SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
Télécharger pour lire hors ligne
Outlook
มุมมองเศรษฐกิจป 2022-2023
ณ ไตรมาส 4 ป 2022
Q4/2022
เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวไดตอเนื่อง ไมทั่วถึง และเปราะบาง
บนความไมแน�นอนที่สูงขึ้น รายไดครัวเรือนบางกลุม
โตไมทันรายจายและธุรกิจยังฟนตัวไดไมเทากัน
สรุปแนวโนมเศรษฐกิจป 2022 และ 2023
• เศรษฐกิจโลกมีแนวโนมชะลอตัวลงในป 2022 และจะชะลอตัวลงมากในป 2023 ภายใตความไมแน�นอนที่ปรับสูงขึ้น จากแรง
กดดันเงินเฟอที่ลดลงชา นโยบายการเงินตึงตัวมากทั่วโลกพรอมกัน และผลกระทบจากวิกฤตพลังงาน สงผลใหบางประเทศหลัก
จะเขาสูภาวะเศรษฐกิจถดถอย
• EIC ปรับเพิ่มประมาณการการขยายตัวเศรษฐกิจไทยป 2022 เปน 3.2% โดยการทองเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนเปนแรง
ขับเคลื่อนหลัก และในป 2023 EIC ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจเปน 3.4% จากการสงออกสินคาและการลงทุนที่จะชะลอลง
ทามกลางเศรษฐกิจโลกชะลอตัวในระยะขางหนา เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวไดตอเนื่อง ไมทั่วถึง และเปราะบาง บนความไมแน�นอน
ที่สูงขึ้น รายไดครัวเรือนบางกลุมโตไมทันรายจายและธุรกิจยังฟนตัวไดไมเทากัน ภายใตทิศทางนโยบายการเงินไทยที่จะตึงตัวขึ้น
นโยบายการคลังไทยหลัง COVID-19 ยังมีพื้นที่การคลังพอรองรับความไมแน�นอนที่อาจสูงขึ้นได และเนนความยั่งยืนทางการคลัง
มากขึ้น
• ภาคการทองเที่ยวและภาคบริการฟนตัวไดดีจากจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เรงตัวขึ้น ซึ่งเปนผลจากการผอนคลายมาตรการ
การเดินทางระหวางประเทศทั่วโลก โดย EIC ประเมินวาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาไทยจะอยูที่ราว 10.3 ลานคนในปนี้
และเพิ่มเปน 28.3 ลานคนในป 2023 จากความตองการเดินทางทองเที่ยวที่ยังอยูในระดับสูง และจีนยังมีแนวโนมทยอย
ผอนคลายมาตรการการเดินทางตอเนื่อง อีกทั้ง การทองเที่ยวในประเทศที่เติบโตไดดีกลับไปใกลระดับกอนเกิด COVID-19
ซึ่งจะสงผลใหรายไดจากภาคการทองเที่ยวและบริการที่เกี่ยวของ รวมถึงการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวตอเนื่อง
• EIC คาดวาอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2022 จะเรงตัว 6.1% และจะทยอยปรับลดลงชา ๆ อยูที่ 3.2% ในป 2023 สูงกวากรอบ
เปาหมายเงินเฟอ โดยเฉพาะในชวงครึ่งแรกของป จากราคาพลังงานในประเทศและอาหารที่ยังอยูในระดับสูง รวมถึงการสงผาน
ตนทุนของผูผลิตไปยังราคาสินคาผูบริโภคที่จะมีมากขึ้น อัตราเงินเฟอพื้นฐานคาดวาจะยังอยูในระดับสูงจาก 2.5% ในป 2022
เพิ่มเปน 2.7% ในป 2023
• ปจจัยเสี่ยงเศรษฐกิจไทย ไดแก (1) เศรษฐกิจโลกชะลอตัวกดดันการสงออกและลงทุน (2) นโยบาย Zero-Covid ของจีน
(3) เงินเฟอสูง ดอกเบี้ยสูง หนี้สูงกดดันการฟนตัวไมทั่วถึงของครัวเรือนและธุรกิจบางกลุมที่เปราะบาง (4) ความไมแน�นอน
ทางการเมืองกระทบความเชื่อมั่นในการลงทุน
แนวโนมเศรษฐกิจโลก
ป 2022-2023
แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021
Q4/2022
4
เศรษฐกิจโลกชะลอตัวตอเนื่อง และความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอยเพิ่มขึ้น
เงินเฟอมีแนวโนมสูงกวากรอบเปาหมายของธนาคารกลางอยางนอยจนถึงป 2023
เศรษฐกิจสหรัฐฯ
มีแนวโนมชะลอลงตอเนื่อง เงินเฟอพื้นฐาน
ปรับลดลงชา โดยเฉพาะหมวดบริการ
EIC คาดวาสหรัฐฯ จะเขาสูภาวะเศรษฐกิจ
ถดถอยในชวงครึ่งหลังของป 2023 เศรษฐกิจยูโรโซน
มีแนวโนมถดถอยตั้งแตปลายปนี้จากวิกฤตพลังงาน
และเงินเฟอสูง
ECB มีแนวโนมปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยตอเนื่อง
เพื่อควบคุมเงินเฟอที่ยังมีแนวโนมปรับลดลงชา
กวาที่คาดไว
เศรษฐกิจจีน
ฟนตัวคอยเปนคอยไปในป 2023 จากการผอนคลาย
มาตรการ Zero-Covid และแรงกระตุนทาง
การเงินการคลัง โดยจะไดรับผลกระทบจากการ
สงออกชะลอตัว ปญหาภาคอสังหาฯ และ
บทบาทนโยบายการคลังที่มีขอจํากัดมากขึ้น
เศรษฐกิจญี่ปุน
แนวโนมชะลอลงเล็กนอยในปหนาตามอุปสงค
โลก แตมีแรงสนับสนุนจากภาคทองเที่ยว
และการลงทุนใหมของภาคธุรกิจ
BOJ มีแนวโนมลดการผอนคลายนโยบาย
การเงินในปหนา
แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021
Q4/2022
5
คาดการณการเติบโตของเศรษฐกิจโลกโดย EIC
หน�วย : %YOY
EIC คาดวาแนวโนมเศรษฐกิจโลกจะชะลอตัวลงมากในป 2023 ภายใตความไมแน�นอนที่ปรับสูงขึ้น จากนโยบายการเงิน
ตึงตัวมากทั่วโลกจนกระทบเศรษฐกิจและเงินเฟอที่ลดลงชา สงผลใหบางประเทศเขาสูภาวะเศรษฐกิจถดถอย
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ CEIC และ Bloomberg
GDP growth (%YOY) 2021
2022
2023
Prev Current
World 5.8% 3.0% 2.9% 1.8%
US 5.5% 1.7% 1.9% 1.0%
Euro 5.0% 2.6% 3.3% -0.1%
UK 7.5% 4.6% 4.4% -1.0%
Japan 1.9% 1.4% 1.5% 1.4%
China 7.8% 3.0% 3.0% 4.3%
India 8.8% 7.3% 7.1% 5.6%
Brazil 4.7% 1.3% 1.9% 1.0%
South Korea 4.0% 2.5% 2.5% 2.0%
Malaysia 3.0% 6.5% 8.7% 4.0%
Global Inflation 3.7% 7.5% 7.0% 4.7%
ความน�าจะเปนในการเกิดเศรษฐกิจถดถอยใน 12 เดือนขางหนา
หน�วย : %, ขอมูล ณ วันที่ 21 พ.ย. 2022
ปจจัยเสี่ยงกดดันการฟนตัว
ของเศรษฐกิจโลก
เงินเฟอมีแนวโนมสูงกวาเปาหมายอีก 1–2 ป
จากราคาอาหารและพลังงานที่ยังอยูในระดับสูง
นโยบายการเงินตึงตัวตอเนื่อง แมอัตราดอกเบี้ย
จะปรับขึ้นชาลง แต Terminal rate จะสูงกวาที่คาดไว
หนี้สูงทั่วโลกทามกลางภาวะการเงินตึงตัวมาก
เพิ่มความเสี่ยงผิดนัดชําระหนี้ และผลกระทบตอ
ระบบการเงินโลก
สงครามรัสเซียยูเครนยังไมคลี่คลาย
สงผลใหวิกฤตพลังงานและวิกฤตอาหารยืดเยื้อ
US-China Tech war กระทบแผนการผลิตและ
ลงทุนบางอุตสาหกรรมในโลก
US, 62.5
EU, 80
UK, 90
China,
17.5
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
US EU
UK China
แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021
Q4/2022
6
เศรษฐกิจโลกในป 2023 มีแนวโนมเติบโตตํ่ากวา 2% ซึ่งเขาใกลคาเฉลี่ยชวง Recessions กอนหนามากขึ้น
หากมีสถานการณไมคาดคิดและรุนแรงกระทบเพิ่มเติม อาจนําไปสูภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอยได
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ World Bank, Moody’s article : A Global Recession: Key Indicators and Implications
โอกาสเกิด Shocks และขนาดผลกระทบตอเศรษฐกิจโลก จัดทําโดย Moody’s
World GDP Growth
หน�วย : %YOY
2.9
1.8
-6
-4
-2
0
2
4
6
8
1964 1974 1984 1994 2004 2014
Past Recessions: Global GDP growth (avg) < 1.5%
1980s
Volcker shock:
Fed extreme
hawkish
2008 Global
financial crisis
COVID-19
1970s Oil
shock
1990s
Financial
crisis
Sudden increase
in infaltion
Manufacturing
recession
Stock market correction
Leveraged loan
meltdown
Shadow Banking
disruption
Negative US
interest rate
fed policy errors
Liquidity crisis
Escalation in trade war
Consumer
credit cycle
Inventory
correction
Labor market
overheats
Decline in
Commercial
Real Estate
Subprime autp
lending
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
0 2 4 6 8 10
Likelihood
of
shocks
Economic severity of shocks
High
Low
High possibility &
High impact
ความน�าจะเปนที่จะเกิดเหตุการณในป 2022-2023 มีสูง
ความน�าจะเปนที่จะเกิดเหตุการณในป 2022-2023 มีตํ่ากวา
แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021
Q4/2022
7
กิจกรรมทางเศรษฐกิจทั่วโลกสงสัญญาณชะลอตัวเปนวงกวางมากขึ้น ภาคการผลิตจะแยลงในระยะขางหนา
ความเชื่อมั่นผูบริโภคและภาคธุรกิจปรับลดลงตอเนื่อง รวมถึงอุปสงคการจางงานเริ่มชะลอลง
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ CEIC, UK Office for National Statistics และ Japan Cabinet Office
ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคของหลายประเทศปรับลงใกลระดับที่เคยเกิดวิกฤตรอบกอน
หน�วย : ดัชนี, Normalized (Normal = 100), ปรับฤดูกาล
ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ (Composite Purchasing Manufacturing Index)
หน�วย : ดัชนี, >50 = ขยายตัว, ปรับฤดูกาล
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (Business Sentiment Index) มีแนวโนมลดลงตอเนื่อง
หน�วย : ดัชนี, Normalized (Normal = 100), ปรับฤดูกาล
ตําแหน�งงานวาง (Job vacancy) ชะลอตัวจากอุปสงคการจางงานที่เริ่มโนมลง
หน�วย : ดัชนี, 2019 Average = 100, ปรับฤดูกาล
35
40
45
50
55
60
Global US EA UK China Japan
Dec-21 Jan Feb Mar Apr May
Jun Jul Aug Sep Oct
< 50 = คาดวากิจกรรมการผลิตจะลดลง
25
75
125
2006 2008 2010 2012 2014 2016 2018 2020 2022
UK US JP EU CN
Sub-prime crisis
COVID-19
crisis
Current
recession
fears
35
60
85
110
135
160
2019 2020 2021 2022
US Japan
Germany France
UK S. Korea
20
40
60
50
100
150
2019 2020 2021 2022
EU 27 UK
US (แกนขวา) Japan (แกนขวา)
แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021
Q4/2022
8
แมเงินเฟอของกลุมประเทศเศรษฐกิจหลักเริ่มชะลอลง แตจะยังอยูในระดับสูงกวาเปาหมายของธนาคารกลางอีก 1-2 ป
จากแรงกดดันเงินเฟอที่ขยายวงกวาง รวมถึงอุปสงคบริการที่จะเพิ่มขึ้น หลังอุปสงคสินคาคงทนปรับลดลงกลับสูภาวะปกติ
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ OECD, CEIC และ IMF WEO October 2022
อัตราเงินเฟอสินคาคงทนและสินคาประเภทบริการ
หน�วย : %การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยกอนเกิด COVID-19
อัตราเงินเฟอ แบงตามแหลงที่มา
หน�วย : %การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยกอนเกิด COVID-19
-1
1
3
5
7
9
Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22
Core CPI Energy CPI Food CPI Headline CPI
-1
1
3
5
7
9
Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22
0
3
6
9
12
Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22
-2
3
8
13
2019 2020 2021 2022
Goods: AEs Services: AEs
Goods: EMs Services: EMs
• สงครามรัสเซีย-ยูเครนยืดเยื้อ
• ราคานํ้ามันโลกยังอยูในระดับสูง
• ผลกระทบ Extreme weather
ตอผลผลิตอาหารโลก
ปจจัยที่ทําใหเงินเฟอสูงกวาเปาหมาย
ของธนาคารกลางอยางนอยอีก 1-2 ป
• นโยบาย Zero-Covid ของจีน
• คาจางสูงจากตลาดแรงงานตึงตัว
• ราคาสินคาในภาคบริการมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021
Q4/2022
9
ดวยเหตุนี้ นโยบายการเงินโลกจึงมีทิศทางตึงตัวตอเนื่องนาน เพื่อดูแลใหเงินเฟอกลับสูกรอบเปาหมาย ทิศทางนโยบาย
การคลังจะลดแรงกระตุนในระยะตอไป และเนนความยั่งยืนทางการคลังมากขึ้นหลังจากหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นมากในชวง COVID-19
หมายเหตุ : *Fiscal impulse = การเปลี่ยนแปลงของดุลการคลังในป 2023 เทียบจาก 2022 (คาลบ หมายถึง ดุลการคลังในป 2023 ขาดดุลนอยลงจากป 2022)
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ IMF WEO October 2022 และ CEIC
Fiscal impulse อัตราเงินเฟอ และหนี้ภาครัฐของกลุมประเทศ G20
หน�วย : % of country GDP, ขนาดของ bubble = ขนาดเงินเฟอ (ก.ย. 2022)
จํานวนการขึ้นและการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
หน�วย : ครั้ง
-15
-10
-5
0
5
10
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
Tightening AEs Easing AEs
Tightening EMs Easing EMs
KOR
JPN
ITA
ESP
DEU
FRA
AUS
CAN
USA
GBR
CHN
ZAF
BRA
IND
MEX
IDN
-5
0
5
10
15
20
25
30
-4 -3 -2 -1 0 1 2
Change
in
public
debt
2019
–
2022
Fiscal Impulse* in 2023
ประเทศ AEs และ EMs มีแนวโนมลด
การขาดดุลการคลังลงหลังวิกฤต COVID-19
เพื่อสรางความยั่งยืนหนี้สาธารณะ
ซึ่งจะมีสวนชวยลดแรงกดดันเงินเฟอ
ดานอุปสงคอีกทางหนึ่ง
แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021
Q4/2022
10
นอกจากนี้ เศรษฐกิจโลกยังเผชิญความไมแน�นอนสูงขึ้น ทั้งความไมแน�นอนดานเศรษฐกิจ นโยบายเศรษฐกิจ
และภูมิรัฐศาสตรโลก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ World Uncertainty Index (Ahir et al. 2018) และ Economic Policy Uncertainty Index (Baker et al. 2012)
Global economic policy uncertainty index
หน�วย : ดัชนี
World uncertainty index
หน�วย : ดัชนี, GDP weighted average, 1Q1993 – 3Q2022
0
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
1990 1994 1998 2002 2006 2010 2014 2018 2022
Gulf War
US Recession
and 9/11
Iraq war and
SARS outbreak
Sub-prime
US fiscal cliff and sovereign
debt crisis in EU
Brexit
US-China trade
tension and Brexit
COVID-19
War in
Ukraine
0
200
400
2019 2020 2021 2022
US
0
500
1,000
1,500
2019 2020 2021 2022
China (RHS)
0
200
400
2019 2020 2021 2022
UK
0
200
400
2019 2020 2021 2022
EU Political change &
Fiscal policy U-turn
Zero-Covid
policy
Energy crisis &
sovereign debt
vulnerability
Most hawkish Fed
in decades
แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021
Q4/2022
11
ความไมแน�นอนของเศรษฐกิจและนโยบายการเงินทั่วโลก สงผลใหตลาดการเงินโลกผันผวนสูงขึ้น สภาพคลองในตลาดการเงิน
และภาวะการเงินโลกตึงตัวขึ้นมาก นักลงทุน Risk off ทําใหราคาสินทรัพยเสี่ยงทั่วโลกปรับลดลงมากในปนี้
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ Bloomberg
ราคาสินทรัพยเสี่ยงทั่วโลกปรับตัวลดลงมากในปนี้
หน�วย : %Change YTD
ความผันผวนในตลาดอัตราแลกเปลี่ยนโลกและตลาดพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ
หน�วย : ดัชนี
สภาพคลองในตลาดพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ลดลง ภาวะการเงินโลกตึงตัวขึ้น
หน�วย : ดัชนี
0
50
100
150
200
0
5
10
15
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Global FX Volatility Bond market volatility (แกนขวา)
High volatility
-64
-28 -24 -23
-18 -17
-11 -8
-2
-80
-60
-40
-20
0
Bitcoin NASDAQ MSCI EM Hang
seng
MSCI
World
S&P500 EU Dow
Jones
SET Index
0
1
2
3
-7
-5
-3
-1
1
3
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Global US EU US Treasury market liquidity index (แกนขวา)
Financial condition tightened, less liquidity
• ความไมแน�นอนของนโยบายและเศรษฐกิจโลก (Global uncertainty) ปรับสูงขึ้น สงผล
ใหความเชื่อมั่น (Risk appetite) ของนักลงทุนปรับลดลง ความผันผวนในตลาดการเงินสูงขึ้น
ทั้งในตลาดพันธบัตรและตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
• ภาวะการเงินโลกปรับตึงตัวขึ้น จากสภาพคลองในตลาดการเงินที่ปรับลดลง ราคาสินทรัพย
(ทั้งในตลาดพันธบัตร ตลาดหลักทรัพย และตลาดสินทรัพยเสี่ยงอื่น) ปรับลดลงมาก
และความผันผวนในตลาดเงินที่เพิ่มขึ้น
เศรษฐกิจไทย
ป 2022 และ 2023
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
13
EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2022 เปน 3.2% โดยการทองเที่ยวและบริโภคเปนแรงหนุนสําคัญ และ
ปรับลดมุมมองป 2023 อยูที่ 3.4% ทามกลางเศรษฐกิจโลกชะลอตัว สําหรับเงินเฟอทั่วไปยังสูงเกินกรอบเปาหมาย
ในปหนา ตามราคาพลังงาน อาหาร และเงินเฟอพื้นฐานที่ยังสูง
คาดการณผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (GDP)
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ CEIC
ประมาณการเศรษฐกิจ
(กรณีฐาน)
หน�วย 2021
2022F 2023F
ณ ก.ย.
2022
ณ พ.ย.
2022
ณ ก.ย.
2022
ณ พ.ย.
2022
GDP %YOY 1.5 3.0 3.2 3.7 3.4
การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.3 4.4 5.8 3.2 3.0
การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.2 -1.0 -0.2 -0.7 -1.0
การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.3 2.9 4.1 2.7 2.5
การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.8 2.1 -1.0 2.5 2.9
มูลคาสงออกสินคา (USD BOP basis) %YOY 19.2 6.3 8.2 2.5 1.2
มูลคานําเขาสินคา (USD BOP basis) %YOY 23.9 13.2 18.1 4.6 3.2
จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ลานคน 0.4 10.3 10.3 28.3 28.3
อัตราเงินเฟอทั่วไป %YOY 1.2 6.1 6.1 3.2 3.2
อัตราเงินเฟอพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.5 2.7 2.7
ราคานํ้ามันดิบ Brent USD/Brl. 70.4 102.4 100.5 89.9 84.7
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นป) % 0.50 1.25 1.25 2.0 2.0
ในป 2022 เศรษฐกิจไทยไดรับแรงสนับสนุนจากการทองเที่ยว
และภาคบริการ ประกอบกับการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวไดดี
ปจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยในป 2023
• การทองเที่ยวและภาคบริการเปนแรงขับเคลื่อนหลัก
• การบริโภคภาคเอกชนฟนตัวตอเนื่อง สวนหนึ่งไดรับอานิสงส
จากการทองเที่ยวและตลาดแรงงานที่ฟนตัว
ปจจัยเสี่ยงที่อาจทําใหเศรษฐกิจไทยในป 2023 ไมสดใส
มากนัก
• เศรษฐกิจโลกชะลอตัว กดดันการสงออกและการลงทุน
• นโยบาย Zero-Covid ของจีนที่ไมแน�นอนกระทบตอ
นักทองเที่ยวจีนและการสงออก
• เงินเฟอสูง ดอกเบี้ยสูง หนี้สูงกดดันการฟนตัวไมทั่วถึง
ของครัวเรือนและธุรกิจบางกลุมที่เปราะบาง
• ความไมแนนอนทางการเมืองกระทบความเชื่อมั่นในการลงทุน
+
+
-
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
14
เศรษฐกิจไทยฟนตัวตอเนื่อง ไมทั่วถึง และยังเปราะบาง
ครัวเรือนบางกลุมรายไดโตไมทันรายจาย
ธุรกิจฟนตัวไดไมเทากัน
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
15
แรงสงจากนักทองเที่ยวตางชาติมีแนวโนมเรงตัวตอเนื่องในไตรมาส 4 และมีโอกาสทะลุ 10.3 ลานคนในป 2022
ตามที่คาดไว โดยกลุมนักทองเที่ยวหลักมาจากอาเซียนและยุโรป
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา
จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางเขาไทย
หน�วย : ลานคน
สัดสวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาไทย
หน�วย : %
0.77
มิ.ย 22
มี.ค. 22
ม.ค. 22
0.21
ต.ค. 22 (e)
ก.พ. 22 เม.ย 22 ก.ค.22
พ.ค. 22 ส.ค. 22 ก.ย. 22 พ.ย. 22 (e)
0.13 0.15
0.29
0.52
1.12 1.17
1.31
~1.4-1.5
~1.7-1.8 อาเซียน
เอเชียตะวันออก
ยุโรป เอเชียใต
อเมริกา ตะวันออกกลาง
