุปทำนใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมำกอำจทำให้อัตรำกำรเช่ำลดลงเล็กน้อย ในระยะสั้น แต่ด้วยทำเลที่ตอบโจทย์กำรขยำยตัวของเมืองส่งผลให้ตลำดยังมีแนวโน้มเติบโตและคำดว่ำจะกลับไปอยู่ระดับ เดิมได้ในระยะต่อไป ที่มา : ข้อมูลปี 2022-2023 วิเคราะห์และคาดการณ์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting Retail - Suburb พื้นที่ค้าปลีกให้เช่าได้ในพื้นที่ Suburb หน่วย : ล้านตารางเมตร ภาพรวมภาวะตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าใน Suburb • พื้นที่ให้เช่าได้ในปี 2023 ยังมีแนวโน้มขยายตัว ราว +2.5% ถึง +6.5%YOY ตามการขยายตัวของอุปทานใหม่ที่เพิ่มขึ้นกว่า 350,000 ตร.ม. ประกอบกับ การฟื้นตัวของกาลังซื้อที่ดีขึ้น ทาให้ทิศทางการขยายตัวอยู่ในลักษณะ เดียวกับในพื้นที่ Midtown สาหรับอัตราการเช่าที่มีแนวโน้มชะลอตัวลงมา อยู่ที่ระดับราว 91-95% จาก 96-97% ในช่วงก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม จากแนวโน้ม Traffic ในพื้นที่ที่ดีมาตลอดแม้ในช่วงที่มีการแพร่ระบาด จากการซื้อสินค้าอาหาร และของใช้ที่จาเป็นตามพื้นที่ค้าปลีก ที่อยู่ไม่ไกล จากบ้าน ประกอบกับสัดส่วนการพึ่งพารายได้จากนักท่องเที่ยวน้อย ทาให้ คาดว่าอัตราการเช่าจะกลับมาขยายตัวขึ้นไปอยู่ในระดับเดิมได้ในระยะต่อไป • อัตราค่าเช่าปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ราว +0% ถึง +4% น้อยกว่าในพื้นที่ Midtown เล็กน้อย จากการกดดันของอุปทานใหม่ที่ เพิ่มขึ้นมากเช่นกัน ประเด็นที่ต้องติดตาม • ความเสี่ยงอุปทานส่วนเกินจากโครงการขนาดใหญ่ในระยะกลาง ช่วงปี 2024-2026 ที่อาจกดดันอัตราการขยายตัวของตลาด อาทิ Gateway Bangna (2026+) Central M (2026+) และ Big Lake City (2026+) พื้นที่ให้เช่าได้ (Occupied space) อุปทานพื้นที่ค้าปลีก (Total supply) 2.5 4.5 3.7 3.7 4.0 ถึง 4.1 3.8 2019 3.9 2021 2020 3.8 3.9 3.9 ถึง 4.0 2022E 4.1 ถึง 4.3 4.3 ถึง 4.5 2023F +1% ถึง +3% +2.5% ถึง +6.5%
  • 25. 25 EIC Industry insight : Commercial real estate ประเด็นที่ต้องจับตามองของธุรกิจพื้นค้าปลีกให้เช่าในระยะต่อไป ความเสี่ยงอุปทานส่วนเกิน ในระยะต่อไป การแข่งขันในพื้นที่ต่างจังหวัด มีแนวโน้มรุนแรงขึ้น จากการ ขยายสาขาของผู้เล่นรายใหญ่ 1 2
  • 26. 26 EIC Industry insight : Commercial real estate พื้นที่ค้ำปลีกเปิดให้บริกำรใหม่มำกกว่ำ 1 ล้ำนตำรำงเมตร ระหว่ำงปี 2023-2026 กระจำยตัวอยู่ทั่วพื้นที่กรุงเทพ และปริมณฑล ไม่รวมพื้นที่ที่ทำกำร Renovate ใหม่ ทำให้ยังต้องติดตำมควำมเสี่ยงภำวะอุปทำนส่วนเกินในระยะต่อไป โดยในพื้นที่ Downtown ต้องติดตำมกำรแข่งขันในพื้นที่สีลมและพื้นที่ใกล้เคียงในระยะต่อไป ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ CBRE ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก CBRE : https://www.cbre.co.th/services/transform-business-outcomes/consulting/research-and-consulting อุปทานพื้นที่ค้าปลีกใหม่ แบ่งตามพื้นที่ หน่วย : พันตารางเมตร 2022 30% 30% 63% 31% 39% 2023 35% 2% 2025 12% 88% 2026+ 298 2024 5 311 556 267 10% 60% Downtown Midtown Suburbs
  • 27. 27 EIC Industry insight : Commercial real estate พื้นที่ค้ำปลีกในต่ำงจังหวัดแข่งขันรุนแรงขึ้นจำกกำรขยำยสำขำของผู้ประกอบกำรรำยใหญ่ ขณะที่พื้นที่ขออนุญำต ก่อสร้ำงอำคำรเพื่อกำรพำณิชย์ในจังหวัดหลักส่วนใหญ่เริ่มฟื้นตัวตั้งแต่ปี 2021 สะท้อนถึงพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำที่จะเพิ่ม มำกขึ้นในระยะข้ำงหน้ำ นครราชสีมา มีแผนพัฒนา Mixed-use project : คอนโดมิเนียม โรงแรม (Centara Korat) ศูนย์การประชุม นครสวรรค์ - ศาลายา - New!!! นครปฐม (สร้างเสร็จ 2024) นครปฐม เดอะวอล์ค แฟรี่แลนด์ V-Square คลังพลาซา Wishco Wholesale