SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
4




                                              บทที่ 2

                                       เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
                                                    ่

        ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress
เรื่ องอินเทอร์เน็ต นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ตางๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
                          ้ั                                      ่

        2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต
        2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media
        2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)



2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต

ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูลทาให้การศึกษาง่าย
ขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย
                                                       ั

2. การดารงชีวตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ
             ิ

3. การดาเนิ นธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น

4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า
ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้อง

5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น

ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต

1. ด้านการศึกษา อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญ ดังนี้
            1.1 สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล
5




           1.2 ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต จะทาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่
           1.3 นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์ เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อโรงเรี ยนอื่น ๆ
                                ่
เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูได้ ทั้งที่ขอมูลที่เป็ นข้อความเสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ
                                            ้

2. ด้านธุ รกิจและการพาณิ ชย์ อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้
            2.1 ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจทางธุ รกิจ
            2.2 สามารถซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบเครื อข่าย
            2.3 เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสิ นค้า ติดต่อสื่ อสารทางธุ รกิจ
            2.4 ผูใช้ที่เป็ นบริ ษท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุนลูกค้า
                  ้               ั
ของตนผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้

3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้
            3.1 การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ

                                                    ่
            3.2 สามารถฟังวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผานระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้
            3.3 สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์ มาดูได้


        2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media
                      ่
                 2.2.1 ความหมายของ Social Media

         Social Media คือเครื่ องมือ หรื อเว็บไซต์บนอินเทอร์ เน็ต ที่นกท่องเว็บและบริ ษทต่าง ๆ เข้า
                                                                      ั                ั
ไปเพื่อทาการสื่ อสาร รวบรวมข้อมูล และแม้กระทังไปร่ วมมือกันกับคนในชุมชนนั้น ๆ ทางานบาง
                                                   ่
สิ่ งบางอย่าง โดยเมื่อเราพูดถึง Social Media เรามักจะรวมถึงเครื่ องมืออย่างเช่น

       blog
       podcast
       เว็บประเภท Video Sharing เช่น YouTube
       เว็บประเภท Social Network เช่น Facebook, Hi5
       เว็บประเภท micro blog เช่น Twitter
       เว็บประเภทอัลบั้มรู ปภาพอย่างเช่น Flickr
6




       เว็บ bookmark ต่าง ๆ เช่น Digg, Stumble Upon

    หรื อแม้กระทังเว็บอื่น ๆ ที่คุณสามารถมีปฏิสัมพันธ์ หรื อแบ่งปั นบางสิ่ งบางอย่าง กับนักท่อง
                 ่
    เว็บคนอื่น ๆ ได้อย่างทันทีทนใดั


        2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media

                   ในปั จจุบนเรากาลังเรากาลังเข้าสู่ นวัตกรรมของ โลกจาลอง หรื อ Virtual World ที่
                            ั
อาจมาในรู ปแบบของ Second Life หรื อเกมออนไลน์ ทั้งหมดนี้ มีอิทธิ พลต่อ ความคิด วัฒนธรรม
ซึ่ งมีความสาคัญกับการหล่อหลอมแนวคิดความเป็ นไทยอยากหลีกเลี่ยงไม่ได้สิ่งหนึ่ งที่น่าสังเกตอีก
ประการคือ Social media ที่คนไทยใช้เวลาด้วยมากที่สุดล้วนเป็ นของต่างชาติ แต่ในสายตาบริ ษทที่ ั
ควบคุ มโดยต่างชาติแล้ว ตลาดในประเทศไทยไม่ใช่ ตลาดใหญ่หรื อตลาดที่สาคัญ ยังไม่มีบริ ษท          ั
,ศูนย์บริ การ หรื อกระทังพนักงานที่รับผิดชอบประเทศไทยเลย ทั้งนี้ social media ที่ปราศจากความ
                         ่
เป็ นไทยกาลังมีอิทธิ พลมากในสังคม จานวนชัวโมงการใช้social mediaต่อวันมีการขยายตัวอย่าง
                                                ่
ต่อเนื่ อง และอาจเป็ นไปได้ที่คุณค่าทางวัฒนธรรมของคนไทยจะถู กลบเลื อนโดยอิ ทธิ พลของ
           ่                            ่
ต่างชาติผานBroadband ด้วยเหตุผลที่วา สื่ อยุคเก่ามีขอบังคับการนาเสนอข่าวที่ตองเป็ นประโยชน์
                                                         ้                      ้
ต่อการเรี ยนรู ้และความเป็ นไทย แต่สื่อทางอินเตอร์ เน็ตนั้นผูใช้สามารถเลื อกเข้าชมข้อมูลได้อย่าง
                                                              ้
อิสระ ปราศจากข้อจากัดที่เข้มงวด