อื่น ๆ
นักทองเที่ยวตางชาติหลักที่เดินทางเขาไทยในชวง 1 ม.ค. – 19 พ.ย. 2022
หน�วย : ลานคน
อินเดีย
เวียดนาม
มาเลเซีย
0.78
สิงคโปร
สปป.ลาว
1.45
0.43
0.39
0.38
การฟนตัวในเดือน ต.ค. เทียบป 2019
-10%
-22%
-15%
-45%
+2%
จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ เดือน ม.ค. – พ.ย. 2022 = ~8.8 ลานคน
• ในชวงไตรมาส 4 นักทองเที่ยวตางชาติมีแนวโนมเรงตัวตอเนื่อง จากการผอนคลายมาตรการ
เดินทางระหวางประเทศในเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก เชน ฮองกง ไตหวัน และญี่ปุน
ประกอบกับเปนชวง High season ที่นักทองเที่ยวจากประเทศเมืองหนาวจะเดินทางมาไทย
• นอกจากนี้ นักทองเที่ยวจากรัสเซียเริ่มเขามาหลังสายการบินของรัสเซียกลับมาใหบริการเสนทาง
กรุงเทพฯ และภูเก็ตตั้งแตปลายเดือน ต.ค. เชน Aeroflot Ikar และ Siberia (ณ 31 ต.ค. มี
นักทองเที่ยวรัสเซียเดินทางเขาภูเก็ตราว 500 คน แมสถานการณรัสเซีย-ยูเครนยังคงตึงเครียด)
70% 62%
47% 39% 36% 43% 45% 45% 52% 46%
13% 18% 19% 17% 18% 18% 14% 20%
7%
8%
9% 18% 16% 13% 11% 13%
11% 11% 11% 11% 10%
9%
พ.ค 22
ก.พ 22
8%
9%
8%
ม.ค 22 มิ.ย 22
มี.ค 22 เม.ย 22
11% 11%
ก.ค 22 ส.ค 22 ก.ย 22 ต.ค 22
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
16
นักทองเที่ยวตางชาติป 2023 มีแนวโนมอยูที่ 28.3 ลานคน จากความตองการเดินทางที่ยังอยูในระดับสูง แมมีปจจัย
เสี่ยงจากการเปดประเทศของจีนที่ยังไมชัดเจนและโอกาสเกิดเศรษฐกิจถดถอยในบางประเทศหลัก
ประมาณการนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาไทย
หน�วย : ลานคน
หมายเหตุ : * นักทองเที่ยวจีนที่เดินทางระหวางประเทศในชวงปดประเทศสวนใหญไมไดเดินทางดวยวีซาทองเที่ยว **จากผลการสํารวจความคิดเห็นนักทองเที่ยวของ Europ Assistance ในชวง 16 เม.ย-16 พ.ค 2022
***จากผลการสํารวจความคิดเห็นชาวอเมริกัน 1,218 คนของ Morning Consult ในชวง 22-24 ก.ค 2022
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา
2023F
2019 2020 2021 2022F
ม.ค. – ต.ค. = 7.2
39.9
6.7
0.4
10.3
28.3
-29%
ปจจัยเสี่ยงสําคัญที่อาจสงผลตอการฟนตัวของจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติในป 2023
การเปดประเทศของจีนที่อาจยังไมชัดเจนมากนัก โดยคาดวาจีนจะทยอยผอนคลายนโยบาย Zero-Covid อยางคอยเปนคอยไปจาก
สัญญาณบวกตาง ๆ
• การเพิ่มเที่ยวบินระหวางประเทศของจีนเปน 840 เที่ยวบิน/สัปดาห
ตั้งแต 30 ต.ค 22 (-95% เมื่อเทียบกับป 2019)
• 11 พ.ย. จีนประกาศลดระยะเวลาการกักตัวผูเดินทางจากตางประเทศ
เหลือ 8 วัน (โรงแรม 5 + บาน 3) จาก 10 วัน
• การเริ่มใชวัคซีนกระตุนแบบพนทางปากในเซี่ยงไฮ ซึ่งจะทําใหอัตราผู
ไดรับวัคซีนกระตุนเพิ่มสูงขึ้น
จํานวนนักทองเที่ยวจีนเดินทางเขาไทยป 2022 (หน�วย : หมื่นคน)
โอกาสในการเกิด Recession ในยุโรปและสหรัฐฯ ซึ่งอาจสงผลตองบประมาณในการทองเที่ยว
คนอเมริกันมีแนวโนมลดคาใชจายดานการทองเที่ยวลงจากภาวะเงินเฟอที่อยูระดับสูง***
• 62% ของชาวอเมริกันมีแนวโนมยกเลิกแผนการทองเที่ยวถาเงินเฟอเพิ่มสูงขึ้น
ผลกระทบดานการเงินจากภาวะเงินเฟอสงผลใหคนยุโรปมีขอจํากัดดานงบประมาณการทองเที่ยว**
• ชาวยุโรปราว 70% มีแนวโนมยกเลิกแผนการทองเที่ยวถาเผชิญปญหาทางดานการเงิน
• ในป 2022-2023 คนยุโรปสวนใหญยังมีงบประมาณในการทองเที่ยวที่สูงกวาป 2021
2
0
4 2.7
Oct
Jul
Jan
3.5
YTD = 1.8 แสนคน
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
17
ภาพรวมจํานวนผูเยี่ยมเยือนไทยในป 2023 จะมีแนวโนมฟนตัวกลับมาใกลเคียงชวงกอน COVID-19 ได จาก Pent-up
demand แมจะมีแรงกดดันจากการทยอยเที่ยวตางประเทศของคนไทย และงบทองเที่ยวในภาวะเงินเฟอสูง
ประมาณการจํานวนผูเยี่ยมเยือนไทย
หน�วย : ลานคน
144.5
(ม.ค – ก.ย)
ปจจัยเสี่ยงสําคัญที่อาจสงผลตอการฟนตัวของจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติในป 2023
คนไทยทยอยเดินทางทองเที่ยวตางประเทศ โดยเฉพาะ ญี่ปุน เกาหลีใต และสิงคโปร แมราคาตั๋วเครื่องบิน
จะแพงขึ้นตามราคานํ้ามันในตลาดโลก นอกจากนี้ สายการบินตางวางแผนเพิ่มเที่ยวบินมากขึ้นในป 2023
จํานวนนักทองเที่ยวไทยเดินทางไปตางประเทศ (หน�วย : หมื่นคน)
ภาวะเงินเฟอที่ยังอยูในระดับสูงอาจสงผลตองบประมาณในการทองเที่ยว โดยคาใชจายในการทองเที่ยว
เฉลี่ยของผูเยี่ยมเยือนไทยยังคงมีแนวโนมตํ่ากวาชวงกอน COVID-19 เนื่องจากสวนใหญยังเปนทริประยะสั้น
หรือเที่ยววันเดียว
ป 2019 2020 2021 ม.ค–ต.ค. 22
คาใชจายเฉลี่ยตอคนตอทริป*
(บาท)
4,752 3,871 2,906 3,150
*คาใชจายเฉลี่ยตอคนตอทริปของนักทองเที่ยวไทยประเมินจากรายไดจากผูเยี่ยมเยือนไทยทั้งหมด / จํานวนผูเยี่ยมเยือนไทย
229.4
123.2
71.9
226.5
2022F
162.2
(ม.ค – ต.ค.)
2020
2019 2021 2023F
202.4
มิ.ย.
ม.ค. ก.ค.
ก.พ.
2.6
มี.ค.
3.8
เม.ย. พ.ค. ส.ค. ก.ย.
0.1 0.2 0.5
1.4
2.1
4.1 4.0
ญี่ปุน
สิงคโปร
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงทองเที่ยวและกีฬา, Department of Statistics – Singapore และ Tourism Japan
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
18
อยางไรก็ดี การสงออกมีแนวโนมชะลอตัวตอเนื่องในระยะขางหนาตามทิศทางเศรษฐกิจโลก การสงออกสินคา
เริ่มมีสัญญาณชะลอลงใน Q3 โดยเฉพาะตลาดจีน ฮองกง ญี่ปุน
สงออกรายสินคา สงออกรายตลาด
หน�วย : %YOY, (สัดสวนในป 2021) Q4/2021 Q1/2022 Q2/2022 Jul-22 Aug-22 Sep-22
รวมทั้งหมด (100%) 23.1% 14.8% 10.8% 4.3% 7.5% 7.8%
ไมรวมทองคํา (98.6%) 22.7% 10.0% 11.0% 4.7% 7.4% 6.7%
เครื่องใชไฟฟา (10.4%) 11.7% 8.8% 2.8% 5.0% 18.4% 7.1%
รถยนตฯ (10.8%) 24.3% -11.3% -6.0% -2.9% 22.5% 8.4%
เกษตรกรรม (9.6%) 20.9% 1.6% 15.4% -0.3% -10.3% 2.7%
เคมีภัณฑและพลาสติก (9.4%) 35.5% 18.6% 5.2% -5.6% -7.2% -12.6%
อุตสาหกรรมการเกษตร (7.1%) 20.5% 27.9% 28.0% 38.1% 27.6% 0.8%
คอมพิวเตอรฯ (8.1%) 16.9% 8.6% -6.7% -19.8% 0.0% 13.9%
ผลิตภัณฑยาง (5.3%) -1.7% -8.2% -0.3% -4.4% -0.2% -1.4%
แผงวงจรไฟฟา (3.1%) 18.7% 17.7% 9.4% 4.2% 25.1% 6.4%
เครื่องจักรกล (3%) 17.1% 17.3% 13.8% 5.4% 15.6% -4.5%
นํ้ามันสําเร็จรูป (3.3%) 104.7% 21.9% 64.2% 53.7% -13.5% -1.8%
สิ่งทอ (2.4%) 17.8% 13.7% 11.1% 6.5% 12.9% 7.3%
อัญมณีเครื่องประดับหักทอง (2.3%) 25.2% 41.4% 40.6% 19.1% 31.2% 89.6%
หน�วย : %YOY, (สัดสวนในป 2021) Q4/2021 Q1/2022 Q2/2022 Jul-22 Aug-22 Sep-22
สงออกรวม 23.1% 14.8% 10.8% 4.3% 7.5% 7.8%
สหรัฐฯ (15.4%) 25.2% 23.3% 17.8% 4.7% 16.3% 26.1%
จีน (13.7%) 17.8% 4.2% -1.9% -20.6% -20.1% -13.2%
อาเซียน 5 (13.7%) 44.1% 26.9% 23.1% 21.3% 5.8% 9.0%
CLMV (10.3%) 13.6% 5.5% 14.1% 24.2% 41.1% 26.3%
ญี่ปุน (9.2%) -0.2% 1.2% 1.6% -4.7% 6.6% -1.7%
สหภาพยุโรป 28 (9.3%) 20.3% 7.5% 4.5% 9.3% 20.7% 22.2%
ฮองกง (4.3%) 9.1% 5.0% -7.3% -31.3% -18.1% -17.9%
ออสเตรเลีย (4%) 16.9% -2.4% -3.3% 19.9% 21.3% 12.7%
ตะวันออกกลาง (3.3%) 37.2% 14.9% 28.9% 26.8% 38.5% 47.4%
อินเดีย (3.2%) 50.6% 33.1% 60.4% 33.3% 18.0% -3.4%
รัสเซีย (0.4%) 72.8% -6.8% -63.9% -42.6% -25.1% -34.8%
ยูเครน (0%) 27.1% -49.2% -89.7% -87.5% -82.6% -87.1%
หมายเหตุ : * ไมรวมกลุมสินคาดีบุก กาซธรรมชาติ และตะกั่ว เนื่องจากมีขนาดมูลคาตํ่ากวา 0.05% ในขณะที่มีอัตราการขยายตัวมากกวา 1.000%
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงพาณิชย
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
19
Overall
Food
Beverages
Tobacco
Wearing Apparel
Leather
Paper
Petroleum
Chemicals
Basic Pharma
Rubber & Plastic
Other Non Metallic Mineral
Basic Metal
Fabricated Metal Electronic
Electrical
Machinery
Motor Vehicles
Motorcycles
Furniture
Other Manu
-15
-10
-5
0
5
-30 -25 -20 -15 -10 -5 0 5 10
ในระยะตอไป ภาคการผลิตที่พึ่งพาตลาดตางประเทศมีแนวโนมชะลอตัว ซึ่งจะสงผลตอเนื่องไปยังการลงทุน
ภาคเอกชน ซึ่งในชวงที่ผานมา การผลิตภาคอุตสาหกรรมหลายสาขายังตํ่ากวาระดับกอน COVID-19
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และ CEIC
ความสัมพันธระหวางการสงออกสินคาและการลงทุนภาคเอกชน
หน�วย : %YOY, 3MMA, SA
อัตราการใชกําลังการผลิตและดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
หน�วย : การเปลี่ยนแปลงคาเฉลี่ยไตรมาส 3 ป 2022 เทียบกับคาเฉลี่ยป 2016-2019
Capacity
Utilization
Manufacturing Production Index
คิดเปนสัดสวนมูลคา
ราว 70% ของผลผลิต
อุตสาหกรรมทั้งหมด
-20
0
20
40
01/2016 01/2017 01/2018 01/2019 01/2020 01/2021 01/2022
Exports (BOP Basis) MPI PII
เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชน
หน�วย : ดัชนี (2018Q1=100) ปรับฤดูกาล
85
100
115
130
10/2021 12/2021 02/2022 04/2022 06/2022 08/2022
PII Construction Area Permitted
Construction Material Sales Real Imports of Capital Goods
Real Domestic Machinery Sales Newly Registered Vehicles for Investment
ชะลอตัวลง
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
20
สําหรับการลงทุนกอสรางของภาคเอกชนมีแนวโนมขยายตัวในป 2023 จากการกอสรางที่อยูอาศัยโครงการใหม
และโครงการอสังหาริมทรัพยเชิงพาณิชยขนาดใหญ แตตนทุนที่สูงขึ้นจะกดดันการขยายตัว
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
มูลคาการกอสรางภาคเอกชน
หน�วย : พันลานบาท
2017
147
309
107
154
2019
287
173
546
2020
282
96
179
2021
148
312
2022F
562
2023F
313
118
2018
297
98
151
99
102
571 555
603
560 578
-3% +1% +3% +4%
ที่อยูอาศัย
อสังหาริมทรัพยเชิงพาณิชย
อื่น ๆ เชน โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม คลังสินคา
1H +1% -2%
2H +1% +9% (F)
มูลคาการกอสรางภาคเอกชนยังสามารถฟนตัวไดอยางตอเนื่อง จากปจจัยหนุน ไดแก
• พื้นที่ขออนุญาตกอสรางที่อยูอาศัยที่มีแนวโนมสามารถฟนตัวในป 2022 จากการเปดตัว
โครงการใหม
• การกอสรางโครงการอสังหาริมทรัพยเชิงพาณิชยขนาดใหญยังดําเนินไปอยางตอเนื่อง
• มูลคาการกอสรางโรงแรมยังหดตัว โดยพื้นที่ขออนุญาตกอสรางโรงแรมหดตัวตั้งแต
การแพรระบาดของ COVID-19 โดยเปนการ Renovate พื้นที่รองรับการฟนตัวของ
นักทองเที่ยวตางชาติ
ความทาทาย : ผูรับเหมากอสรางยังตองแบกรับตนทุนสูง โดยเฉพาะคาจางที่สูงขึ้น
จากการปรับขึ้นคาแรงขั้นตํ่าทั่วประเทศ และแรงงานตางชาติยังกลับมาทํางานไมมากเทาเดิม
อีกทั้ง ยังเผชิญความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง
แนวโนม
ป 2023
จํานวนหน�วยที่อยูอาศัยขายได และเปดตัวใหมในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
หน�วย : พันหน�วย
2018
29
54
15
29
2020 2021
19
26
2022F
29
2023F
19
2019
31 75
15
107
21
69
121
100
65
100
+17%
+32% +7%
อื่น ๆ คอนโดมิเนียม
บานเดี่ยว+บานแฝด ทาวนเฮาส
32
20
2019
18
29
26
2020
13
18
2022F
23
2021 2023F
32
74
106
66
73
2018
125 119
60
94
23
-17%
+55%
+13%
ที่อยูอาศัย
เปดตัวใหม
ที่อยูอาศัย
ขายได
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
21
อยางไรก็ดี มาตรการผอนคลายเกณฑ LTV ที่จะหมดลงสิ้นปนี้ จะกระทบตออุปสงคการซื้อที่อยูอาศัยในป 2023
ของกลุมนักลงทุนโดยเฉพาะคอนโดระดับราคาไมเกิน 5 ลานบาท และกลุม Real demand ในสัญญาที่ 2 ขึ้นไป
ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศไมตออายุมาตรการผอนคลายอัตราสวนสินเชื่อตอราคาที่อยูอาศัย (LTV) ที่จะหมดอายุในวันที่ 31 ธ.ค. 2022
สินเชื่อ
เพื่อที่อยูอาศัย
ที่อยูอาศัย <10 ลานบาท ที่อยูอาศัย ≥10 ลานบาท
เดิม (2022) ใหม (2023)* เดิม (2022) ใหม (2023)*
สัญญาที่ 1
≤100% + Top-up ≤10%** ≤100% + Top-up ≤10%**
(เหมือนเดิม)
≤100% ≤90%
สัญญาที่ 2 ≤100% ≤80-90% ≤100% ≤80%
สัญญาที่ 3 ขึ้นไป ≤100% ≤70% ≤100% ≤70%
ชวงที่เหลือของป 2022
• เรงการตัดสินใจซื้อของทั้งนักลงทุน และ
กลุม Real demand ในสัญญาที่ 2 หรือ 3 ขึ้นไป
• เปนจังหวะใหผูประกอบการที่มีที่อยูอาศัยสรางเสร็จ
พรอมขายเรงทําโปรโมชันระบายสต็อก
ตั้งแต ป 2023
กลุมนักลงทุนและกลุม Real demand ในสัญญาที่ 2 หรือ 3
ขึ้นไป อาจชะลอการตัดสินใจซื้อ จากภาระ
การวางเงินดาวน 10%-30% ของราคาที่อยูอาศัย
ผลกระทบ
ตอที่อยูอาศัย
• คอนโดไดรับผลกระทบมากกวาแนวราบ โดยเฉพาะระดับราคาปานกลาง-ลางไมเกิน 5 ลานบาท
เนื่องจากไดรับความนิยมในการซื้อเพื่อลงทุน ทั้งปลอยเชาและเก็งกําไร
• ที่อยูอาศัยในเมืองทองเที่ยว เชน เชียงใหม ชลบุรี ภูเก็ต อาจไดรับผลกระทบเชนกัน โดยเฉพาะ
ที่เนนตลาดการลงทุนปลอยเชานักทองเที่ยว หรือซื้อเปนบานพักตากอากาศ
• ที่อยูอาศัยราคา 10 ลานบาทขึ้นไป คาดวาจะไดรับผลกระทบไมมาก เนื่องจากเปน Segment
เนนผูมีกําลังซื้อสูง ซึ่งมักจะไมมีขอจํากัดในการวางเงินดาวน
แนวโนมป 2023
สินเชื่อที่อยูอาศัยของสถาบันการเงิน
• แนวโนมการขอสินเชื่อในชวงที่เหลือของป 2022 อาจเติบโตอีกเล็กนอย
• แนวโนมการขอสินเชื่อในป 2023 อาจไดรับผลกระทบเล็กนอย
จากการชะลอซื้อที่อยูอาศัยของนักลงทุน และกลุม Real demand ในสัญญา
ที่ 2 หรือ 3 ขึ้นไป แตจะยังมีแนวโนมเติบโต จากกลุม
ผูซื้อที่อยูอาศัยหลังแรกและผูกูที่มีศักยภาพ
ผูประกอบการอสังหาริมทรัพย
• การขายคอนโดจะเนนกลุม Real demand มากขึ้น โดยเฉพาะกลุมที่
ตองการที่อยูอาศัยหลังแรก ซึ่งสวนใหญตองการระดับราคาปานกลาง-ลาง
• การเปดโครงการคอนโดเปนไปอยางระมัดระวังมากขึ้น โดยอาจชะลอการ
เปดโครงการในทําเลที่พึ่งพากําลังซื้อจากนักลงทุนในสัดสวนสูง มีการเรง
ตัวของโครงการเปดใหม และมีหน�วยที่อยูอาศัยเหลือขายในระดับสูง
หมายเหตุ : * มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. 2022 ** สินเชื่อที่มีวัตถุประสงคอื่น นอกเหนือจากเพื่อซื้อที่อยูอาศัย ซึ่งมีที่อยูอาศัยนั้นเปนหลักประกัน เชน ซื้อเฟอรนิเจอร ตกแตง ตอเติมที่อยูอาศัย
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทย
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
22
ภาครัฐมีแนวโนมลงทุนเพิ่มขึ้นตอเนื่องในป 2023 ในเมกะโปรเจกต โครงการตอเนื่องและโครงการใหม อีกทั้ง มีการ
จัดสรรงบลงทุนในงบประมาณป 2023 เพิ่มขึ้นหลังวิกฤต COVID-19 ซึ่งจะชวยยกศักยภาพเศรษฐกิจไทย
มูลคาการกอสรางภาครัฐ*
หมายเหตุ : * โครงการที่ดําเนินการโดยหน�วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ PPP รวมถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยรวมเม็ดเงินลงทุนจาก พ.ร.ก. เงินกู 1 ลานลานบาท และ 5 แสนลานบาทแลว
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
หน�วย : พันลานบาท
80%
2020
20%
2021
22%
78%
2022E 2023F
23%
79%
77%
80%
77%
23%
2018
20%
21%
2017 2019
686
726
756
804 809
849
707
+4%
+6% +1%
+5%
Q4 3Q
งบลงทุนในงบประมาณป 2023 เพิ่มขึ้น
2.7 หมื่นลานบาท (+6%YOY)
เปนสัญญาณการขยายตัวของมูลคาการ
กอสรางภาครัฐ
โครงการกอสรางทั่วไป เมกะโปรเจกต
• โครงการกอสรางตอเนื่องจากอดีต
มีความคืบหนา
• มีการประมูลและกอสรางโครงการ
เมกะโปรเจกตใหม
ตัวอยางโครงการเมกะโปรเจกตใหมในป 2023
(รถไฟความเร็วสูง /รถไฟฟา /มอเตอรเวย /ทางดวน /ทาเรือ /สนามบิน)
มูลคาการลงทุน
(พันลานบาท)
รถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-หนองคาย ชวงนครราชสีมา-หนองคาย (356 กม.) 300
มอเตอรเวยสายนครปฐม-ชะอํา 76
มอเตอรเวยสาย 9 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯ ฝงตะวันตก ชวงบางขุนเทียน-บางบัวทอง 56
มาบตาพุด เฟส 3 ชวงที่ 2 48
รถไฟฟาสีแดงออน ชวงบางซื่อ-พญาไท-มักกะสัน-หัวหมาก และสีแดงเขม ชวงบางซื่อ-หัวลําโพง 47
ทางดวนศรีนครินทร-สุวรรณภูมิ 43
ขยายทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ดานทิศเหนือ 41
โครงการทางพิเศษสายกะทู-ปาตอง จ.ภูเก็ต 15
แนวโนมป 2023
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
23
สําหรับการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวตอเนื่องเกือบทุกหมวด จากกิจกรรมเศรษฐกิจที่ฟนกลับเปนปกติมากขึ้น
การนําเขาสินคาอุปโภคบริโภคของไทย
หน�วย : %
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทย, กระทรวงพาณิชย, สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และ CEIC
ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน
หน�วย : ดัชนี (2019Q4 = 100), ปรับฤดูกาล
ยอดขายรถยนตนั่งสวนบุคคล
หน�วย : จํานวนคัน (แกนซาย) , %YOY (แกนขวา)
0
20
40
60
80
100
120
60
70
80
90
100
110
120
PCI Non-Durables
Semi-Durables Durables
Services Index Non-Residents Exp (แกนขวา)
ยอดขายรถยนตนั่งสวนบุคคล
9 เดือนแรก 2022 อยูที่ 200,691 คัน
(ขยายตัว 14%YOY)
-500
0
500
-50,000
0
50,000
100,000
150,000
200,000
250,000
Jan Aug
Sep
-47% -31%
-10%
Feb
46%
Mar Oct
33%
May
8%
Jun Jul
-35%
Aug
-14%
NoV
-16%
Dec Feb
45%
Jan
Apr
-13%
19%
June
29%
-1%
92%
21%
Apr
63%
May
15%
Mar
-9%
Sep 9M219M22
July
+14%
-30%
-15%
0%
15%
30%
45%
01/2018 07/2018 01/2019 07/2019 01/2020 07/2020 01/2021 07/2021 01/2022 07/2022
%MOM_sa %YOY
การนําเขาสินคาอุปโภคบริโภคยังขยายตัวได
แมชะลอตัวลงบาง
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
24
การจางงานในอุตสาหกรรมคาสงคาปลีก บริการสุขภาพ และบริการอื่น สูงกวากอนวิกฤติ ขณะที่การจางงานภาค
เกษตร กอสราง และโรงแรมยังฟนไมเต็มที่ แรงงานจํานวนมากออกจากระบบประกันสังคม ซึ่งมีความมั่นคงในการ
ทํางานลดลง
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ และสํานักงานประกันสังคม
การจางงานเฉลี่ย 2021 เทียบกอน COVID-19
หน�วย : พันคน, การเปลี่ยนแปลงเทียบป Q3/2022 vs Q3/2019
การจางงานเฉลี่ยใน 3 ไตรมาสแรกของป 2022 เทียบกอน COVID-19
หน�วย : พันคน, การเปลี่ยนแปลงเทียบป Q3/2022 vs Q3/2019
สัดสวนแรงงานในระบบประกันสังคม ม.33
หน�วย : % ตอจํานวนผูมีงานทํารวม
1,441
538
385
177 153 142
95 68
-11
-106
-300
-100
100
300
500
700
900
1,100
1,300
1,500
รวม
ค
า
ส
ง
-ปลี
ก
อื
่
น
ๆ
บริ
ก
ารสุ
ข
ภาพ
ขนส
ง
-โกดั
ง
ร
า
นอาหาร
การผลิ
ต
เกษตร
ก
อ
สร
า
ง
โรงแรม
1,441
-280
-60
3
-10
228
1,560
-500
0
500
1,000
1,500
2,000
รวม
ลู
ก
จ
า
งเอกชน
นายจ
า
ง
Union
ช
ว
ยงานที
่
บ