มีแผนพัฒนาโครงการ Mixed-use : คอนโดมิเนียม โรงแรม มีแผนพัฒนาโครงการ Mixed-use : คอนโดมิเนียม โรงแรม ผู้ประกอบการรายใหญ่ โดยเฉพาะเซ็นทรัล ขยายสาขาในต่างจังหวัดมากขึ้น • จังหวัดนั้น ๆ และจังหวัดโดยรอบมีศักยภาพ • พัฒนาโครงการ Mixed-use เพื่อสร้าง Synergy ระหว่างธุรกิจค้าปลีก กับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ REIC, เซ็นทรัล และสานักข่าวต่าง ๆ • การแข่งขันดึง Traffic ของผู้บริโภค ในแต่ละพื้นที่เป็นไปอย่างรุนแรงขึ้น • กระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน ของผู้ประกอบการรายเล็กในท้องถิ่น มากขึ้น นัยสาคัญ พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารเพื่อการพาณิชย์ในจังหวัดหลัก หน่วย : พันตารางเมตร 105 ขอนแก่น เชียงใหม่ 147 25 11 นครราชสีมา 129 110 67 211 189 121 68 58 38 147 36 2019 2021 6M22 2020 6M21 70 145 ชลบุรี 362 ฉะเชิงเทรา 37 ระยอง 820 375 44 597 95 100 133 57 53 99 51 35 191 154 ภูเก็ต 78 50 พื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างอาคารเพื่อการพาณิชย์ในเชียงใหม่ ขอนแก่น และ EEC ฟื้นตัว ตั้งแต่ปี 2021 สะท้อนพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าในจังหวัดดังกล่าว ที่จะเพิ่มมากขึ้นในระยะ ข้างหน้า จึงต้องจับตาการฟื้นตัวของกาลังซื้อของผู้บริโภคในพื้นที่ และการกลับมาของนักท่องเที่ยว ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนุนตลาดค้าปลีก และอัตราการเช่าพื้นที่ค้าปลีกในระยะต่อไป
  • 28. 28 EIC Industry insight : Commercial real estate กำรปรับกลยุทธ์ของผู้ประกอบกำรพื้นที่ค้ำปลีกให้เช่ำ ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC เทรนด์พื้นที่ค้าปลีกปี 2023 และระยะข้างหน้า การปรับกลยุทธ์ของผู้ประกอบการพื้นที่ค้าปลีกให้เช่า Traffic พื้นที่ค้าปลีกฟื้นตัวดีขึ้นต่อเนื่อง ผู้บริโภคใช้ชีวิตนอกบ้านมากขึ้น แม้ยังมีการระบาดของ COVID-19 แต่ยัง ต้องจับตาเงินเฟ้อ และหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง ซึ่งจะกดดันการใช้ จ่ายต่อไป Dynamic ในตลาดค้าปลีก ส่งผลให้รูปแบบสัญญาเช่าเปลี่ยนแปลงไป รูปแบบสัญญา : ระยะยาว ระยะปานกลาง+เงื่อนไขยืดหยุ่นมากขึ้น การจัดเก็บค่าเช่า : แบบคงที่ แบบแบ่งปันส่วนแบ่งรายได้ (Revenue sharing) จากผู้เช่า เทรนด์ ESG เป็นแรงกดดันให้เจ้าของพื้นที่ค้าปลีกต้องเร่งปรับกลยุทธ์ • ผู้บริโภค โดยเฉพาะ Gen Y และ Z ที่จะเป็นกาลังซื้อที่สาคัญในตลาด ค้าปลีก มีความใส่ใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้น • เจ้าของพื้นที่ค้าปลีกจาเป็นต้องลด Emission เพิ่ม Traffic รวมถึงดึงดูดผู้บริโภคให้ใช้เวลานานขึ้น และใช้จ่ายมากขึ้น • กาหนดตาแหน่งการแข่งขันที่ชัดเจน • ปรับสัดส่วนร้านค้าให้มีความหลากหลาย และสรรหาผู้เช่ารายใหม่ ๆ • ปรับสัดส่วนพื้นที่ เช่น Display ส่วนกลาง พื้นที่ Open air อย่างเหมาะสม • ร่วมมือกับผู้เช่าใช้ฐานข้อมูลลูกค้า และทาการตลาดร่วมกัน สร้าง Physical & Digital experience ควบคู่กันไป • Omni channel • นาเทคโนโลยีมาช่วยสร้างประสบการณ์ในการซื้อสินค้า เช่น AR/VR, Metaverse และระบบไร้สัมผัส • ใช้ฐานข้อมูลลูกค้าจัดทา Personalized marketing และ Loyalty program ทั้งทางออนไลน์ และหน้าร้าน ตอบโจทย์เทรนด์ ESG เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขัน และอัตราค่าเช่า • อาคารสีเขียว เช่น อาคารประหยัดพลังงาน ใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีพื้นที่ Open air • มาตรฐานอาคาร เช่น Leadership in Energy and Environmental Design (LEED) และ Global Real Estate Sustainability Benchmark (GRESB) • สภาพแวดล้อมที่ดีสาหรับลูกค้า ผู้เช่า และชุมชนโดยรอบ • เปิดโอกาสให้ผู้เช่าอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะ SMEs