                                                                                     ้ ั
       การติดต่อสื่ อสารกันในปั จจุบนนี้ น้ น “social media” คงเป็ นอีกคาที่หลายๆคนคุนหู กนใน
                                    ั ั
                                                                              ่
ฐานะของสื่ อที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในประเทศไทยรวมถึงทัวโลกด้วย ไม่วาจะในรู ปแบบของ
                                                               ่
การติดต่อสื่ อสารของบุคคล,ติดต่อประสานงานในองค์กรหรื อแม้กระทังการเข้ามาทาธุ รกิ จผ่าน
                                                                        ่
ช่องทางดังกล่าว บทบาทของSocial Media ในประเทศไทยนั้นส่ งผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิ จ
ขององค์กรต่างๆด้วย จะเห็นได้จากการที่องค์กรต่างๆต้องมีการปรับกลยุทธ์และการดาเนิ นธุ รกิ จ
โดยมีการดึง social media เข้าไปใช้องค์กรเพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ของสังคมไทยในยุคปัจจุบน  ั

        ข้ อดีของการ Social Media,3 ในประเทศไทย

          1.เป็ นการเปลี่ ย นแปลงประเทศไทยให้ ก้ า วเข้า สู่ อี ก ขั้น ของเทคโนโลยี ใ นด้ า นการ
                            ่                       ั
ติดต่อสื่ อสาร จะเห็นได้วาในอดีตนั้นสื่ อหลักที่ใช้กนในประเทศจะเป็ นสื่ อจาพวก โทรทัศน์ วิทยุ
7




สื่ อสิ่ งพิมพ์ ซึ่ งเป็ นจากการติดต่อสื่ อสารแบบทางเดียว ไม่มีการตอบกลับของผูรับสื่ อ เป็ นการป้ อน
                                                                                   ้
                          ั ้
ข้อมูลผ่านสื่ อให้กบผูบริ โภค แต่เมื่อมีการนา Social Media เข้ามาใช้น้ น เป็ นสื่ อที่อิสระในด้านของ
                                                                       ั
การให้ขอมูลและมีการตอบกลับในส่ วนของความคิดเห็นผ่านสื่ อ (เป็ นการสื่ อสารแบบ Two-way-
            ้
communication) ซึ่ งจะมีลกษณะเด่นในเรื่ องของการมีส่วนร่ วมเป็ นอย่างมาก ผูเ้ สพสื่ อหรื อผูรับสื่ อ
                               ั                                                                ้
ก็สามารถเป็ นผูส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน
                      ้

       2.มีการผุดขึ้นของธุ รกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่เป็ นจานวนมากผ่านการใช้สื่อ social
          ่
media ไม่วาจะเป็ น hi5, facebook, twitter ก็จะมีผเู ้ ข้ามาดาเนินธุ รกิจในรู ปแบบนี้ กลายเป็ นอีก
ช่องทางหนึ่งในการทาธุ รกิจที่มีความสะดวกสบายและง่ายต่อการดาเนิ นงาน นอกจากนี้ยงประหยัด       ั
ต้นทุนและค่าใช้จ่ายจานวนมาก

                                                               ่
        3.เป็ นประโยชน์ในเรื่ องของการสร้างเครื อข่ายต่างๆ ไม่ผานจะเป็ นในด้านของธุ รกิจ,
การเมือง หรื อแม้กระทังความชอบหรื องานอดิเรกต่างๆ จะเห็นได้จากแฟนเพจในด้านต่างๆที่มี
                      ่
จานวนมากในสื่ ออินเตอร์ เน็ต