า
น
ลู
ก
จ
า
งรั
ฐ
บาล-รั
ฐ
วิ
ส
าหกิ
จ
ทํ
า
งานอิ
ส
ระ
จํานวนผูทําอาชีพอิสระเพิ่มสูงขึ้น
ขณะที่จํานวนลูกจางเอกชนที่มีความ
มั่นคงทางรายไดมากกวาปรับลดลง
31.2%
28.8%
26%
27%
28%
29%
30%
31%
32%
2017Q1
2017Q3
2018Q1
2018Q3
2019Q1
2019Q3
2020Q1
2020Q3
2021Q1
2021Q3
2022Q1
2022Q3
วิกฤต COVID-19
วิกฤต COVID-19 สงผลใหแรงงานราว 6 แสนคน
ออกนอกระบบประกันสังคม สูญเสียสวัสดิการที่เคยไดรับ
ทั้งนี้การออกนอกระบบฯ เกิดขึ้นทุกอุตสาหกรรม โดย ณ ปจจุบัน
จํานวนแรงงานในระบบยังตํ่ากวา
ระดับกอน COVID-19 กวา 2 แสนคน
ตํ่าสุดนับตั้งแต Q3/2017
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
25
รายไดภาคเกษตรที่มีแนวโนมชะลอลงคอนขางมาก ตามทิศทางราคาสินคาเกษตรสําคัญที่จะลดลงในปหนา
จึงไมสามารถสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนในป 2023 ไดมากเทาปนี้
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ประมาณการ ณ ต.ค. 2022)
คาดการณอัตราการเติบโตของผลผลิตและราคาสินคาเกษตร ป 2023
หน�วย : %YOY
การบริโภคภาคเอกชนและรายไดภาคเกษตร รายไตรมาส
หน�วย : %YOY ในป 2022 รายไดภาคเกษตรเติบโตดี ชวยสนับสนุนการบริโภค
9.4
17.7
10.9
-10
0
10
20
Q1/22
Q1/19
Q2/20
Q3/19
Q2/19
Q4/21
Q4/20
Q1/20
Q4/19
Q3/20
Q1/21
Q2/21
Q3/21
Q2/22
Q3/22
Q4/22E
รายไดภาคเกษตร
การบริโภคภาคเอกชน
คาดการณอัตราการเติบโตของรายไดภาคเกษตรป 2023
หน�วย : %YOY
ป 2021 2022E 2023F
ดัชนีรายได 2.6 13.2 1.8
ดัชนีราคา 3.0 11.1 0.1
ดัชนีผลผลิต 0.8 1.9 1.5
รายไดภาคเกษตรในป 2023
มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงมาก
- ผลผลิตเกษตรจะเติบโตใกลเคียงปนี้
- ราคาสินคาเกษตรมีแนวโนม
ทรงตัวจากฐานสูง
1.6
-0.7
-4.9
1.8
4.1
1.5 2.3
11.1
15.8
-28.6
ราคา ผลผลิต
ปาลมนํ้ามัน
ขาวเปลือก ยางพารา
มันสําปะหลัง ออย
ปจจัยสนับสนุนผลผลิต ปจจัยสนับสนุนราคา ปจจัยกดดันใหราคาลดลง
• ปริมาณนํ้าฝนเพียงพอตอการ
เพาะปลูก ชวยใหผลผลิตออย
ยางพารา ปาลมนํ้ามัน สูงขึ้น
• ปริมาณนํ้าในเขื่อนสูงกวาปกอน
สงผลใหผลผลิตพืชที่ปลูกชวง
หนาแลง เชน ขาวนาปรัง ปรับ
สูงขึ้น
สต็อกขาวโลกมีแนวโนมลดลง
และนโยบายควบคุมการสงออก
ขาวของอินเดีย สงผลใหราคาขาว
โลกมีแนวโนมปรับเพิ่มขึ้น
• แนวโนมเศรษฐกิจโลกชะลอลง
ราคาสินคาเกษตรที่อิงความตองการ
บริโภคในตลาดโลก เชน ยางพารา ออย
มีแนวโนมปรับลดลง
• แนวโนมราคานํ้ามันปรับลดลงบาง
จากปกอน สงผลใหราคายางพาราและ
ออยมีแนวโนมปรับลดลงตาม
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
26
หมายเหตุ : การวิเคราะหจากสถานการณ ณ สัปดาหที่สองของเดือน พ.ย. 2022
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ EPPO, ERC, CEIC และสํานักขาวตาง ๆ
ในป 2023 ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจยังตองเผชิญกับแนวโนมราคาพลังงานในประเทศที่อยูในระดับสูงเนื่องจาก
ภาครัฐมีขอจํากัดในการอุดหนุนราคาพลังงาน
ราคานํ้ามันดีเซลและนํ้ามันเบนซิน (หนาสถานีบริการ)
หน�วย : บาทตอลิตร
ราคากาซหุงตมถัง 15 กิโลกรัม (LPG)
หน�วย : บาทตอถัง 15 กิโลกรัม
อัตราคาไฟฟาผันแปร (Ft)
หน�วย : สตางคตอหน�วย
300
320
340
360
380
400
420
2018 2019 2020 2021 2022
10
20
30
40
50
2018 2019 2020 2021 2022
Gasohol 95 E10 H-Diesel
-40
-20
0
20
40
60
80
100
2018 2019 2020 2021 2022
ภาครัฐตรึงราคากาซหุงตมถัง 15 กก.
ตลอดชวง COVID-19 เพื่อไมใหความผันผวน
ของราคาตลาดโลกกระทบคาครองชีพ
ภาครัฐกําหนดเพดานราคานํ้ามันดีเซล
เพื่อลดผลกระทบราคานํ้ามันแพง
โดยเฉพาะตนทุนขนสงสินคา
ภาครัฐมีมาตรการชวยเหลือคา Ft
ผูใชไฟฟากลุมเปราะบาง
• ในป 2022 ที่ราคานํ้ามันในตลาดโลกดีดตัวขึ้นสูง การกําหนด
เพดานราคานํ้ามันดีเซลไวที่ 30 บาทตอลิตร (คงเพดานนี้ตั้งแต
ป 2009) ทําใหบัญชีของกองทุนนํ้ามันติดลบเปนอยางมาก จึงได
ปรับเพดานขึ้นเปน 35 บาทตอลิตรเพื่อบรรเทาภาระกองทุน
นํ้ามัน
• สถานะกองทุนนํ้ามันที่ติดลบอยู 130,000 ลานในปจจุบัน
ทําใหภาครัฐมีขอจํากัดในการชวยแบกรับตนทุนนํ้ามัน จึงมี
ความเปนไปไดที่ภาครัฐจะปรับเพดานราคานํ้ามันดีเซลในอนาคต
• ในป 2022 คาไฟฟาปลีกปรับเพิ่มตอเนื่องผานกลไกการปรับคา Ft
เพื่อสะทอนตนทุนเชื้อเพลิงที่แทจริง โดย ERC ทยอยปรับขึ้นคา Ft
เพื่อชะลอผลกระทบตอผูใชไฟฟา ซึ่งรัฐบาลมีการใชงบกลางอุดหนุน
กลุมเปราะบางบางสวน
• ในป 2023 คาดวาจะมีการปรับคา Ft ขึ้น เพื่อทยอยสงผานตนทุนที่
เกิดขึ้นแลวและแบกรับไวกอนโดย EGAT ราว 80,000-100,000 ลานบาท
ยังมีความเสี่ยงที่ตนทุนการผลิตไฟฟาไทยจะสูงกวาคาดจากราคา LNG
ในตลาด Spot ที่ผันผวน แมจะมีมาตรการลดปริมาณการนําเขา LNG
ดวยการใชเชื้อเพลิงอื่นทดแทนบางสวน
• ที่ผานมา แมราคา LPG ในตลาดโลกผันผวนมาก แตรัฐบาล
ชวยตรึงราคากาซหุงตมถัง 15 กก. ที่ใชในครัวเรือน สงผลให
กองทุนนํ้ามันตองแบกภาระตนทุนสูง ในป 2022 ภาครัฐจึงปรับ
เพดานขึ้นเปน 408 บาทตอถัง 15 กก.
• ในป 2023 ตนทุนกาซหุงตมในประเทศจะเพิ่มขึ้นตามแนวโนม
ราคา LPG โลก ภาครัฐอยูระหวางพิจารณาขยับขึ้นราคาที่ตรึงไว
เพื่อลดขอจํากัดในการอุดหนุนราคาของกองทุนนํ้ามัน
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
27
0
25
50
75
100
125
150
นอกจากนี้ ราคาอาหารมีแนวโนมทรงตัวสูงตอเนื่อง เปนผลจากตนทุนการผลิตทั้งอาหารสดและอาหารสําเร็จรูป
ที่อยูในระดับสูง รวมถึงการทยอยสงผานภาระตนทุนของผูประกอบการในภาวะเศรษฐกิจฟนตัวตอเนื่อง
ราคาผลไมสดที่เกษตรกรขายได (Farmgate price)
หน�วย : บาทตอกิโลกรัม
ราคาอาหารสดที่เกษตรกรขายไดและแนวโนมป 2023
หน�วย : บาทตอกิโลกรัม
ราคาขายปลีกอาหารสดในประเทศ (รายเดือน)
หน�วย: บาทตอกิโลกรัม
แนวโนมราคาอาหารในป 2023
• ราคาอาหารสดมีแนวโนมทรงตัวในระดับสูง
ตอเนื่อง จากปจจัยดานอุปทานและอุปสงค
• ตนทุนการผลิตอาหารสด เชน ผัก ผลไม เนื้อสัตว
จะยังทรงตัวสูง จากตนทุนปจจัยการผลิต เชน
ราคาปุยและเคมีภัณฑตนทุนการเลี้ยงสัตว โดยเฉพาะ
อาหารสัตวและ Biosecurity คาไฟฟา บรรจุภัณฑ
ตนทุนขนสง
• ตนทุนการผลิตอาหารสําเร็จรูป (Packaged food)
ซึ่งเปนอุตสาหกรรมปลายนํ้าในหวงโซการผลิต
มีแนวโนมอยูในระดับสูงตอเนื่องเชนกัน
ผูประกอบการมีแนวโนมทยอยสงผานภาระตนทุนที่
เพิ่มขึ้นไปยังผูบริโภคมากขึ้น
• ความตองการบริโภคอาหารมีแนวโนมปรับดีขึ้น
สอดคลองกับการฟนตัวของเศรษฐกิจ
Durian Longan Mangosteen
2022E 2023F
2017 2018 2019 2020 2021
สงออกทุเรียนไปจีนไดลดลงจากความเขมงวด
ของนโยบาย Zero-Covid
ในป 2023 ราคาผลไมสดมีแนวโนมเพิ่มขึ้น จากความตองการบริโภค
ในประเทศและการสงออกที่เติบโตดี รวมทั้งตนทุนเพาะปลูกที่ยังสูง
• การสงออกผลไมไปคูคาหลัก เชน จีน มีแนวโนมเติบโตดีขึ้น
สอดคลองกับเศรษฐกิจจีนที่ทยอยฟนตัวหลังผอนคลายมาตรการ
Zero-Covid
• การบริโภคผลไมสดในประเทศ มีแนวโนมเติบโตตอเนื่อง
ตามการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยและภาคทองเที่ยว
รวมทั้งมีปจจัยหนุนจากกระแสรักสุขภาพ (Health consciousness)
2.0
2.5
3.0
3.5
0
50
100
150
2018
2017 2023F
2019 2020 2022E
2021
ไก ไขไก
สุกร
300
350
400
450
500
0
50
100
150
200
250
07/64
05/64
01/64
03/64
09/64
11/64
01/65
03/65
05/65
07/65
09/65
11/65
ไกสดชําแหละ เนื้อสันใน
สุกรชําแหละ เนื้อแดง สะโพก ผักบุงจีน
ขาวสารเจา 100% (แกนขวา)
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย และสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
หน�วย : บาทตอฟอง
ประมาณการเงินเฟอ 2022F 2023F
เงินเฟอทั่วไป 6.1% 3.2%
เงินเฟอพื้นฐาน 2.5% 2.7%
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
28
จํานวนครัวเรือนกลุมเปราะบางเพิ่มขึ้นในชวงวิกฤติ COVID-19 จากรายไดที่ฟนชาและการกอหนี้ที่เรงตัวตอเนื่อง
จากระดับเดิมที่สูงมาก EIC ประเมินวา ครัวเรือนอาจตองใชเวลาแกปญหาความเปราะบางนานกวาทศวรรษ
จํานวนครัวเรือนกลุมเปราะบาง
หน�วย : พันครัวเรือน หน�วย : %YOY
1,661
1,689
1,712
1,697
2,108
1.7% 1.4%
-0.9%
24.2%
-5%
0%
5%
10%
15%
20%
25%
30%
0
500
1,000
1,500
2,000
2,500
3,000
2013 2015 2017 2019 2021
กลุมเปราะบาง %YOY (แกนขวา)
8.3% 8.0% 8.1% 7.8% 9.4%
% สัดสวนครัวเรือนเปราะบางตอครัวเรือนทั้งหมด
การเปลี่ยนแปลงของหนี้ตอรายได*
2013 2015 2017 2019 2021
249.6% 239.6% 300.2% 290.1% 304.6%
42.0% 42.3% 50.5% 47.9% 50.4%
สัดสวนหนี้ตอรายไดทั้งป (%)
249.6% 304.6%
42.0% 50.4%
ครัวเรือนกลุมเปราะบาง*
ครัวเรือนกลุมไมเปราะบาง
การเปลี่ยนแปลงของภาระการชําระหนี้ตอเดือน*
2013 2015 2017 2019 2021
37.9% 40.6% 45.6% 43.8% 38.7%
17.4% 19.1% 19.4% 18.1% 16.7%
37.9% 38.7%
17.4% 16.7%
สัดสวนการชําระหนี้ตอรายไดตอเดือน (%)
หมายเหตุ : * ครัวเรือนกลุมเปราะบาง คือ ครัวเรือนที่มีหนี้สินตอรายไดเกินกวา 2 เทา และมีหนี้สินเฉลี่ยราวครึ่งนึงของสินทรัพย
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลสํานักงานสถิติแหงชาติ
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
29
ปรับโมเดลในการดําเนินธุรกิจ
As-a-services, Sharing economy, Subscription,
Business diversification
ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดหาวัตถุดิบ
Sourcing diversification, Green supply chain,
Traceability, Omni channel
ปรับเปลี่ยนกระบวนการในการผลิตสินคา
AI, Automation, Cloud computing,
Blockchain, 5G
Aging society
Technopolar world
ภาพรวมแนวโนมธุรกิจในป 2023 และระยะปานกลางจึงขึ้นกับปจจัยเศรษฐกิจที่ไมแน�นอน และเมกะเทรนด
ที่จะเขามากระทบธุรกิจในระยะยาว
สภาพแวดลอมทางธุรกิจในป 2023 และระยะปานกลาง
Economic
factors
Trade
policy
• Rising interest rate : สงผลใหตนทุนทางการเงินเพิ่มสูงขึ้น
• Global economic instability and slowdown : สงผลตอธุรกิจที่พึ่งพาภาค
การสงออก
• Geopolitical fragmentation : สงผลใหราคาพลังงานและราคาวัตถุดิบยังอยู
ในระดับสูง และผันผวนมากขึ้น และปญหา Supply chain disruption
คลี่คลายไดชาลง
Mega
trends
Risks Opportunities
Country reopening : สงผลดีตอภาคทองเที่ยวและธุรกิจเกี่ยวเนื่อง
Consumption recover and pent-up demand : สงผลใหความตองการสินคา
และบริการฟนตัว โดยเฉพาะในกลุมกําลังซื้อสูง
Government stimulus : ภาครัฐยังเดินหนาในโครงการลงทุนเมกะโปรเจกต
โดยเฉพาะโครงการดานการคมนาคม
Trade barriers : เปนทั้งความเสี่ยงและโอกาสที่สงผลตอการคาและการลงทุน
ความตองการสินคาและบริการ
Digital, Healthy, Personalized,
Convenience, Sustainability
Implications to businesses
New trade agreement
Easing of some trade barriers : ขอจํากัดการคาในบางอุตสาหกรรมคลี่คลาย
Climate change
Risk level* High Moderate Low
หมายเหตุ : * Risk level คือระดับความรุนแรงของการเกิดความเสี่ยงและผลกระทบตอภาคธุรกิจในชวงป 2023 และ Medium term
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
30
แนวโนมธุรกิจในป 2023 เติบโตในลักษณะ Uneven เชนกัน ธุรกิจที่มีแนวโนมเติบโต ไดแก กลุมที่ตอบโจทย
การฟนตัวการบริโภคหรือสอดรับเทรนดโลก บางธุรกิจมีความเสี่ยงจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัวหรือไดรับผลกระทบ
จากเมกะเทรนด
ธุรกิจที่มีแนวโนมเติบโตดีตอเนื่อง
• กลุมที่ตอบโจทยการฟนตัวของการบริโภค
โดยเฉพาะสินคาจําเปน
• กลุมที่สอดรับกับเทรนดตาง ๆ (Digital, Health,
Eco)
• กลุมที่ตอบโจทยการลงทุนภาครัฐ ในโครงการ
เมกะเทรนด
ธุรกิจที่มีสัญญาณฟนตัว
อยางคอยเปนคอยไปและยังมีความเสี่ยง
• กลุมที่เกี่ยวเนื่องกับภาคทองเที่ยวจาก
การเปดประเทศแตยังมีความเสี่ยงจาก
เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว
• กลุมที่เกี่ยวเนื่องกับการบริโภคสินคาไม
จําเปนและสินคาคงทน
ธุรกิจที่ยังมีความเสี่ยง/ปจจัยลบอยูคอนขางมาก
• กลุมที่เกี่ยวเนื่องกับราคาพลังงานที่ยังผันผวนและทรงตัวใน
ระดับสูง
• กลุมที่เกี่ยวเนื่องกับการสงออก จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ
โลก
• กลุมที่ยังมีความเสี่ยงจากปญหา Supply chain disruption
• กลุมที่ถูก Disrupt จากเมกะเทรนดตาง ๆ
F&B,
Restaurant
Grocery
retail
Public
construction
Domestic
travel
Electronic
Component
E-commerce &
related businesses
Agri & fruits
Healthcare &
healthcare
product
Foreign travel &
Medical tourism
Residential
real estate
Non-grocery
retail
Building material
(Cement, Paint, Tile)
Auto
Oil Petrochemical Transport &
Logistics
Commercial
real estate
Steel
Industrial
estate
Power
Computer,
HDD
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
31
มองไปขางหนาเศรษฐกิจไทย
จะฟนตัวบนความไมแน�นอนที่สูงขึ้น
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
32
มองไปขางหนา เศรษฐกิจไทยยังตองเผชิญกับความไมแน�นอนสูง EIC ประเมินวา ความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจ
ของไทยในป 2023 จะปรับสูงขึ้นกวาคาเฉลี่ยในอดีตถึง 80% ...
สวนตางระหวางคาสูงสุดและตํ่าสุด (Range) ของตัวเลขคาดการณ GDP ไทย ดัชนีความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจของไทย และที่มาของความไมแน�นอนดานตาง ๆ
หน�วย : ดัชนี
ขอมูล ณ เดือน ต.ค ในแตละป
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
4.5
5
5.5
2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
Current Year Next Year
ตัวเลขคาดการณ
เศรษฐกิจไทยยัง
ผันผวนสูงและ
มากกวาในชวงกอน
วิกฤติ COVID-19
0
50
100
1993Q3
1994Q4
1996Q1
1997Q2
1998Q3
1999Q4
2001Q1
2002Q2
2003Q3
2004Q4
2006Q1
2007Q2
2008Q3
2009Q4
2011Q1
2012Q2
2013Q3
2014Q4
2016Q1
2017Q2
2018Q3
2019Q4
2021Q1
2022Q2
2023Q3F
ความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจของไทย
ความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจ
สูงขึ้นในป 2023
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ APAC, ธนาคารแหงประเทศไทย, สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ,
Conflict and Mediation Event Observations และ matteoiacoviello.com
0
50
100
1993Q2
1996Q1
1998Q4
2001Q3
2004Q2
2007Q1
2009Q4
2012Q3
2015Q2
2018Q1
2020Q4
ความขัดแยงทางภูมิรัฐศาสตรโลก
0
50
100
1993Q2
1995Q3
1997Q4
2000Q1
2002Q2
2004Q3
2006Q4
2009Q1
2011Q2
2013Q3
2015Q4
2018Q1
2020Q2
การเมืองภายในประเทศ
0
50
100
1993Q2
1995Q2
1997Q2
1999Q2
2001Q2
2003Q2
2005Q2
2007Q2
2009Q2
2011Q2
2013Q2
2015Q2
2017Q2
2019Q2
2021Q2
ความไมแน�นอนนโยบายเศรษฐกิจมหภาคไทย
นโยบายการคลังไทย
นโยบายการเงินไทย
0
50
100
1993Q2
1995Q3
1997Q4
2000Q1
2002Q2
2004Q3
2006Q4
2009Q1
2011Q2
2013Q3
2015Q4
2018Q1
2020Q2
ความไมแน�นอนเศรษฐกิจโลก
แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021
Q4/2022
33
0%
5%
10%
15%
20%
25%
30%
35%
2021Q1
2021Q2
2021Q3
2021Q4
2022Q1
2022Q2
2022Q3F
2022Q4F
2023Q1F
2023Q2F
2023Q3F
2023Q4F
Base case Worse case Better case
ทามกลางความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้น และความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกชะลอตัว EIC ประเมินวา ในกรณีฐาน
โอกาสที่เศรษฐกิจไทยจะเขาสูภาวะถดถอยในป 2023 ยังมีไมมาก โดยจะสามารถกลับสูระดับศักยภาพได
ณ สิ้นป 2024
ความน�าจะเปนที่เศรษฐกิจไทยจะเขาสูภาวะถดถอยในป 2023
หน�วย : %
ดัชนีการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยกลับสูระดับศักยภาพ (Potential GDP)
หน�วย : %
90
95
100
105
110
115
2019Q1
2019Q3
2020Q1
2020Q3
2021Q1
2021Q3
2022Q1
2022Q3F
2023Q1F
2023Q3F
2024Q1F
2024Q3F
2025Q1F
2025Q3F
Base Better Worse
2024Q1 2024Q4
เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวกลับสูระดับศักยภาพ
สิ้นป 2024 ใน Base case
ประมาณการการเติบโตเศรษฐกิจไทยในกรณีตาง ๆ โดย EIC ณ ต.ค. 2022
กรณี GDP 2022 (%YOY) GDP 2023 (%YOY)
Base 3.2 3.4
Better 3.6 4.5
Worse 2.3 1.8
EIC ประเมินเศรษฐกิจไทยมีโอกาสเขาสูภาวะถดถอยตํ่า
ตามการฟนตัวของภาคการทองเที่ยวและบริการ*
กรณี Recession Probability (%)
Base 8.5
Better 6.0
Worse 35.9
Global recession scenario
หากธนาคารกลางหลักของโลกขึ้นตอกเบี้ยสูงกวากรณี Base +100
BPS ในป 2023
(เชน Fed ขึ้นดอกเบี้ยมาอยูที่ 5.75% ในป 2023)
เศรษฐกิจโลกจะเขาสูภาวะถดถอยขยายตัว 0.3% ในป 2023
ในกรณีนี้มีโอกาสที่ไทยจะเขาสูภาวะถดถอย
ในป 2023 เกิน 80%
หมายเหตุ : * วิเคราะหดวยแบบจําลอง Markov-switching Autoregressive
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทย และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
แนวโนมตลาดการเงิน
ป 2022-2023
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf

Contenu connexe

Similaire à Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf

เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนเศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCBEICSCB
 
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdfSETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
anyarat3
 
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCBEICSCB
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
SCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้านSCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022
SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
SCBEICSCB
 
ธุรกิจค้าปลีกโตต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการฟื้นตัว ของการบริโภค
 ธุรกิจค้าปลีกโตต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการฟื้นตัว ของการบริโภค ธุรกิจค้าปลีกโตต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการฟื้นตัว ของการบริโภค
ธุรกิจค้าปลีกโตต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการฟื้นตัว ของการบริโภค
SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
SCBEICSCB
 
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supplyราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
SCBEICSCB
 

Similaire à Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf (20)

เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนเศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐกิจไทยปี 2022 ฟื้นตัวต่อเนื่องจากภาคท่องเที่ยว การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
 
Outlook_1Q22_20220329_ALL_YT2_final.pdf
Outlook_1Q22_20220329_ALL_YT2_final.pdfOutlook_1Q22_20220329_ALL_YT2_final.pdf
Outlook_1Q22_20220329_ALL_YT2_final.pdf
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfTH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdfSETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
SETSOURCE_Press_Release_50_presentation.pdf
 
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdf
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdfCLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdf
CLMV-Outlook-2023_TH_20230131.pdf
 
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวแข็งแกร่งขึ้นในปี 2023 สวนกระแสเศรษฐกิจโลกชะล...
 