                 ข้ อเสี ยของการ Social Media,3 ในประเทศไทย

          1.การเข้ามาของสื่ อในประเทศไทยนั้นรุ นแรงและน่ากลัวของอาชญากรรมผ่านสื่ อทางนี้ มี
มาก เนื่ องจากว่าการให้ขอมูล ผ่า นสื่ อไม่ มีเงื่ อนไขหรื อข้อจากัดที่ เข้มงวด ทาให้เกิ ดการก่ อ
                              ้
อาชญากรรมผ่านการให้ขอมูล เช่ น การล้วงความลับข้อมูลต่างๆ รวมถึ งการให้ขอมูลเท็จเพื่อ
                            ้                                                         ้
หลอกลวงผูเ้ สพสื่ อ ตัวอย่างเช่น ธุ รกิจสถาบันการเงินมีการใช้สื่อทางSocial media เพื่อให้เกิดความ
สะดวกแก่ลูกค้าในด้านการทาธุ รกรรมต่างๆทางการเงิน โดยเพียงแค่ใส่ ขอมูลส่ วนตัวเข้าไป ลูกค้าก็
                                                                         ้
สามารถทีจะทาธุ รกรรมทางการเงินได้ โดยไม่ตองเดินทางไปยังธนาคารเอง กลับก่อให้เกิ ดการ
                                                   ้
ขโมยข้อมูลเมื่อมีกลุ่มที่สร้างเว็บไซด์ลวงขึ้นมาเพื่อให้คนใช้บริ การเกิดความเข้าใจผิด และเมื่อใส่
ข้อมูลส่ วนตัวหรื อรหัสต่างๆเข้าไปในระบบ ทาให้กลุ่มผูไม่หวังดีดงกล่าวสามารถเข้าถึงข้อมูลของ
                                                        ้          ั
ผูใช้บริ การได้
  ้

          2.การใช้ง านด้าน Social media ในประเทศไทยนั้น ยัง เป็ นแค่ กลุ่ ม ใช้ง าน แต่ ไม่ มี
                                     ่
ความสามารถในการแข่งขันได้ ถึงแม้วาจานวนผูใช้งานในประเทศไทยนั้นมีเป็ นจานวนมาก แต่เรา
                                                ้
                         ่
ไม่สามารถปฏิเสธได้วาการเข้าใช้งานสื่ อทางนี้ มีคนจานวนไม่นอยที่เข้าใช้งานเนื่ องจากเพื่อให้ตาม
                                                                ้
เทรนด์ของสังคมในยุคปั จจุบนหรื อเพื่อเกาะกระแสสังคม แต่ยงขาดการพัฒนาในด้านความรู ้เพื่อ
                              ั                                   ั
สร้างสื่ อบริ การท้องถิ่นภายในประเทศเพื่อแข่งขันกับสื่ อsocial mediaของต่างประเทศ และเมื่อเทียบ
8




                              ่                                                               ่
กับประเทศอื่นๆนั้น จะเห็นได้วาประเทศอื่นๆมี Social network ท้องถิ่นที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง ไม่วา
จะเป็ น QQของประเทศจีน,Cyworldของประเทศเกาหลี ,Mixiของประเทศญี่ปุ่น ก็ลวนแล้วแต่เป็ น
                                                                               ้
อันดับหนึ่ งในประเทศของตน แม้กระทังในประเทศอินเดี ยและอินโดนี เซี ยก็ยงมี Mobile Social
                                        ่                                  ั
Network ชื่อ Mig33 ซึ่ งมีการส่ งข้อความภายในประเทศเป็ นสองเท่าของจานวนทวีทของ Twitter
รวมกันทั้งโลก

          อนาคตของประเทศไทยหากจะประสบความสาเร็ จในโลกของธุ รกิจของSocial Mediaนั้ น
ควรมุ่งที่ จะพัฒนาในเรื่ องของความสามารถในการแข่งขันและปลู กฝั งในเรื่ องของค่านิ ยมต่างๆ
ภายในประเทศมากกว่าการเพิ่มจานวนผูเ้ ข้าถึงการใช้งานในสื่ อทางนี้ หากมีการมุ่งมันและพัฒนา
                                                                               ่
อย่างจริ งจัง เชื่ อได้แน่ นอนว่าประเทศไทยกับการผสมผสานระหว่างนโยบาย creative economy
ของรัฐบาลกับการพัฒนาสื่ อที่มีบทบาทและทันสมัยอย่าง Social media จะทาให้ประเทศไทยก้าว
เข้าไปสู่ การแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านหรื อแม้กระทังบนเวทีโลกได้อย่างสมบูรณ์
                                                    ่



         2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้บริ การ Social Media
                Google Group – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking

                Wikipedia – เว็บไซต์ ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง

                MySpace – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking

                Facebook -เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking

                MouthShut – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Product Reviews

                Yelp – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Product Reviews

                Youmeo – เว็บที่รวม Social Network

                Last.fm – เว็บเพลงส่ วนตัว Personal Music

    -           YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์ วิดีโอ

                Avatars United – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking
9




                 Second Life – เว็บไซต์ ในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality-

                 Flickr – เว็บแชร์ รูปภาพ




2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
        2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)

        เว็บล็อก (weblog) เป็ นรู ปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ ง ซึ่ งถู กเขียนขึ้ นในลาดับที่ เรี ยงตาม
เวลาในการเขียน ซึ่ งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุ ดไว้แรกสุ ด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ
                                           ่
ภาพ ลิงก์ ซึ่ งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่วา เพลง หรื อวิดีโอในหลายรู ปแบบได้ จุดที่แตกต่างของ
บล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้าย
ข้อความที่ เจ้า ของบล็ อกเป็ นคนเขี ย น ซึ่ งท าให้ผูเ้ ขี ย นสามารถได้ผ ลตอบกลับ โดยทันที ค าว่า
"บล็อก" ยังใช้เป็ นคากริ ยาได้ซ่ ึ งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชี พก็
                                                                        ู้
จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์ "

        บล็ อกเป็ นเว็บ ไซต์ที่ มี เนื้ อหาหลากหลายขึ้ น อยู่ก ับ เจ้า ของบล็ อก โดยสามารถใช้เ ป็ น
เครื่ องมือสื่ อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่
ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าวปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่ วนตัวหรื อ
                                             ั
จะเรี ยกว่า ไดอารี ออนไลน์ ซึ่ ง ไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ นจุ ดเริ่ มต้นของการใช้บ ล็อกในปั จจุ บ น
                                                                                                 ั
นอกจากนี้ ตามบริ ษ ัท เอกชนหลายแห่ ง ได้มี ก ารจัดท าบล็ อ กของทางบริ ษ ัท ขึ้ น เพื่ อ เสนอแนว
                 ั
ความเห็ นใหม่ให้กบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการ
ตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
10




        2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก

                 ประเภทของ Blog

                  ่
บล็อกที่เราเห็นอยูในปั จจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ นตัวหนังสื อและรู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่
                           ั
ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้
1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่

        1.1. Linklog บล็อกแบบนี้น่าจะเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ เป็ นบล็อกที่รวมลิ๊งก์ที่เจ้าของบล็อก
สนใจเอาไว้

                                  ่
        1.2 Photoblog ชื่อก็บอกอยูแล้วครับว่า Photo บล็อกประเภทนี้เน้นในโพสต์ภาพถ่ายที่
เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะไม่เน้นที่จะเขียนข้อความมากนัก

        1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่
          ่
เรี ยกได้วาเป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์เน็ต
หรื อ อินเตอร์ เน็ตบอร์ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie […]
2. แบ่งตามประเภทเนื้ อหา ได้แก่

        2.1 บล็อกส่ วนตัว (Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวันของเจ้าของ
บล็อกเป็ นหลัก

        2.2 บล็อกข่าว (News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก

        2.3 บล็อกกลุ่ม (Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com

        2.4 บล็อกการเมือง (Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ

        2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม (Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา
สิ่ งแวดล้อม

        2.6 มีเดียบล็อก (Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ
                                        ั ่
เช่น oknation.net/blog/black ของสุ ทธิ ชย หยุน
11




        2.7 บล็อกบันเทิง (Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว
และจอเงิน เรื่ องซุ บซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ

        2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog)
เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง



2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก
                ี่

                 www.blogger.com

                 www.exteen.com

                 www.mapandy.com

                 www.buddythai.com

                 www.imigg.com

                 www.5iam.com

                 www.blogprathai.com

                 www.ndesignsblog.com

                 www.idatablog.com

                 www.inewblog.com

                 www.onblogme.com

                 www.freeseoblogs.com

                 www.sumhua.com
12




                www.diaryi.net

                www.istoreblog.com

                www.skypream.com

                www.thailandspace.com

                www.sungson.com

                www.gujaba.com

                www.sabuyblog.com

                www.ugetblog.com

                www.jaideespace.com

                www.maxsiteth.com

                www.my2blog.com



        2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress

        ความเป็ นมาของเวิลด์ไวด์เว็บ

                ปี พ.ศ.2533 นักวิทยาศาสตร์ จากห้องทดลองของสถาบันเซิร์น (CERN) ซึ่งเป็ น
ห้องปฏิบติการฟิ สิ กส์แห่งยุโรป ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ คือ ทิม เบิร์นเนอร์ ส-ลี
        ั
(Tim Berners-Lee) ได้สร้างระบบการสื่ อสารข้อมูลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในรู ปแบบใหม่ ที่
เรี ยกว่าไฮเพอร์ เท็กซ์ (hypertext) ซึ่งผลที่ได้ทาให้มีการสร้างโพรโทคอลแบบ HTTP (Hypertext
                                                                      ่
Transport Protocol) ขึ้น เพื่อใช้ในการส่ งสารสนเทศต่างๆ โดยจะถูกจัดอยูในรู ปแบบใหม่ที่เรี ยกว่า
HTML (HyperText Markp Language) ซึ่ งการสื่ อสารและการสื บค้นสารสนเทศในรู ปแบบใหม่น้ ี
                                                                   ่
ทาให้มนุษย์สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้อย่างรวดเร็ วในทุกรู ปแบบ ไม่วาจะเป็ นข้อความ ภาพ และ
13