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdfOutlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdf
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้านSCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทย 2023 ครึ่งปีหลังยังดี ท่ามกลางความเสี่ยงรอบด้าน
 
Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
เศรษฐกิจไทยปี 2023 ได้อานิสงส์จากจีนเปิดประเทศ คาดนักท่องเที่ยวจีนจะเดินทางเข...
 
ธุรกิจค้าปลีกโตต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการฟื้นตัว ของการบริโภค
 ธุรกิจค้าปลีกโตต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการฟื้นตัว ของการบริโภค ธุรกิจค้าปลีกโตต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการฟื้นตัว ของการบริโภค
ธุรกิจค้าปลีกโตต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการฟื้นตัว ของการบริโภค
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supplyราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
ราคาพลังงานโลกปี 2023 ท่ามกลางความเปราะบางของ Supply
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 

Plus de SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
SCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
SCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
SCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
SCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
SCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
SCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
SCBEICSCB
 

Plus de SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
 

Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf

  • 1. Outlook มุมมองเศรษฐกิจป 2022-2023 ณ ไตรมาส 4 ป 2022 Q4/2022 เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวไดตอเนื่อง ไมทั่วถึง และเปราะบาง บนความไมแน�นอนที่สูงขึ้น รายไดครัวเรือนบางกลุม โตไมทันรายจายและธุรกิจยังฟนตัวไดไมเทากัน
  • 2. สรุปแนวโนมเศรษฐกิจป 2022 และ 2023 • เศรษฐกิจโลกมีแนวโนมชะลอตัวลงในป 2022 และจะชะลอตัวลงมากในป 2023 ภายใตความไมแน�นอนที่ปรับสูงขึ้น จากแรง กดดันเงินเฟอที่ลดลงชา นโยบายการเงินตึงตัวมากทั่วโลกพรอมกัน และผลกระทบจากวิกฤตพลังงาน สงผลใหบางประเทศหลัก จะเขาสูภาวะเศรษฐกิจถดถอย • EIC ปรับเพิ่มประมาณการการขยายตัวเศรษฐกิจไทยป 2022 เปน 3.2% โดยการทองเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนเปนแรง ขับเคลื่อนหลัก และในป 2023 EIC ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจเปน 3.4% จากการสงออกสินคาและการลงทุนที่จะชะลอลง ทามกลางเศรษฐกิจโลกชะลอตัวในระยะขางหนา เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวไดตอเนื่อง ไมทั่วถึง และเปราะบาง บนความไมแน�นอน ที่สูงขึ้น รายไดครัวเรือนบางกลุมโตไมทันรายจายและธุรกิจยังฟนตัวไดไมเทากัน ภายใตทิศทางนโยบายการเงินไทยที่จะตึงตัวขึ้น นโยบายการคลังไทยหลัง COVID-19 ยังมีพื้นที่การคลังพอรองรับความไมแน�นอนที่อาจสูงขึ้นได และเนนความยั่งยืนทางการคลัง มากขึ้น • ภาคการทองเที่ยวและภาคบริการฟนตัวไดดีจากจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เรงตัวขึ้น ซึ่งเปนผลจากการผอนคลายมาตรการ การเดินทางระหวางประเทศทั่วโลก โดย EIC ประเมินวาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาไทยจะอยูที่ราว 10.3 ลานคนในปนี้ และเพิ่มเปน 28.3 ลานคนในป 2023 จากความตองการเดินทางทองเที่ยวที่ยังอยูในระดับสูง และจีนยังมีแนวโนมทยอย ผอนคลายมาตรการการเดินทางตอเนื่อง อีกทั้ง การทองเที่ยวในประเทศที่เติบโตไดดีกลับไปใกลระดับกอนเกิด COVID-19 ซึ่งจะสงผลใหรายไดจากภาคการทองเที่ยวและบริการที่เกี่ยวของ รวมถึงการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวตอเนื่อง • EIC คาดวาอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2022 จะเรงตัว 6.1% และจะทยอยปรับลดลงชา ๆ อยูที่ 3.2% ในป 2023 สูงกวากรอบ เปาหมายเงินเฟอ โดยเฉพาะในชวงครึ่งแรกของป จากราคาพลังงานในประเทศและอาหารที่ยังอยูในระดับสูง รวมถึงการสงผาน ตนทุนของผูผลิตไปยังราคาสินคาผูบริโภคที่จะมีมากขึ้น อัตราเงินเฟอพื้นฐานคาดวาจะยังอยูในระดับสูงจาก 2.5% ในป 2022 เพิ่มเปน 2.7% ในป 2023 • ปจจัยเสี่ยงเศรษฐกิจไทย ไดแก (1) เศรษฐกิจโลกชะลอตัวกดดันการสงออกและลงทุน (2) นโยบาย Zero-Covid ของจีน (3) เงินเฟอสูง ดอกเบี้ยสูง หนี้สูงกดดันการฟนตัวไมทั่วถึงของครัวเรือนและธุรกิจบางกลุมที่เปราะบาง (4) ความไมแน�นอน ทางการเมืองกระทบความเชื่อมั่นในการลงทุน
  • 4. แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021 Q4/2022 4 เศรษฐกิจโลกชะลอตัวตอเนื่อง และความเสี่ยงเศรษฐกิจถดถอยเพิ่มขึ้น เงินเฟอมีแนวโนมสูงกวากรอบเปาหมายของธนาคารกลางอยางนอยจนถึงป 2023 เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมชะลอลงตอเนื่อง เงินเฟอพื้นฐาน ปรับลดลงชา โดยเฉพาะหมวดบริการ EIC คาดวาสหรัฐฯ จะเขาสูภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยในชวงครึ่งหลังของป 2023 เศรษฐกิจยูโรโซน มีแนวโนมถดถอยตั้งแตปลายปนี้จากวิกฤตพลังงาน และเงินเฟอสูง ECB มีแนวโนมปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยตอเนื่อง เพื่อควบคุมเงินเฟอที่ยังมีแนวโนมปรับลดลงชา กวาที่คาดไว เศรษฐกิจจีน ฟนตัวคอยเปนคอยไปในป 2023 จากการผอนคลาย มาตรการ Zero-Covid และแรงกระตุนทาง การเงินการคลัง โดยจะไดรับผลกระทบจากการ สงออกชะลอตัว ปญหาภาคอสังหาฯ และ บทบาทนโยบายการคลังที่มีขอจํากัดมากขึ้น เศรษฐกิจญี่ปุน แนวโนมชะลอลงเล็กนอยในปหนาตามอุปสงค โลก แตมีแรงสนับสนุนจากภาคทองเที่ยว และการลงทุนใหมของภาคธุรกิจ BOJ มีแนวโนมลดการผอนคลายนโยบาย การเงินในปหนา
  • 5. แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021 Q4/2022 5 คาดการณการเติบโตของเศรษฐกิจโลกโดย EIC หน�วย : %YOY EIC คาดวาแนวโนมเศรษฐกิจโลกจะชะลอตัวลงมากในป 2023 ภายใตความไมแน�นอนที่ปรับสูงขึ้น จากนโยบายการเงิน ตึงตัวมากทั่วโลกจนกระทบเศรษฐกิจและเงินเฟอที่ลดลงชา สงผลใหบางประเทศเขาสูภาวะเศรษฐกิจถดถอย ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ CEIC และ Bloomberg GDP growth (%YOY) 2021 2022 2023 Prev Current World 5.8% 3.0% 2.9% 1.8% US 5.5% 1.7% 1.9% 1.0% Euro 5.0% 2.6% 3.3% -0.1% UK 7.5% 4.6% 4.4% -1.0% Japan 1.9% 1.4% 1.5% 1.4% China 7.8% 3.0% 3.0% 4.3% India 8.8% 7.3% 7.1% 5.6% Brazil 4.7% 1.3% 1.9% 1.0% South Korea 4.0% 2.5% 2.5% 2.0% Malaysia 3.0% 6.5% 8.7% 4.0% Global Inflation 3.7% 7.5% 7.0% 4.7% ความน�าจะเปนในการเกิดเศรษฐกิจถดถอยใน 12 เดือนขางหนา หน�วย : %, ขอมูล ณ วันที่ 21 พ.ย. 2022 ปจจัยเสี่ยงกดดันการฟนตัว ของเศรษฐกิจโลก เงินเฟอมีแนวโนมสูงกวาเปาหมายอีก 1–2 ป จากราคาอาหารและพลังงานที่ยังอยูในระดับสูง นโยบายการเงินตึงตัวตอเนื่อง แมอัตราดอกเบี้ย จะปรับขึ้นชาลง แต Terminal rate จะสูงกวาที่คาดไว หนี้สูงทั่วโลกทามกลางภาวะการเงินตึงตัวมาก เพิ่มความเสี่ยงผิดนัดชําระหนี้ และผลกระทบตอ ระบบการเงินโลก สงครามรัสเซียยูเครนยังไมคลี่คลาย สงผลใหวิกฤตพลังงานและวิกฤตอาหารยืดเยื้อ US-China Tech war กระทบแผนการผลิตและ ลงทุนบางอุตสาหกรรมในโลก US, 62.5 EU, 80 UK, 90 China, 17.5 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 US EU UK China
  • 6. แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021 Q4/2022 6 เศรษฐกิจโลกในป 2023 มีแนวโนมเติบโตตํ่ากวา 2% ซึ่งเขาใกลคาเฉลี่ยชวง Recessions กอนหนามากขึ้น หากมีสถานการณไมคาดคิดและรุนแรงกระทบเพิ่มเติม อาจนําไปสูภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอยได ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ World Bank, Moody’s article : A Global Recession: Key Indicators and Implications โอกาสเกิด Shocks และขนาดผลกระทบตอเศรษฐกิจโลก จัดทําโดย Moody’s World GDP Growth หน�วย : %YOY 2.9 1.8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 1964 1974 1984 1994 2004 2014 Past Recessions: Global GDP growth (avg) < 1.5% 1980s Volcker shock: Fed extreme hawkish 2008 Global financial crisis COVID-19 1970s Oil shock 1990s Financial crisis Sudden increase in infaltion Manufacturing recession Stock market correction Leveraged loan meltdown Shadow Banking disruption Negative US interest rate fed policy errors Liquidity crisis Escalation in trade war Consumer credit cycle Inventory correction Labor market overheats Decline in Commercial Real Estate Subprime autp lending 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 0 2 4 6 8 10 Likelihood of shocks Economic severity of shocks High Low High possibility & High impact ความน�าจะเปนที่จะเกิดเหตุการณในป 2022-2023 มีสูง ความน�าจะเปนที่จะเกิดเหตุการณในป 2022-2023 มีตํ่ากวา
  • 7. แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021 Q4/2022 7 กิจกรรมทางเศรษฐกิจทั่วโลกสงสัญญาณชะลอตัวเปนวงกวางมากขึ้น ภาคการผลิตจะแยลงในระยะขางหนา ความเชื่อมั่นผูบริโภคและภาคธุรกิจปรับลดลงตอเนื่อง รวมถึงอุปสงคการจางงานเริ่มชะลอลง ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ CEIC, UK Office for National Statistics และ Japan Cabinet Office ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคของหลายประเทศปรับลงใกลระดับที่เคยเกิดวิกฤตรอบกอน หน�วย : ดัชนี, Normalized (Normal = 100), ปรับฤดูกาล ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ (Composite Purchasing Manufacturing Index) หน�วย : ดัชนี, >50 = ขยายตัว, ปรับฤดูกาล ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (Business Sentiment Index) มีแนวโนมลดลงตอเนื่อง หน�วย : ดัชนี, Normalized (Normal = 100), ปรับฤดูกาล ตําแหน�งงานวาง (Job vacancy) ชะลอตัวจากอุปสงคการจางงานที่เริ่มโนมลง หน�วย : ดัชนี, 2019 Average = 100, ปรับฤดูกาล 35 40 45 50 55 60 Global US EA UK China Japan Dec-21 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct < 50 = คาดวากิจกรรมการผลิตจะลดลง 25 75 125 2006 2008 2010 2012 2014 2016 2018 2020 2022 UK US JP EU CN Sub-prime crisis COVID-19 crisis Current recession fears 35 60 85 110 135 160 2019 2020 2021 2022 US Japan Germany France UK S. Korea 20 40 60 50 100 150 2019 2020 2021 2022 EU 27 UK US (แกนขวา) Japan (แกนขวา)
  • 8. แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021 Q4/2022 8 แมเงินเฟอของกลุมประเทศเศรษฐกิจหลักเริ่มชะลอลง แตจะยังอยูในระดับสูงกวาเปาหมายของธนาคารกลางอีก 1-2 ป จากแรงกดดันเงินเฟอที่ขยายวงกวาง รวมถึงอุปสงคบริการที่จะเพิ่มขึ้น หลังอุปสงคสินคาคงทนปรับลดลงกลับสูภาวะปกติ ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ OECD, CEIC และ IMF WEO October 2022 อัตราเงินเฟอสินคาคงทนและสินคาประเภทบริการ หน�วย : %การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยกอนเกิด COVID-19 อัตราเงินเฟอ แบงตามแหลงที่มา หน�วย : %การเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยกอนเกิด COVID-19 -1 1 3 5 7 9 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Core CPI Energy CPI Food CPI Headline CPI -1 1 3 5 7 9 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 0 3 6 9 12 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 -2 3 8 13 2019 2020 2021 2022 Goods: AEs Services: AEs Goods: EMs Services: EMs • สงครามรัสเซีย-ยูเครนยืดเยื้อ • ราคานํ้ามันโลกยังอยูในระดับสูง • ผลกระทบ Extreme weather ตอผลผลิตอาหารโลก ปจจัยที่ทําใหเงินเฟอสูงกวาเปาหมาย ของธนาคารกลางอยางนอยอีก 1-2 ป • นโยบาย Zero-Covid ของจีน • คาจางสูงจากตลาดแรงงานตึงตัว • ราคาสินคาในภาคบริการมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
  • 9. แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021 Q4/2022 9 ดวยเหตุนี้ นโยบายการเงินโลกจึงมีทิศทางตึงตัวตอเนื่องนาน เพื่อดูแลใหเงินเฟอกลับสูกรอบเปาหมาย ทิศทางนโยบาย การคลังจะลดแรงกระตุนในระยะตอไป และเนนความยั่งยืนทางการคลังมากขึ้นหลังจากหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นมากในชวง COVID-19 หมายเหตุ : *Fiscal impulse = การเปลี่ยนแปลงของดุลการคลังในป 2023 เทียบจาก 2022 (คาลบ หมายถึง ดุลการคลังในป 2023 ขาดดุลนอยลงจากป 2022) ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ IMF WEO October 2022 และ CEIC Fiscal impulse อัตราเงินเฟอ และหนี้ภาครัฐของกลุมประเทศ G20 หน�วย : % of country GDP, ขนาดของ bubble = ขนาดเงินเฟอ (ก.ย. 2022) จํานวนการขึ้นและการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย หน�วย : ครั้ง -15 -10 -5 0 5 10 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 Tightening AEs Easing AEs Tightening EMs Easing EMs KOR JPN ITA ESP DEU FRA AUS CAN USA GBR CHN ZAF BRA IND MEX IDN -5 0 5 10 15 20 25 30 -4 -3 -2 -1 0 1 2 Change in public debt 2019 – 2022 Fiscal Impulse* in 2023 ประเทศ AEs และ EMs มีแนวโนมลด การขาดดุลการคลังลงหลังวิกฤต COVID-19 เพื่อสรางความยั่งยืนหนี้สาธารณะ ซึ่งจะมีสวนชวยลดแรงกดดันเงินเฟอ ดานอุปสงคอีกทางหนึ่ง
  • 10. แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021 Q4/2022 10 นอกจากนี้ เศรษฐกิจโลกยังเผชิญความไมแน�นอนสูงขึ้น ทั้งความไมแน�นอนดานเศรษฐกิจ นโยบายเศรษฐกิจ และภูมิรัฐศาสตรโลก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ World Uncertainty Index (Ahir et al. 2018) และ Economic Policy Uncertainty Index (Baker et al. 2012) Global economic policy uncertainty index หน�วย : ดัชนี World uncertainty index หน�วย : ดัชนี, GDP weighted average, 1Q1993 – 3Q2022 0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 1990 1994 1998 2002 2006 2010 2014 2018 2022 Gulf War US Recession and 9/11 Iraq war and SARS outbreak Sub-prime US fiscal cliff and sovereign debt crisis in EU Brexit US-China trade tension and Brexit COVID-19 War in Ukraine 0 200 400 2019 2020 2021 2022 US 0 500 1,000 1,500 2019 2020 2021 2022 China (RHS) 0 200 400 2019 2020 2021 2022 UK 0 200 400 2019 2020 2021 2022 EU Political change & Fiscal policy U-turn Zero-Covid policy Energy crisis & sovereign debt vulnerability Most hawkish Fed in decades
  • 11. แนวโนมเศรษฐกิจโลกป 2022-2023 Q4/2021 Q4/2022 11 ความไมแน�นอนของเศรษฐกิจและนโยบายการเงินทั่วโลก สงผลใหตลาดการเงินโลกผันผวนสูงขึ้น สภาพคลองในตลาดการเงิน และภาวะการเงินโลกตึงตัวขึ้นมาก นักลงทุน Risk off ทําใหราคาสินทรัพยเสี่ยงทั่วโลกปรับลดลงมากในปนี้ ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ Bloomberg ราคาสินทรัพยเสี่ยงทั่วโลกปรับตัวลดลงมากในปนี้ หน�วย : %Change YTD ความผันผวนในตลาดอัตราแลกเปลี่ยนโลกและตลาดพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ หน�วย : ดัชนี สภาพคลองในตลาดพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ลดลง ภาวะการเงินโลกตึงตัวขึ้น หน�วย : ดัชนี 0 50 100 150 200 0 5 10 15 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Global FX Volatility Bond market volatility (แกนขวา) High volatility -64 -28 -24 -23 -18 -17 -11 -8 -2 -80 -60 -40 -20 0 Bitcoin NASDAQ MSCI EM Hang seng MSCI World S&P500 EU Dow Jones SET Index 0 1 2 3 -7 -5 -3 -1 1 3 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Global US EU US Treasury market liquidity index (แกนขวา) Financial condition tightened, less liquidity • ความไมแน�นอนของนโยบายและเศรษฐกิจโลก (Global uncertainty) ปรับสูงขึ้น สงผล ใหความเชื่อมั่น (Risk appetite) ของนักลงทุนปรับลดลง ความผันผวนในตลาดการเงินสูงขึ้น ทั้งในตลาดพันธบัตรและตลาดอัตราแลกเปลี่ยน • ภาวะการเงินโลกปรับตึงตัวขึ้น จากสภาพคลองในตลาดการเงินที่ปรับลดลง ราคาสินทรัพย (ทั้งในตลาดพันธบัตร ตลาดหลักทรัพย และตลาดสินทรัพยเสี่ยงอื่น) ปรับลดลงมาก และความผันผวนในตลาดเงินที่เพิ่มขึ้น
  • 13. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 13 EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2022 เปน 3.2% โดยการทองเที่ยวและบริโภคเปนแรงหนุนสําคัญ และ ปรับลดมุมมองป 2023 อยูที่ 3.4% ทามกลางเศรษฐกิจโลกชะลอตัว สําหรับเงินเฟอทั่วไปยังสูงเกินกรอบเปาหมาย ในปหนา ตามราคาพลังงาน อาหาร และเงินเฟอพื้นฐานที่ยังสูง คาดการณผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (GDP) ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ CEIC ประมาณการเศรษฐกิจ (กรณีฐาน) หน�วย 2021 2022F 2023F ณ ก.ย. 2022 ณ พ.ย. 2022 ณ ก.ย. 2022 ณ พ.ย. 2022 GDP %YOY 1.5 3.0 3.2 3.7 3.4 การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.3 4.4 5.8 3.2 3.0 การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.2 -1.0 -0.2 -0.7 -1.0 การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.3 2.9 4.1 2.7 2.5 การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.8 2.1 -1.0 2.5 2.9 มูลคาสงออกสินคา (USD BOP basis) %YOY 19.2 6.3 8.2 2.5 1.2 มูลคานําเขาสินคา (USD BOP basis) %YOY 23.9 13.2 18.1 4.6 3.2 จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ลานคน 0.4 10.3 10.3 28.3 28.3 อัตราเงินเฟอทั่วไป %YOY 1.2 6.1 6.1 3.2 3.2 อัตราเงินเฟอพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.5 2.7 2.7 ราคานํ้ามันดิบ Brent USD/Brl. 70.4 102.4 100.5 89.9 84.7 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นป) % 0.50 1.25 1.25 2.0 2.0 ในป 2022 เศรษฐกิจไทยไดรับแรงสนับสนุนจากการทองเที่ยว และภาคบริการ ประกอบกับการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวไดดี ปจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยในป 2023 • การทองเที่ยวและภาคบริการเปนแรงขับเคลื่อนหลัก • การบริโภคภาคเอกชนฟนตัวตอเนื่อง สวนหนึ่งไดรับอานิสงส จากการทองเที่ยวและตลาดแรงงานที่ฟนตัว ปจจัยเสี่ยงที่อาจทําใหเศรษฐกิจไทยในป 2023 ไมสดใส มากนัก • เศรษฐกิจโลกชะลอตัว กดดันการสงออกและการลงทุน • นโยบาย Zero-Covid ของจีนที่ไมแน�นอนกระทบตอ นักทองเที่ยวจีนและการสงออก • เงินเฟอสูง ดอกเบี้ยสูง หนี้สูงกดดันการฟนตัวไมทั่วถึง ของครัวเรือนและธุรกิจบางกลุมที่เปราะบาง • ความไมแนนอนทางการเมืองกระทบความเชื่อมั่นในการลงทุน + + -
  • 14. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 14 เศรษฐกิจไทยฟนตัวตอเนื่อง ไมทั่วถึง และยังเปราะบาง ครัวเรือนบางกลุมรายไดโตไมทันรายจาย ธุรกิจฟนตัวไดไมเทากัน
  • 15. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 15 แรงสงจากนักทองเที่ยวตางชาติมีแนวโนมเรงตัวตอเนื่องในไตรมาส 4 และมีโอกาสทะลุ 10.3 ลานคนในป 2022 ตามที่คาดไว โดยกลุมนักทองเที่ยวหลักมาจากอาเซียนและยุโรป ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางเขาไทย หน�วย : ลานคน สัดสวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาไทย หน�วย : % 0.77 มิ.ย 22 มี.ค. 22 ม.ค. 22 0.21 ต.ค. 22 (e) ก.พ. 22 เม.ย 22 ก.ค.22 พ.ค. 22 ส.ค. 22 ก.ย. 22 พ.ย. 22 (e) 0.13 0.15 0.29 0.52 1.12 1.17 1.31 ~1.4-1.5 ~1.7-1.8 อาเซียน เอเชียตะวันออก ยุโรป เอเชียใต อเมริกา ตะวันออกกลาง อื่น ๆ นักทองเที่ยวตางชาติหลักที่เดินทางเขาไทยในชวง 1 ม.ค. – 19 พ.ย. 2022 หน�วย : ลานคน อินเดีย เวียดนาม มาเลเซีย 0.78 สิงคโปร สปป.ลาว 1.45 0.43 0.39 0.38 การฟนตัวในเดือน ต.ค. เทียบป 2019 -10% -22% -15% -45% +2% จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ เดือน ม.ค. – พ.ย. 2022 = ~8.8 ลานคน • ในชวงไตรมาส 4 นักทองเที่ยวตางชาติมีแนวโนมเรงตัวตอเนื่อง จากการผอนคลายมาตรการ เดินทางระหวางประเทศในเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก เชน ฮองกง ไตหวัน และญี่ปุน ประกอบกับเปนชวง High season ที่นักทองเที่ยวจากประเทศเมืองหนาวจะเดินทางมาไทย • นอกจากนี้ นักทองเที่ยวจากรัสเซียเริ่มเขามาหลังสายการบินของรัสเซียกลับมาใหบริการเสนทาง กรุงเทพฯ และภูเก็ตตั้งแตปลายเดือน ต.ค. เชน Aeroflot Ikar และ Siberia (ณ 31 ต.ค. มี นักทองเที่ยวรัสเซียเดินทางเขาภูเก็ตราว 500 คน แมสถานการณรัสเซีย-ยูเครนยังคงตึงเครียด) 70% 62% 47% 39% 36% 43% 45% 45% 52% 46% 13% 18% 19% 17% 18% 18% 14% 20% 7% 8% 9% 18% 16% 13% 11% 13% 11% 11% 11% 11% 10% 9% พ.ค 22 ก.พ 22 8% 9% 8% ม.ค 22 มิ.ย 22 มี.ค 22 เม.ย 22 11% 11% ก.ค 22 ส.ค 22 ก.ย 22 ต.ค 22
  • 16. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 16 นักทองเที่ยวตางชาติป 2023 มีแนวโนมอยูที่ 28.3 ลานคน จากความตองการเดินทางที่ยังอยูในระดับสูง แมมีปจจัย เสี่ยงจากการเปดประเทศของจีนที่ยังไมชัดเจนและโอกาสเกิดเศรษฐกิจถดถอยในบางประเทศหลัก ประมาณการนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางมาไทย หน�วย : ลานคน หมายเหตุ : * นักทองเที่ยวจีนที่เดินทางระหวางประเทศในชวงปดประเทศสวนใหญไมไดเดินทางดวยวีซาทองเที่ยว **จากผลการสํารวจความคิดเห็นนักทองเที่ยวของ Europ Assistance ในชวง 16 เม.ย-16 พ.ค 2022 ***จากผลการสํารวจความคิดเห็นชาวอเมริกัน 1,218 คนของ Morning Consult ในชวง 22-24 ก.ค 2022 ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2023F 2019 2020 2021 2022F ม.ค. – ต.ค. = 7.2 39.9 6.7 0.4 10.3 28.3 -29% ปจจัยเสี่ยงสําคัญที่อาจสงผลตอการฟนตัวของจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติในป 2023 การเปดประเทศของจีนที่อาจยังไมชัดเจนมากนัก โดยคาดวาจีนจะทยอยผอนคลายนโยบาย Zero-Covid อยางคอยเปนคอยไปจาก สัญญาณบวกตาง ๆ • การเพิ่มเที่ยวบินระหวางประเทศของจีนเปน 840 เที่ยวบิน/สัปดาห ตั้งแต 30 ต.ค 22 (-95% เมื่อเทียบกับป 2019) • 11 พ.ย. จีนประกาศลดระยะเวลาการกักตัวผูเดินทางจากตางประเทศ เหลือ 8 วัน (โรงแรม 5 + บาน 3) จาก 10 วัน • การเริ่มใชวัคซีนกระตุนแบบพนทางปากในเซี่ยงไฮ ซึ่งจะทําใหอัตราผู ไดรับวัคซีนกระตุนเพิ่มสูงขึ้น จํานวนนักทองเที่ยวจีนเดินทางเขาไทยป 2022 (หน�วย : หมื่นคน) โอกาสในการเกิด Recession ในยุโรปและสหรัฐฯ ซึ่งอาจสงผลตองบประมาณในการทองเที่ยว คนอเมริกันมีแนวโนมลดคาใชจายดานการทองเที่ยวลงจากภาวะเงินเฟอที่อยูระดับสูง*** • 62% ของชาวอเมริกันมีแนวโนมยกเลิกแผนการทองเที่ยวถาเงินเฟอเพิ่มสูงขึ้น ผลกระทบดานการเงินจากภาวะเงินเฟอสงผลใหคนยุโรปมีขอจํากัดดานงบประมาณการทองเที่ยว** • ชาวยุโรปราว 70% มีแนวโนมยกเลิกแผนการทองเที่ยวถาเผชิญปญหาทางดานการเงิน • ในป 2022-2023 คนยุโรปสวนใหญยังมีงบประมาณในการทองเที่ยวที่สูงกวาป 2021 2 0 4 2.7 Oct Jul Jan 3.5 YTD = 1.8 แสนคน
  • 17. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 17 ภาพรวมจํานวนผูเยี่ยมเยือนไทยในป 2023 จะมีแนวโนมฟนตัวกลับมาใกลเคียงชวงกอน COVID-19 ได จาก Pent-up demand แมจะมีแรงกดดันจากการทยอยเที่ยวตางประเทศของคนไทย และงบทองเที่ยวในภาวะเงินเฟอสูง ประมาณการจํานวนผูเยี่ยมเยือนไทย หน�วย : ลานคน 144.5 (ม.ค – ก.ย) ปจจัยเสี่ยงสําคัญที่อาจสงผลตอการฟนตัวของจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติในป 2023 คนไทยทยอยเดินทางทองเที่ยวตางประเทศ โดยเฉพาะ ญี่ปุน เกาหลีใต และสิงคโปร แมราคาตั๋วเครื่องบิน จะแพงขึ้นตามราคานํ้ามันในตลาดโลก นอกจากนี้ สายการบินตางวางแผนเพิ่มเที่ยวบินมากขึ้นในป 2023 จํานวนนักทองเที่ยวไทยเดินทางไปตางประเทศ (หน�วย : หมื่นคน) ภาวะเงินเฟอที่ยังอยูในระดับสูงอาจสงผลตองบประมาณในการทองเที่ยว โดยคาใชจายในการทองเที่ยว เฉลี่ยของผูเยี่ยมเยือนไทยยังคงมีแนวโนมตํ่ากวาชวงกอน COVID-19 เนื่องจากสวนใหญยังเปนทริประยะสั้น หรือเที่ยววันเดียว ป 2019 2020 2021 ม.ค–ต.ค. 22 คาใชจายเฉลี่ยตอคนตอทริป* (บาท) 4,752 3,871 2,906 3,150 *คาใชจายเฉลี่ยตอคนตอทริปของนักทองเที่ยวไทยประเมินจากรายไดจากผูเยี่ยมเยือนไทยทั้งหมด / จํานวนผูเยี่ยมเยือนไทย 229.4 123.2 71.9 226.5 2022F 162.2 (ม.ค – ต.ค.) 2020 2019 2021 2023F 202.4 มิ.ย. ม.ค. ก.ค. ก.พ. 2.6 มี.ค. 3.8 เม.ย. พ.ค. ส.ค. ก.ย. 0.1 0.2 0.5 1.4 2.1 4.1 4.0 ญี่ปุน สิงคโปร ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงทองเที่ยวและกีฬา, Department of Statistics – Singapore และ Tourism Japan
  • 18. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 18 อยางไรก็ดี การสงออกมีแนวโนมชะลอตัวตอเนื่องในระยะขางหนาตามทิศทางเศรษฐกิจโลก การสงออกสินคา เริ่มมีสัญญาณชะลอลงใน Q3 โดยเฉพาะตลาดจีน ฮองกง ญี่ปุน สงออกรายสินคา สงออกรายตลาด หน�วย : %YOY, (สัดสวนในป 2021) Q4/2021 Q1/2022 Q2/2022 Jul-22 Aug-22 Sep-22 รวมทั้งหมด (100%) 23.1% 14.8% 10.8% 4.3% 7.5% 7.8% ไมรวมทองคํา (98.6%) 22.7% 10.0% 11.0% 4.7% 7.4% 6.7% เครื่องใชไฟฟา (10.4%) 11.7% 8.8% 2.8% 5.0% 18.4% 7.1% รถยนตฯ (10.8%) 24.3% -11.3% -6.0% -2.9% 22.5% 8.4% เกษตรกรรม (9.6%) 20.9% 1.6% 15.4% -0.3% -10.3% 2.7% เคมีภัณฑและพลาสติก (9.4%) 35.5% 18.6% 5.2% -5.6% -7.2% -12.6% อุตสาหกรรมการเกษตร (7.1%) 20.5% 27.9% 28.0% 38.1% 27.6% 0.8% คอมพิวเตอรฯ (8.1%) 16.9% 8.6% -6.7% -19.8% 0.0% 13.9% ผลิตภัณฑยาง (5.3%) -1.7% -8.2% -0.3% -4.4% -0.2% -1.4% แผงวงจรไฟฟา (3.1%) 18.7% 17.7% 9.4% 4.2% 25.1% 6.4% เครื่องจักรกล (3%) 17.1% 17.3% 13.8% 5.4% 15.6% -4.5% นํ้ามันสําเร็จรูป (3.3%) 104.7% 21.9% 64.2% 53.7% -13.5% -1.8% สิ่งทอ (2.4%) 17.8% 13.7% 11.1% 6.5% 12.9% 7.3% อัญมณีเครื่องประดับหักทอง (2.3%) 25.2% 41.4% 40.6% 19.1% 31.2% 89.6% หน�วย : %YOY, (สัดสวนในป 2021) Q4/2021 Q1/2022 Q2/2022 Jul-22 Aug-22 Sep-22 สงออกรวม 23.1% 14.8% 10.8% 4.3% 7.5% 7.8% สหรัฐฯ (15.4%) 25.2% 23.3% 17.8% 4.7% 16.3% 26.1% จีน (13.7%) 17.8% 4.2% -1.9% -20.6% -20.1% -13.2% อาเซียน 5 (13.7%) 44.1% 26.9% 23.1% 21.3% 5.8% 9.0% CLMV (10.3%) 13.6% 5.5% 14.1% 24.2% 41.1% 26.3% ญี่ปุน (9.2%) -0.2% 1.2% 1.6% -4.7% 6.6% -1.7% สหภาพยุโรป 28 (9.3%) 20.3% 7.5% 4.5% 9.3% 20.7% 22.2% ฮองกง (4.3%) 9.1% 5.0% -7.3% -31.3% -18.1% -17.9% ออสเตรเลีย (4%) 16.9% -2.4% -3.3% 19.9% 21.3% 12.7% ตะวันออกกลาง (3.3%) 37.2% 14.9% 28.9% 26.8% 38.5% 47.4% อินเดีย (3.2%) 50.6% 33.1% 60.4% 33.3% 18.0% -3.4% รัสเซีย (0.4%) 72.8% -6.8% -63.9% -42.6% -25.1% -34.8% ยูเครน (0%) 27.1% -49.2% -89.7% -87.5% -82.6% -87.1% หมายเหตุ : * ไมรวมกลุมสินคาดีบุก กาซธรรมชาติ และตะกั่ว เนื่องจากมีขนาดมูลคาตํ่ากวา 0.05% ในขณะที่มีอัตราการขยายตัวมากกวา 1.000% ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงพาณิชย
  • 19. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 19 Overall Food Beverages Tobacco Wearing Apparel Leather Paper Petroleum Chemicals Basic Pharma Rubber & Plastic Other Non Metallic Mineral Basic Metal Fabricated Metal Electronic Electrical Machinery Motor Vehicles Motorcycles Furniture Other Manu -15 -10 -5 0 5 -30 -25 -20 -15 -10 -5 0 5 10 ในระยะตอไป ภาคการผลิตที่พึ่งพาตลาดตางประเทศมีแนวโนมชะลอตัว ซึ่งจะสงผลตอเนื่องไปยังการลงทุน ภาคเอกชน ซึ่งในชวงที่ผานมา การผลิตภาคอุตสาหกรรมหลายสาขายังตํ่ากวาระดับกอน COVID-19 ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และ CEIC ความสัมพันธระหวางการสงออกสินคาและการลงทุนภาคเอกชน หน�วย : %YOY, 3MMA, SA อัตราการใชกําลังการผลิตและดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม หน�วย : การเปลี่ยนแปลงคาเฉลี่ยไตรมาส 3 ป 2022 เทียบกับคาเฉลี่ยป 2016-2019 Capacity Utilization Manufacturing Production Index คิดเปนสัดสวนมูลคา ราว 70% ของผลผลิต อุตสาหกรรมทั้งหมด -20 0 20 40 01/2016 01/2017 01/2018 01/2019 01/2020 01/2021 01/2022 Exports (BOP Basis) MPI PII เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชน หน�วย : ดัชนี (2018Q1=100) ปรับฤดูกาล 85 100 115 130 10/2021 12/2021 02/2022 04/2022 06/2022 08/2022 PII Construction Area Permitted Construction Material Sales Real Imports of Capital Goods Real Domestic Machinery Sales Newly Registered Vehicles for Investment ชะลอตัวลง
  • 20. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 20 สําหรับการลงทุนกอสรางของภาคเอกชนมีแนวโนมขยายตัวในป 2023 จากการกอสรางที่อยูอาศัยโครงการใหม และโครงการอสังหาริมทรัพยเชิงพาณิชยขนาดใหญ แตตนทุนที่สูงขึ้นจะกดดันการขยายตัว ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มูลคาการกอสรางภาคเอกชน หน�วย : พันลานบาท 2017 147 309 107 154 2019 287 173 546 2020 282 96 179 2021 148 312 2022F 562 2023F 313 118 2018 297 98 151 99 102 571 555 603 560 578 -3% +1% +3% +4% ที่อยูอาศัย อสังหาริมทรัพยเชิงพาณิชย อื่น ๆ เชน โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม คลังสินคา 1H +1% -2% 2H +1% +9% (F) มูลคาการกอสรางภาคเอกชนยังสามารถฟนตัวไดอยางตอเนื่อง จากปจจัยหนุน ไดแก • พื้นที่ขออนุญาตกอสรางที่อยูอาศัยที่มีแนวโนมสามารถฟนตัวในป 2022 จากการเปดตัว โครงการใหม • การกอสรางโครงการอสังหาริมทรัพยเชิงพาณิชยขนาดใหญยังดําเนินไปอยางตอเนื่อง • มูลคาการกอสรางโรงแรมยังหดตัว โดยพื้นที่ขออนุญาตกอสรางโรงแรมหดตัวตั้งแต การแพรระบาดของ COVID-19 โดยเปนการ Renovate พื้นที่รองรับการฟนตัวของ นักทองเที่ยวตางชาติ ความทาทาย : ผูรับเหมากอสรางยังตองแบกรับตนทุนสูง โดยเฉพาะคาจางที่สูงขึ้น จากการปรับขึ้นคาแรงขั้นตํ่าทั่วประเทศ และแรงงานตางชาติยังกลับมาทํางานไมมากเทาเดิม อีกทั้ง ยังเผชิญความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง แนวโนม ป 2023 จํานวนหน�วยที่อยูอาศัยขายได และเปดตัวใหมในกรุงเทพฯ และปริมณฑล หน�วย : พันหน�วย 2018 29 54 15 29 2020 2021 19 26 2022F 29 2023F 19 2019 31 75 15 107 21 69 121 100 65 100 +17% +32% +7% อื่น ๆ คอนโดมิเนียม บานเดี่ยว+บานแฝด ทาวนเฮาส 32 20 2019 18 29 26 2020 13 18 2022F 23 2021 2023F 32 74 106 66 73 2018 125 119 60 94 23 -17% +55% +13% ที่อยูอาศัย เปดตัวใหม ที่อยูอาศัย ขายได
  • 21. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 21 อยางไรก็ดี มาตรการผอนคลายเกณฑ LTV ที่จะหมดลงสิ้นปนี้ จะกระทบตออุปสงคการซื้อที่อยูอาศัยในป 2023 ของกลุมนักลงทุนโดยเฉพาะคอนโดระดับราคาไมเกิน 5 ลานบาท และกลุม Real demand ในสัญญาที่ 2 ขึ้นไป ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศไมตออายุมาตรการผอนคลายอัตราสวนสินเชื่อตอราคาที่อยูอาศัย (LTV) ที่จะหมดอายุในวันที่ 31 ธ.ค. 2022 สินเชื่อ เพื่อที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัย <10 ลานบาท ที่อยูอาศัย ≥10 ลานบาท เดิม (2022) ใหม (2023)* เดิม (2022) ใหม (2023)* สัญญาที่ 1 ≤100% + Top-up ≤10%** ≤100% + Top-up ≤10%** (เหมือนเดิม) ≤100% ≤90% สัญญาที่ 2 ≤100% ≤80-90% ≤100% ≤80% สัญญาที่ 3 ขึ้นไป ≤100% ≤70% ≤100% ≤70% ชวงที่เหลือของป 2022 • เรงการตัดสินใจซื้อของทั้งนักลงทุน และ กลุม Real demand ในสัญญาที่ 2 หรือ 3 ขึ้นไป • เปนจังหวะใหผูประกอบการที่มีที่อยูอาศัยสรางเสร็จ พรอมขายเรงทําโปรโมชันระบายสต็อก ตั้งแต ป 2023 กลุมนักลงทุนและกลุม Real demand ในสัญญาที่ 2 หรือ 3 ขึ้นไป อาจชะลอการตัดสินใจซื้อ จากภาระ การวางเงินดาวน 10%-30% ของราคาที่อยูอาศัย ผลกระทบ ตอที่อยูอาศัย • คอนโดไดรับผลกระทบมากกวาแนวราบ โดยเฉพาะระดับราคาปานกลาง-ลางไมเกิน 5 ลานบาท เนื่องจากไดรับความนิยมในการซื้อเพื่อลงทุน ทั้งปลอยเชาและเก็งกําไร • ที่อยูอาศัยในเมืองทองเที่ยว เชน เชียงใหม ชลบุรี ภูเก็ต อาจไดรับผลกระทบเชนกัน โดยเฉพาะ ที่เนนตลาดการลงทุนปลอยเชานักทองเที่ยว หรือซื้อเปนบานพักตากอากาศ • ที่อยูอาศัยราคา 10 ลานบาทขึ้นไป คาดวาจะไดรับผลกระทบไมมาก เนื่องจากเปน Segment เนนผูมีกําลังซื้อสูง ซึ่งมักจะไมมีขอจํากัดในการวางเงินดาวน แนวโนมป 2023 สินเชื่อที่อยูอาศัยของสถาบันการเงิน • แนวโนมการขอสินเชื่อในชวงที่เหลือของป 2022 อาจเติบโตอีกเล็กนอย • แนวโนมการขอสินเชื่อในป 2023 อาจไดรับผลกระทบเล็กนอย จากการชะลอซื้อที่อยูอาศัยของนักลงทุน และกลุม Real demand ในสัญญา ที่ 2 หรือ 3 ขึ้นไป แตจะยังมีแนวโนมเติบโต จากกลุม ผูซื้อที่อยูอาศัยหลังแรกและผูกูที่มีศักยภาพ ผูประกอบการอสังหาริมทรัพย • การขายคอนโดจะเนนกลุม Real demand มากขึ้น โดยเฉพาะกลุมที่ ตองการที่อยูอาศัยหลังแรก ซึ่งสวนใหญตองการระดับราคาปานกลาง-ลาง • การเปดโครงการคอนโดเปนไปอยางระมัดระวังมากขึ้น โดยอาจชะลอการ เปดโครงการในทําเลที่พึ่งพากําลังซื้อจากนักลงทุนในสัดสวนสูง มีการเรง ตัวของโครงการเปดใหม และมีหน�วยที่อยูอาศัยเหลือขายในระดับสูง หมายเหตุ : * มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. 2022 ** สินเชื่อที่มีวัตถุประสงคอื่น นอกเหนือจากเพื่อซื้อที่อยูอาศัย ซึ่งมีที่อยูอาศัยนั้นเปนหลักประกัน เชน ซื้อเฟอรนิเจอร ตกแตง ตอเติมที่อยูอาศัย ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทย
  • 22. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 22 ภาครัฐมีแนวโนมลงทุนเพิ่มขึ้นตอเนื่องในป 2023 ในเมกะโปรเจกต โครงการตอเนื่องและโครงการใหม อีกทั้ง มีการ จัดสรรงบลงทุนในงบประมาณป 2023 เพิ่มขึ้นหลังวิกฤต COVID-19 ซึ่งจะชวยยกศักยภาพเศรษฐกิจไทย มูลคาการกอสรางภาครัฐ* หมายเหตุ : * โครงการที่ดําเนินการโดยหน�วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ PPP รวมถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยรวมเม็ดเงินลงทุนจาก พ.ร.ก. เงินกู 1 ลานลานบาท และ 5 แสนลานบาทแลว ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หน�วย : พันลานบาท 80% 2020 20% 2021 22% 78% 2022E 2023F 23% 79% 77% 80% 77% 23% 2018 20% 21% 2017 2019 686 726 756 804 809 849 707 +4% +6% +1% +5% Q4 3Q งบลงทุนในงบประมาณป 2023 เพิ่มขึ้น 2.7 หมื่นลานบาท (+6%YOY) เปนสัญญาณการขยายตัวของมูลคาการ กอสรางภาครัฐ โครงการกอสรางทั่วไป เมกะโปรเจกต • โครงการกอสรางตอเนื่องจากอดีต มีความคืบหนา • มีการประมูลและกอสรางโครงการ เมกะโปรเจกตใหม ตัวอยางโครงการเมกะโปรเจกตใหมในป 2023 (รถไฟความเร็วสูง /รถไฟฟา /มอเตอรเวย /ทางดวน /ทาเรือ /สนามบิน) มูลคาการลงทุน (พันลานบาท) รถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-หนองคาย ชวงนครราชสีมา-หนองคาย (356 กม.) 300 มอเตอรเวยสายนครปฐม-ชะอํา 76 มอเตอรเวยสาย 9 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯ ฝงตะวันตก ชวงบางขุนเทียน-บางบัวทอง 56 มาบตาพุด เฟส 3 ชวงที่ 2 48 รถไฟฟาสีแดงออน ชวงบางซื่อ-พญาไท-มักกะสัน-หัวหมาก และสีแดงเขม ชวงบางซื่อ-หัวลําโพง 47 ทางดวนศรีนครินทร-สุวรรณภูมิ 43 ขยายทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ดานทิศเหนือ 41 โครงการทางพิเศษสายกะทู-ปาตอง จ.ภูเก็ต 15 แนวโนมป 2023
  • 23. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 23 สําหรับการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวตอเนื่องเกือบทุกหมวด จากกิจกรรมเศรษฐกิจที่ฟนกลับเปนปกติมากขึ้น การนําเขาสินคาอุปโภคบริโภคของไทย หน�วย : % ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทย, กระทรวงพาณิชย, สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และ CEIC ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน หน�วย : ดัชนี (2019Q4 = 100), ปรับฤดูกาล ยอดขายรถยนตนั่งสวนบุคคล หน�วย : จํานวนคัน (แกนซาย) , %YOY (แกนขวา) 0 20 40 60 80 100 120 60 70 80 90 100 110 120 PCI Non-Durables Semi-Durables Durables Services Index Non-Residents Exp (แกนขวา) ยอดขายรถยนตนั่งสวนบุคคล 9 เดือนแรก 2022 อยูที่ 200,691 คัน (ขยายตัว 14%YOY) -500 0 500 -50,000 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 Jan Aug Sep -47% -31% -10% Feb 46% Mar Oct 33% May 8% Jun Jul -35% Aug -14% NoV -16% Dec Feb 45% Jan Apr -13% 19% June 29% -1% 92% 21% Apr 63% May 15% Mar -9% Sep 9M219M22 July +14% -30% -15% 0% 15% 30% 45% 01/2018 07/2018 01/2019 07/2019 01/2020 07/2020 01/2021 07/2021 01/2022 07/2022 %MOM_sa %YOY การนําเขาสินคาอุปโภคบริโภคยังขยายตัวได แมชะลอตัวลงบาง
  • 24. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 24 การจางงานในอุตสาหกรรมคาสงคาปลีก บริการสุขภาพ และบริการอื่น สูงกวากอนวิกฤติ ขณะที่การจางงานภาค เกษตร กอสราง และโรงแรมยังฟนไมเต็มที่ แรงงานจํานวนมากออกจากระบบประกันสังคม ซึ่งมีความมั่นคงในการ ทํางานลดลง ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ และสํานักงานประกันสังคม การจางงานเฉลี่ย 2021 เทียบกอน COVID-19 หน�วย : พันคน, การเปลี่ยนแปลงเทียบป Q3/2022 vs Q3/2019 การจางงานเฉลี่ยใน 3 ไตรมาสแรกของป 2022 เทียบกอน COVID-19 หน�วย : พันคน, การเปลี่ยนแปลงเทียบป Q3/2022 vs Q3/2019 สัดสวนแรงงานในระบบประกันสังคม ม.33 หน�วย : % ตอจํานวนผูมีงานทํารวม 1,441 538 385 177 153 142 95 68 -11 -106 -300 -100 100 300 500 700 900 1,100 1,300 1,500 รวม ค า ส ง -ปลี ก อื ่ น ๆ บริ ก ารสุ ข ภาพ ขนส ง -โกดั ง ร า นอาหาร การผลิ ต เกษตร ก อ สร า ง โรงแรม 1,441 -280 -60 3 -10 228 1,560 -500 0 500 1,000 1,500 2,000 รวม ลู ก จ า งเอกชน นายจ า ง Union ช ว ยงานที ่ บ  า น ลู ก จ า งรั ฐ บาล-รั ฐ วิ ส าหกิ จ ทํ า งานอิ ส ระ จํานวนผูทําอาชีพอิสระเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่จํานวนลูกจางเอกชนที่มีความ มั่นคงทางรายไดมากกวาปรับลดลง 31.2% 28.8% 26% 27% 28% 29% 30% 31% 32% 2017Q1 2017Q3 2018Q1 2018Q3 2019Q1 2019Q3 2020Q1 2020Q3 2021Q1 2021Q3 2022Q1 2022Q3 วิกฤต COVID-19 วิกฤต COVID-19 สงผลใหแรงงานราว 6 แสนคน ออกนอกระบบประกันสังคม สูญเสียสวัสดิการที่เคยไดรับ ทั้งนี้การออกนอกระบบฯ เกิดขึ้นทุกอุตสาหกรรม โดย ณ ปจจุบัน จํานวนแรงงานในระบบยังตํ่ากวา ระดับกอน COVID-19 กวา 2 แสนคน ตํ่าสุดนับตั้งแต Q3/2017
  • 25. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 25 รายไดภาคเกษตรที่มีแนวโนมชะลอลงคอนขางมาก ตามทิศทางราคาสินคาเกษตรสําคัญที่จะลดลงในปหนา จึงไมสามารถสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนในป 2023 ไดมากเทาปนี้ ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ประมาณการ ณ ต.ค. 2022) คาดการณอัตราการเติบโตของผลผลิตและราคาสินคาเกษตร ป 2023 หน�วย : %YOY การบริโภคภาคเอกชนและรายไดภาคเกษตร รายไตรมาส หน�วย : %YOY ในป 2022 รายไดภาคเกษตรเติบโตดี ชวยสนับสนุนการบริโภค 9.4 17.7 10.9 -10 0 10 20 Q1/22 Q1/19 Q2/20 Q3/19 Q2/19 Q4/21 Q4/20 Q1/20 Q4/19 Q3/20 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q2/22 Q3/22 Q4/22E รายไดภาคเกษตร การบริโภคภาคเอกชน คาดการณอัตราการเติบโตของรายไดภาคเกษตรป 2023 หน�วย : %YOY ป 2021 2022E 2023F ดัชนีรายได 2.6 13.2 1.8 ดัชนีราคา 3.0 11.1 0.1 ดัชนีผลผลิต 0.8 1.9 1.5 รายไดภาคเกษตรในป 2023 มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงมาก - ผลผลิตเกษตรจะเติบโตใกลเคียงปนี้ - ราคาสินคาเกษตรมีแนวโนม ทรงตัวจากฐานสูง 1.6 -0.7 -4.9 1.8 4.1 1.5 2.3 11.1 15.8 -28.6 ราคา ผลผลิต ปาลมนํ้ามัน ขาวเปลือก ยางพารา มันสําปะหลัง ออย ปจจัยสนับสนุนผลผลิต ปจจัยสนับสนุนราคา ปจจัยกดดันใหราคาลดลง • ปริมาณนํ้าฝนเพียงพอตอการ เพาะปลูก ชวยใหผลผลิตออย ยางพารา ปาลมนํ้ามัน สูงขึ้น • ปริมาณนํ้าในเขื่อนสูงกวาปกอน สงผลใหผลผลิตพืชที่ปลูกชวง หนาแลง เชน ขาวนาปรัง ปรับ สูงขึ้น สต็อกขาวโลกมีแนวโนมลดลง และนโยบายควบคุมการสงออก ขาวของอินเดีย สงผลใหราคาขาว โลกมีแนวโนมปรับเพิ่มขึ้น • แนวโนมเศรษฐกิจโลกชะลอลง ราคาสินคาเกษตรที่อิงความตองการ บริโภคในตลาดโลก เชน ยางพารา ออย มีแนวโนมปรับลดลง • แนวโนมราคานํ้ามันปรับลดลงบาง จากปกอน สงผลใหราคายางพาราและ ออยมีแนวโนมปรับลดลงตาม