เสี ยง (จิตเกษม พัฒนาศิริ, 2540)จากการวิจยดังกล่าว ในปั จจุบนได้มีการคิดค้นและสร้างสรรค์
                                         ั                  ั
รู ปแบบเพื่อสื่ อสารระหว่างมนุษย์ดวยกันโดยอาศัยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นตัวเชื่ อมโยง ทาให้
                                  ้
เวิลด์ไวด์เว็บกลายเป็ นเครื่ องมือที่ใช้การติดต่อสื่ อสารและการนาเสนอผ่านเครื อข่ายทิ่ยงใหญ่ที่สุด
                                                                                       ิ่
ในโลกไปแล้วในขณะนี้เว็บไซต์ เว็บเพจและโฮมเพจ เว็บไซต์ เว็บเพจและโฮมเพจ ถือเป็ น
องค์ประกอบหนึ่งของเว็บ เนื่ องจากเมื่อเข้าไปในเว็บแล้วสารสนเทศหรื อข้อมูลต่างๆ ที่ตองการ
                                                                                   ้
สื บค้นก็คือหน้าของเอกสารที่ปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งรายละเอียดของแต่ละส่ วนมีดงนี้
                                                                                ั

เว็บไซต์ (Web site)

                                                                                       ่
        ปิ ยวิท เจนกิจจาไพบูลย์ (2540) ได้กล่าวว่า เว็บไซต์ ถูกเรี ยกเป็ นตาแหน่งที่อยูของผูที่มีเว็บ
                                                                                            ้
เพจเป็ นของตัวเองบนระบบอินเทอร์ เน็ต ซึ่ งได้จากการลงทะเบียนกับผูให้บริ การเช่าพื้นที่บนระบบ
                                                                 ้
อินเทอร์ เน็ตเมื่อลงทะเบียนในชื่อที่ตองการแล้ว ก็สามารถจัดทาเว็บเพจและส่ งให้ศูนย์บริ การนาขึ้น
                                     ้
ไปไว้บนอินเทอร์ เน็ตซึ่ งถือว่ามีเว็บไซต์เป็ นของตนเองแล้ว และเว็บไซต์ก็คือแหล่งที่รวบรวมเว็บ
เพจจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่ องเดียวกันมารวมอยูดวยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการเสนอเรื่ องราวที่อยู่
                                               ่ ้
บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์ เนื้ อหาในนิตยสาร หรื อหนังสื อพิมพ์ เนื่องจากการ
ทางานบนเว็บจะไม่มีวนสิ้ นสุ ด ทั้งนี้เนื่ องจากเราสามารถเปลี่ยนแปลงและเพิ่มสารสนเทศบน
                   ั
เว็บไซต์ได้ตลอดเวลา และแต่ละเว็บเพจจะมีการเชื่อมโยงกันภายในเว็บไซต์หรื อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ
เพื่อให้ผอ่านสามารถอ่านได้ในเวลาอันรวดเร็ ว (กิดานันท์ มลิทอง,2542)
         ู้

                                                 ่
        นิรุธ อานวยศิลป์ (2542) กล่าวถึงเว็บไซต์วา เป็ นชื่ อเรี ยก Host หรื อ Server ที่ได้จด
          ่
ทะเบียนอยูในเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่ งก็คือชื่อชื่อ Host ที่ถูกกาหนดให้มีชื่อในเวิลด์ไวด์เว็บ และขึ้นต้นด้วย
http และมีโดเมนหรื อนามสกุลเป็ น .com, .net, .org หรื ออื่นๆ

เว็บเพจ (Web page)

        สานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (2540) ได้ให้ความหมายของเว็บเพจไว้ดงนี้ เว็บเพจ คือ
                                                                         ั
หน้าหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์บนเว็บ ที่เจ้าของเว็บเพจ ต้องการจะใส่ ลงไปในหน้าหนังสื อ
อิเล็กทรอนิกส์น้ น เช่น ข้อมูลแนะนาตัวเองซึ่ งอาจเป็ นบุคคลหรื อองค์กรที่ตองการให้ผอื่นได้ทราบ
                 ั                                                        ้        ู้
14