  • 26. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 26 หมายเหตุ : การวิเคราะหจากสถานการณ ณ สัปดาหที่สองของเดือน พ.ย. 2022 ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ EPPO, ERC, CEIC และสํานักขาวตาง ๆ ในป 2023 ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจยังตองเผชิญกับแนวโนมราคาพลังงานในประเทศที่อยูในระดับสูงเนื่องจาก ภาครัฐมีขอจํากัดในการอุดหนุนราคาพลังงาน ราคานํ้ามันดีเซลและนํ้ามันเบนซิน (หนาสถานีบริการ) หน�วย : บาทตอลิตร ราคากาซหุงตมถัง 15 กิโลกรัม (LPG) หน�วย : บาทตอถัง 15 กิโลกรัม อัตราคาไฟฟาผันแปร (Ft) หน�วย : สตางคตอหน�วย 300 320 340 360 380 400 420 2018 2019 2020 2021 2022 10 20 30 40 50 2018 2019 2020 2021 2022 Gasohol 95 E10 H-Diesel -40 -20 0 20 40 60 80 100 2018 2019 2020 2021 2022 ภาครัฐตรึงราคากาซหุงตมถัง 15 กก. ตลอดชวง COVID-19 เพื่อไมใหความผันผวน ของราคาตลาดโลกกระทบคาครองชีพ ภาครัฐกําหนดเพดานราคานํ้ามันดีเซล เพื่อลดผลกระทบราคานํ้ามันแพง โดยเฉพาะตนทุนขนสงสินคา ภาครัฐมีมาตรการชวยเหลือคา Ft ผูใชไฟฟากลุมเปราะบาง • ในป 2022 ที่ราคานํ้ามันในตลาดโลกดีดตัวขึ้นสูง การกําหนด เพดานราคานํ้ามันดีเซลไวที่ 30 บาทตอลิตร (คงเพดานนี้ตั้งแต ป 2009) ทําใหบัญชีของกองทุนนํ้ามันติดลบเปนอยางมาก จึงได ปรับเพดานขึ้นเปน 35 บาทตอลิตรเพื่อบรรเทาภาระกองทุน นํ้ามัน • สถานะกองทุนนํ้ามันที่ติดลบอยู 130,000 ลานในปจจุบัน ทําใหภาครัฐมีขอจํากัดในการชวยแบกรับตนทุนนํ้ามัน จึงมี ความเปนไปไดที่ภาครัฐจะปรับเพดานราคานํ้ามันดีเซลในอนาคต • ในป 2022 คาไฟฟาปลีกปรับเพิ่มตอเนื่องผานกลไกการปรับคา Ft เพื่อสะทอนตนทุนเชื้อเพลิงที่แทจริง โดย ERC ทยอยปรับขึ้นคา Ft เพื่อชะลอผลกระทบตอผูใชไฟฟา ซึ่งรัฐบาลมีการใชงบกลางอุดหนุน กลุมเปราะบางบางสวน • ในป 2023 คาดวาจะมีการปรับคา Ft ขึ้น เพื่อทยอยสงผานตนทุนที่ เกิดขึ้นแลวและแบกรับไวกอนโดย EGAT ราว 80,000-100,000 ลานบาท ยังมีความเสี่ยงที่ตนทุนการผลิตไฟฟาไทยจะสูงกวาคาดจากราคา LNG ในตลาด Spot ที่ผันผวน แมจะมีมาตรการลดปริมาณการนําเขา LNG ดวยการใชเชื้อเพลิงอื่นทดแทนบางสวน • ที่ผานมา แมราคา LPG ในตลาดโลกผันผวนมาก แตรัฐบาล ชวยตรึงราคากาซหุงตมถัง 15 กก. ที่ใชในครัวเรือน สงผลให กองทุนนํ้ามันตองแบกภาระตนทุนสูง ในป 2022 ภาครัฐจึงปรับ เพดานขึ้นเปน 408 บาทตอถัง 15 กก. • ในป 2023 ตนทุนกาซหุงตมในประเทศจะเพิ่มขึ้นตามแนวโนม ราคา LPG โลก ภาครัฐอยูระหวางพิจารณาขยับขึ้นราคาที่ตรึงไว เพื่อลดขอจํากัดในการอุดหนุนราคาของกองทุนนํ้ามัน
  • 27. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 27 0 25 50 75 100 125 150 นอกจากนี้ ราคาอาหารมีแนวโนมทรงตัวสูงตอเนื่อง เปนผลจากตนทุนการผลิตทั้งอาหารสดและอาหารสําเร็จรูป ที่อยูในระดับสูง รวมถึงการทยอยสงผานภาระตนทุนของผูประกอบการในภาวะเศรษฐกิจฟนตัวตอเนื่อง ราคาผลไมสดที่เกษตรกรขายได (Farmgate price) หน�วย : บาทตอกิโลกรัม ราคาอาหารสดที่เกษตรกรขายไดและแนวโนมป 2023 หน�วย : บาทตอกิโลกรัม ราคาขายปลีกอาหารสดในประเทศ (รายเดือน) หน�วย: บาทตอกิโลกรัม แนวโนมราคาอาหารในป 2023 • ราคาอาหารสดมีแนวโนมทรงตัวในระดับสูง ตอเนื่อง จากปจจัยดานอุปทานและอุปสงค • ตนทุนการผลิตอาหารสด เชน ผัก ผลไม เนื้อสัตว จะยังทรงตัวสูง จากตนทุนปจจัยการผลิต เชน ราคาปุยและเคมีภัณฑตนทุนการเลี้ยงสัตว โดยเฉพาะ อาหารสัตวและ Biosecurity คาไฟฟา บรรจุภัณฑ ตนทุนขนสง • ตนทุนการผลิตอาหารสําเร็จรูป (Packaged food) ซึ่งเปนอุตสาหกรรมปลายนํ้าในหวงโซการผลิต มีแนวโนมอยูในระดับสูงตอเนื่องเชนกัน ผูประกอบการมีแนวโนมทยอยสงผานภาระตนทุนที่ เพิ่มขึ้นไปยังผูบริโภคมากขึ้น • ความตองการบริโภคอาหารมีแนวโนมปรับดีขึ้น สอดคลองกับการฟนตัวของเศรษฐกิจ Durian Longan Mangosteen 2022E 2023F 2017 2018 2019 2020 2021 สงออกทุเรียนไปจีนไดลดลงจากความเขมงวด ของนโยบาย Zero-Covid ในป 2023 ราคาผลไมสดมีแนวโนมเพิ่มขึ้น จากความตองการบริโภค ในประเทศและการสงออกที่เติบโตดี รวมทั้งตนทุนเพาะปลูกที่ยังสูง • การสงออกผลไมไปคูคาหลัก เชน จีน มีแนวโนมเติบโตดีขึ้น สอดคลองกับเศรษฐกิจจีนที่ทยอยฟนตัวหลังผอนคลายมาตรการ Zero-Covid • การบริโภคผลไมสดในประเทศ มีแนวโนมเติบโตตอเนื่อง ตามการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยและภาคทองเที่ยว รวมทั้งมีปจจัยหนุนจากกระแสรักสุขภาพ (Health consciousness) 2.0 2.5 3.0 3.5 0 50 100 150 2018 2017 2023F 2019 2020 2022E 2021 ไก ไขไก สุกร 300 350 400 450 500 0 50 100 150 200 250 07/64 05/64 01/64 03/64 09/64 11/64 01/65 03/65 05/65 07/65 09/65 11/65 ไกสดชําแหละ เนื้อสันใน สุกรชําแหละ เนื้อแดง สะโพก ผักบุงจีน ขาวสารเจา 100% (แกนขวา) ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของกรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย และสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร หน�วย : บาทตอฟอง ประมาณการเงินเฟอ 2022F 2023F เงินเฟอทั่วไป 6.1% 3.2% เงินเฟอพื้นฐาน 2.5% 2.7%
  • 28. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 28 จํานวนครัวเรือนกลุมเปราะบางเพิ่มขึ้นในชวงวิกฤติ COVID-19 จากรายไดที่ฟนชาและการกอหนี้ที่เรงตัวตอเนื่อง จากระดับเดิมที่สูงมาก EIC ประเมินวา ครัวเรือนอาจตองใชเวลาแกปญหาความเปราะบางนานกวาทศวรรษ จํานวนครัวเรือนกลุมเปราะบาง หน�วย : พันครัวเรือน หน�วย : %YOY 1,661 1,689 1,712 1,697 2,108 1.7% 1.4% -0.9% 24.2% -5% 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 2013 2015 2017 2019 2021 กลุมเปราะบาง %YOY (แกนขวา) 8.3% 8.0% 8.1% 7.8% 9.4% % สัดสวนครัวเรือนเปราะบางตอครัวเรือนทั้งหมด การเปลี่ยนแปลงของหนี้ตอรายได* 2013 2015 2017 2019 2021 249.6% 239.6% 300.2% 290.1% 304.6% 42.0% 42.3% 50.5% 47.9% 50.4% สัดสวนหนี้ตอรายไดทั้งป (%) 249.6% 304.6% 42.0% 50.4% ครัวเรือนกลุมเปราะบาง* ครัวเรือนกลุมไมเปราะบาง การเปลี่ยนแปลงของภาระการชําระหนี้ตอเดือน* 2013 2015 2017 2019 2021 37.9% 40.6% 45.6% 43.8% 38.7% 17.4% 19.1% 19.4% 18.1% 16.7% 37.9% 38.7% 17.4% 16.7% สัดสวนการชําระหนี้ตอรายไดตอเดือน (%) หมายเหตุ : * ครัวเรือนกลุมเปราะบาง คือ ครัวเรือนที่มีหนี้สินตอรายไดเกินกวา 2 เทา และมีหนี้สินเฉลี่ยราวครึ่งนึงของสินทรัพย ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลสํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 29. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 29 ปรับโมเดลในการดําเนินธุรกิจ As-a-services, Sharing economy, Subscription, Business diversification ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดหาวัตถุดิบ Sourcing diversification, Green supply chain, Traceability, Omni channel ปรับเปลี่ยนกระบวนการในการผลิตสินคา AI, Automation, Cloud computing, Blockchain, 5G Aging society Technopolar world ภาพรวมแนวโนมธุรกิจในป 2023 และระยะปานกลางจึงขึ้นกับปจจัยเศรษฐกิจที่ไมแน�นอน และเมกะเทรนด ที่จะเขามากระทบธุรกิจในระยะยาว สภาพแวดลอมทางธุรกิจในป 2023 และระยะปานกลาง Economic factors Trade policy • Rising interest rate : สงผลใหตนทุนทางการเงินเพิ่มสูงขึ้น • Global economic instability and slowdown : สงผลตอธุรกิจที่พึ่งพาภาค การสงออก • Geopolitical fragmentation : สงผลใหราคาพลังงานและราคาวัตถุดิบยังอยู ในระดับสูง และผันผวนมากขึ้น และปญหา Supply chain disruption คลี่คลายไดชาลง Mega trends Risks Opportunities Country reopening : สงผลดีตอภาคทองเที่ยวและธุรกิจเกี่ยวเนื่อง Consumption recover and pent-up demand : สงผลใหความตองการสินคา และบริการฟนตัว โดยเฉพาะในกลุมกําลังซื้อสูง Government stimulus : ภาครัฐยังเดินหนาในโครงการลงทุนเมกะโปรเจกต โดยเฉพาะโครงการดานการคมนาคม Trade barriers : เปนทั้งความเสี่ยงและโอกาสที่สงผลตอการคาและการลงทุน ความตองการสินคาและบริการ Digital, Healthy, Personalized, Convenience, Sustainability Implications to businesses New trade agreement Easing of some trade barriers : ขอจํากัดการคาในบางอุตสาหกรรมคลี่คลาย Climate change Risk level* High Moderate Low หมายเหตุ : * Risk level คือระดับความรุนแรงของการเกิดความเสี่ยงและผลกระทบตอภาคธุรกิจในชวงป 2023 และ Medium term ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC
  • 30. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 30 แนวโนมธุรกิจในป 2023 เติบโตในลักษณะ Uneven เชนกัน ธุรกิจที่มีแนวโนมเติบโต ไดแก กลุมที่ตอบโจทย การฟนตัวการบริโภคหรือสอดรับเทรนดโลก บางธุรกิจมีความเสี่ยงจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัวหรือไดรับผลกระทบ จากเมกะเทรนด ธุรกิจที่มีแนวโนมเติบโตดีตอเนื่อง • กลุมที่ตอบโจทยการฟนตัวของการบริโภค โดยเฉพาะสินคาจําเปน • กลุมที่สอดรับกับเทรนดตาง ๆ (Digital, Health, Eco) • กลุมที่ตอบโจทยการลงทุนภาครัฐ ในโครงการ เมกะเทรนด ธุรกิจที่มีสัญญาณฟนตัว อยางคอยเปนคอยไปและยังมีความเสี่ยง • กลุมที่เกี่ยวเนื่องกับภาคทองเที่ยวจาก การเปดประเทศแตยังมีความเสี่ยงจาก เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว • กลุมที่เกี่ยวเนื่องกับการบริโภคสินคาไม จําเปนและสินคาคงทน ธุรกิจที่ยังมีความเสี่ยง/ปจจัยลบอยูคอนขางมาก • กลุมที่เกี่ยวเนื่องกับราคาพลังงานที่ยังผันผวนและทรงตัวใน ระดับสูง • กลุมที่เกี่ยวเนื่องกับการสงออก จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ โลก • กลุมที่ยังมีความเสี่ยงจากปญหา Supply chain disruption • กลุมที่ถูก Disrupt จากเมกะเทรนดตาง ๆ F&B, Restaurant Grocery retail Public construction Domestic travel Electronic Component E-commerce & related businesses Agri & fruits Healthcare & healthcare product Foreign travel & Medical tourism Residential real estate Non-grocery retail Building material (Cement, Paint, Tile) Auto Oil Petrochemical Transport & Logistics Commercial real estate Steel Industrial estate Power Computer, HDD ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC
  • 31. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 31 มองไปขางหนาเศรษฐกิจไทย จะฟนตัวบนความไมแน�นอนที่สูงขึ้น
  • 32. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 32 มองไปขางหนา เศรษฐกิจไทยยังตองเผชิญกับความไมแน�นอนสูง EIC ประเมินวา ความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจ ของไทยในป 2023 จะปรับสูงขึ้นกวาคาเฉลี่ยในอดีตถึง 80% ... สวนตางระหวางคาสูงสุดและตํ่าสุด (Range) ของตัวเลขคาดการณ GDP ไทย ดัชนีความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจของไทย และที่มาของความไมแน�นอนดานตาง ๆ หน�วย : ดัชนี ขอมูล ณ เดือน ต.ค ในแตละป 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 4.5 5 5.5 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 Current Year Next Year ตัวเลขคาดการณ เศรษฐกิจไทยยัง ผันผวนสูงและ มากกวาในชวงกอน วิกฤติ COVID-19 0 50 100 1993Q3 1994Q4 1996Q1 1997Q2 1998Q3 1999Q4 2001Q1 2002Q2 2003Q3 2004Q4 2006Q1 2007Q2 2008Q3 2009Q4 2011Q1 2012Q2 2013Q3 2014Q4 2016Q1 2017Q2 2018Q3 2019Q4 2021Q1 2022Q2 2023Q3F ความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจของไทย ความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจ สูงขึ้นในป 2023 ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ APAC, ธนาคารแหงประเทศไทย, สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, Conflict and Mediation Event Observations และ matteoiacoviello.com 0 50 100 1993Q2 1996Q1 1998Q4 2001Q3 2004Q2 2007Q1 2009Q4 2012Q3 2015Q2 2018Q1 2020Q4 ความขัดแยงทางภูมิรัฐศาสตรโลก 0 50 100 1993Q2 1995Q3 1997Q4 2000Q1 2002Q2 2004Q3 2006Q4 2009Q1 2011Q2 2013Q3 2015Q4 2018Q1 2020Q2 การเมืองภายในประเทศ 0 50 100 1993Q2 1995Q2 1997Q2 1999Q2 2001Q2 2003Q2 2005Q2 2007Q2 2009Q2 2011Q2 2013Q2 2015Q2 2017Q2 2019Q2 2021Q2 ความไมแน�นอนนโยบายเศรษฐกิจมหภาคไทย นโยบายการคลังไทย นโยบายการเงินไทย 0 50 100 1993Q2 1995Q3 1997Q4 2000Q1 2002Q2 2004Q3 2006Q4 2009Q1 2011Q2 2013Q3 2015Q4 2018Q1 2020Q2 ความไมแน�นอนเศรษฐกิจโลก
  • 33. แนวโนมสําคัญของเศรษฐกิจไทยป 2022 และ 2023 Q4/2021 Q4/2022 33 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 2021Q1 2021Q2 2021Q3 2021Q4 2022Q1 2022Q2 2022Q3F 2022Q4F 2023Q1F 2023Q2F 2023Q3F 2023Q4F Base case Worse case Better case ทามกลางความไมแน�นอนทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้น และความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกชะลอตัว EIC ประเมินวา ในกรณีฐาน โอกาสที่เศรษฐกิจไทยจะเขาสูภาวะถดถอยในป 2023 ยังมีไมมาก โดยจะสามารถกลับสูระดับศักยภาพได ณ สิ้นป 2024 ความน�าจะเปนที่เศรษฐกิจไทยจะเขาสูภาวะถดถอยในป 2023 หน�วย : % ดัชนีการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยกลับสูระดับศักยภาพ (Potential GDP) หน�วย : % 90 95 100 105 110 115 2019Q1 2019Q3 2020Q1 2020Q3 2021Q1 2021Q3 2022Q1 2022Q3F 2023Q1F 2023Q3F 2024Q1F 2024Q3F 2025Q1F 2025Q3F Base Better Worse 2024Q1 2024Q4 เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวกลับสูระดับศักยภาพ สิ้นป 2024 ใน Base case ประมาณการการเติบโตเศรษฐกิจไทยในกรณีตาง ๆ โดย EIC ณ ต.ค. 2022 กรณี GDP 2022 (%YOY) GDP 2023 (%YOY) Base 3.2 3.4 Better 3.6 4.5 Worse 2.3 1.8 EIC ประเมินเศรษฐกิจไทยมีโอกาสเขาสูภาวะถดถอยตํ่า ตามการฟนตัวของภาคการทองเที่ยวและบริการ* กรณี Recession Probability (%) Base 8.5 Better 6.0 Worse 35.9 Global recession scenario หากธนาคารกลางหลักของโลกขึ้นตอกเบี้ยสูงกวากรณี Base +100 BPS ในป 2023 (เชน Fed ขึ้นดอกเบี้ยมาอยูที่ 5.75% ในป 2023) เศรษฐกิจโลกจะเขาสูภาวะถดถอยขยายตัว 0.3% ในป 2023 ในกรณีนี้มีโอกาสที่ไทยจะเขาสูภาวะถดถอย ในป 2023 เกิน 80% หมายเหตุ : * วิเคราะหดวยแบบจําลอง Markov-switching Autoregressive ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทย และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