หรื อข้อมูลที่น่าสนใจ เป็ นต้น โดยที่ขอมูลที่แสดงเป็ นได้ท้ งข้อความ เสี ยง ภาพนิ่ง และ
                                      ้                     ั
ภาพเคลื่อนไหวและข้อมูลที่นาเสนอสามารถเชื่อมโยงในรู ปของไฮเพอร์เท็กซ์ คือ เชื่อมโยงไปยัง
                                                                               ่
เว็บเพจอื่นที่จะให้ขอมูลนั้นๆ ในระดับลึกลงไปได้เรื่ อยๆและเว็บเพจจะต้องมีท่ีอยูอิเล็กทรอนิกส์
                    ้
                                       ่
บนเครื อข่ายเฉพาะของตน ซึ่ งแหล่งที่อยูน้ ีเรี ยกว่า URL (Uniform Resource Locator)

Contenu connexe

Tendances

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันKittipong Kansamroeng
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องNinna Natsu
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์teerarat55
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teerarat55
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องSupaporn Pakdeemee
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องRung Sensabe
 

Tendances (18)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social media with Thailand
Social media with ThailandSocial media with Thailand
Social media with Thailand
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

En vedette

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSirintip Kongchanta
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะSirintip Kongchanta
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sirintip Kongchanta
 
เครื่องพิมพ์
เครื่องพิมพ์เครื่องพิมพ์
เครื่องพิมพ์suttikan
 
Cơ hội kinh doanh Qivana
Cơ hội kinh doanh QivanaCơ hội kinh doanh Qivana
Cơ hội kinh doanh QivanaĐăng Khoa Pham
 
Rulea Thirds
Rulea ThirdsRulea Thirds
Rulea Thirdsshettya
 
RuLe Of ThIrDs
RuLe Of ThIrDsRuLe Of ThIrDs
RuLe Of ThIrDsshettya
 
La juventud Dominicana
La juventud DominicanaLa juventud Dominicana
La juventud DominicanaMaria Soto
 
ALFA-TOCOFEROL E BETA-CAROTENO EM VOLUMOSOS E LEITE EM REBANHOS LEITEIROS ORG...
ALFA-TOCOFEROL E BETA-CAROTENO EM VOLUMOSOS E LEITE EM REBANHOS LEITEIROS ORG...ALFA-TOCOFEROL E BETA-CAROTENO EM VOLUMOSOS E LEITE EM REBANHOS LEITEIROS ORG...
ALFA-TOCOFEROL E BETA-CAROTENO EM VOLUMOSOS E LEITE EM REBANHOS LEITEIROS ORG...Priscila de Oliveira
 
5e Sticker 60,6 cm x 25,6 cm met tekentjes
5e Sticker 60,6 cm x 25,6 cm met tekentjes5e Sticker 60,6 cm x 25,6 cm met tekentjes
5e Sticker 60,6 cm x 25,6 cm met tekentjesLaila Kühnen
 
Social network & media. Verso la smart communication nella gestione pubblica ...
Social network & media. Verso la smart communication nella gestione pubblica ...Social network & media. Verso la smart communication nella gestione pubblica ...
Social network & media. Verso la smart communication nella gestione pubblica ...Franco Giacomozzi
 
РЗТ презентация 21.06
РЗТ презентация 21.06РЗТ презентация 21.06
РЗТ презентация 21.06Alexander Karpov
 
Combined Analysis of Extant Rhynchonellida (Brachiopoda) Using Morphological ...
Combined Analysis of Extant Rhynchonellida (Brachiopoda) Using Morphological ...Combined Analysis of Extant Rhynchonellida (Brachiopoda) Using Morphological ...
Combined Analysis of Extant Rhynchonellida (Brachiopoda) Using Morphological ...David Bapst
 

En vedette (20)

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
เครื่องพิมพ์
เครื่องพิมพ์เครื่องพิมพ์
เครื่องพิมพ์
 
Cơ hội kinh doanh Qivana
Cơ hội kinh doanh QivanaCơ hội kinh doanh Qivana
Cơ hội kinh doanh Qivana
 
Rulea Thirds
Rulea ThirdsRulea Thirds
Rulea Thirds
 
RuLe Of ThIrDs
RuLe Of ThIrDsRuLe Of ThIrDs
RuLe Of ThIrDs
 
відгук куц
відгук куцвідгук куц
відгук куц
 
Zok
ZokZok
Zok
 
La juventud Dominicana
La juventud DominicanaLa juventud Dominicana
La juventud Dominicana
 
ALFA-TOCOFEROL E BETA-CAROTENO EM VOLUMOSOS E LEITE EM REBANHOS LEITEIROS ORG...
ALFA-TOCOFEROL E BETA-CAROTENO EM VOLUMOSOS E LEITE EM REBANHOS LEITEIROS ORG...ALFA-TOCOFEROL E BETA-CAROTENO EM VOLUMOSOS E LEITE EM REBANHOS LEITEIROS ORG...
ALFA-TOCOFEROL E BETA-CAROTENO EM VOLUMOSOS E LEITE EM REBANHOS LEITEIROS ORG...
 
Diser kravchenko
Diser kravchenkoDiser kravchenko
Diser kravchenko
 
5e Sticker 60,6 cm x 25,6 cm met tekentjes
5e Sticker 60,6 cm x 25,6 cm met tekentjes5e Sticker 60,6 cm x 25,6 cm met tekentjes
5e Sticker 60,6 cm x 25,6 cm met tekentjes
 
Social network & media. Verso la smart communication nella gestione pubblica ...
Social network & media. Verso la smart communication nella gestione pubblica ...Social network & media. Verso la smart communication nella gestione pubblica ...
Social network & media. Verso la smart communication nella gestione pubblica ...
 
القرآن تدبر وعمل - الجزء الرابع عشر
 القرآن تدبر وعمل - الجزء الرابع عشر  القرآن تدبر وعمل - الجزء الرابع عشر
القرآن تدبر وعمل - الجزء الرابع عشر
 
РЗТ презентация 21.06
РЗТ презентация 21.06РЗТ презентация 21.06
РЗТ презентация 21.06
 
Verjaardagskaart
VerjaardagskaartVerjaardagskaart
Verjaardagskaart
 
Combined Analysis of Extant Rhynchonellida (Brachiopoda) Using Morphological ...
Combined Analysis of Extant Rhynchonellida (Brachiopoda) Using Morphological ...Combined Analysis of Extant Rhynchonellida (Brachiopoda) Using Morphological ...
Combined Analysis of Extant Rhynchonellida (Brachiopoda) Using Morphological ...
 

Similaire à 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTangkwa Tom
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1She's Ning
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Tangkwa Tom
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำWilaiporn Seehawong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องRung Sensabe
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องRung Sensabe
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPoonyapat Wongpong
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 

Similaire à 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง555555502 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • 1. 4 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ องอินเทอร์เน็ต นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ตางๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ้ั ่ 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูลทาให้การศึกษาง่าย ขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย ั 2. การดารงชีวตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ิ 3. การดาเนิ นธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น 4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้อง 5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต 1. ด้านการศึกษา อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญ ดังนี้ 1.1 สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล
  • 2. 5 1.2 ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต จะทาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่ 1.3 นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์ เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อโรงเรี ยนอื่น ๆ ่ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูได้ ทั้งที่ขอมูลที่เป็ นข้อความเสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ้ 2. ด้านธุ รกิจและการพาณิ ชย์ อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 2.1 ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจทางธุ รกิจ 2.2 สามารถซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบเครื อข่าย 2.3 เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสิ นค้า ติดต่อสื่ อสารทางธุ รกิจ 2.4 ผูใช้ที่เป็ นบริ ษท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุนลูกค้า ้ ั ของตนผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ 3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 3.1 การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ ่ 3.2 สามารถฟังวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผานระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ 3.3 สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์ มาดูได้ 2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media ่ 2.2.1 ความหมายของ Social Media Social Media คือเครื่ องมือ หรื อเว็บไซต์บนอินเทอร์ เน็ต ที่นกท่องเว็บและบริ ษทต่าง ๆ เข้า ั ั ไปเพื่อทาการสื่ อสาร รวบรวมข้อมูล และแม้กระทังไปร่ วมมือกันกับคนในชุมชนนั้น ๆ ทางานบาง ่ สิ่ งบางอย่าง โดยเมื่อเราพูดถึง Social Media เรามักจะรวมถึงเครื่ องมืออย่างเช่น  blog  podcast  เว็บประเภท Video Sharing เช่น YouTube  เว็บประเภท Social Network เช่น Facebook, Hi5  เว็บประเภท micro blog เช่น Twitter  เว็บประเภทอัลบั้มรู ปภาพอย่างเช่น Flickr
  • 3. 6  เว็บ bookmark ต่าง ๆ เช่น Digg, Stumble Upon หรื อแม้กระทังเว็บอื่น ๆ ที่คุณสามารถมีปฏิสัมพันธ์ หรื อแบ่งปั นบางสิ่ งบางอย่าง กับนักท่อง ่ เว็บคนอื่น ๆ ได้อย่างทันทีทนใดั 2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media ในปั จจุบนเรากาลังเรากาลังเข้าสู่ นวัตกรรมของ โลกจาลอง หรื อ Virtual World ที่ ั อาจมาในรู ปแบบของ Second Life หรื อเกมออนไลน์ ทั้งหมดนี้ มีอิทธิ พลต่อ ความคิด วัฒนธรรม ซึ่ งมีความสาคัญกับการหล่อหลอมแนวคิดความเป็ นไทยอยากหลีกเลี่ยงไม่ได้สิ่งหนึ่ งที่น่าสังเกตอีก ประการคือ Social media ที่คนไทยใช้เวลาด้วยมากที่สุดล้วนเป็ นของต่างชาติ แต่ในสายตาบริ ษทที่ ั ควบคุ มโดยต่างชาติแล้ว ตลาดในประเทศไทยไม่ใช่ ตลาดใหญ่หรื อตลาดที่สาคัญ ยังไม่มีบริ ษท ั ,ศูนย์บริ การ หรื อกระทังพนักงานที่รับผิดชอบประเทศไทยเลย ทั้งนี้ social media ที่ปราศจากความ ่ เป็ นไทยกาลังมีอิทธิ พลมากในสังคม จานวนชัวโมงการใช้social mediaต่อวันมีการขยายตัวอย่าง ่ ต่อเนื่ อง และอาจเป็ นไปได้ที่คุณค่าทางวัฒนธรรมของคนไทยจะถู กลบเลื อนโดยอิ ทธิ พลของ ่ ่ ต่างชาติผานBroadband ด้วยเหตุผลที่วา สื่ อยุคเก่ามีขอบังคับการนาเสนอข่าวที่ตองเป็ นประโยชน์ ้ ้ ต่อการเรี ยนรู ้และความเป็ นไทย แต่สื่อทางอินเตอร์ เน็ตนั้นผูใช้สามารถเลื อกเข้าชมข้อมูลได้อย่าง ้ อิสระ ปราศจากข้อจากัดที่เข้มงวด ้ ั การติดต่อสื่ อสารกันในปั จจุบนนี้ น้ น “social media” คงเป็ นอีกคาที่หลายๆคนคุนหู กนใน ั ั ่ ฐานะของสื่ อที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในประเทศไทยรวมถึงทัวโลกด้วย ไม่วาจะในรู ปแบบของ ่ การติดต่อสื่ อสารของบุคคล,ติดต่อประสานงานในองค์กรหรื อแม้กระทังการเข้ามาทาธุ รกิ จผ่าน ่ ช่องทางดังกล่าว บทบาทของSocial Media ในประเทศไทยนั้นส่ งผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิ จ ขององค์กรต่างๆด้วย จะเห็นได้จากการที่องค์กรต่างๆต้องมีการปรับกลยุทธ์และการดาเนิ นธุ รกิ จ โดยมีการดึง social media เข้าไปใช้องค์กรเพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ของสังคมไทยในยุคปัจจุบน ั ข้ อดีของการ Social Media,3 ในประเทศไทย 1.เป็ นการเปลี่ ย นแปลงประเทศไทยให้ ก้ า วเข้า สู่ อี ก ขั้น ของเทคโนโลยี ใ นด้ า นการ ่ ั ติดต่อสื่ อสาร จะเห็นได้วาในอดีตนั้นสื่ อหลักที่ใช้กนในประเทศจะเป็ นสื่ อจาพวก โทรทัศน์ วิทยุ
  • 4. 7 สื่ อสิ่ งพิมพ์ ซึ่ งเป็ นจากการติดต่อสื่ อสารแบบทางเดียว ไม่มีการตอบกลับของผูรับสื่ อ เป็ นการป้ อน ้ ั ้ ข้อมูลผ่านสื่ อให้กบผูบริ โภค แต่เมื่อมีการนา Social Media เข้ามาใช้น้ น เป็ นสื่ อที่อิสระในด้านของ ั การให้ขอมูลและมีการตอบกลับในส่ วนของความคิดเห็นผ่านสื่ อ (เป็ นการสื่ อสารแบบ Two-way- ้ communication) ซึ่ งจะมีลกษณะเด่นในเรื่ องของการมีส่วนร่ วมเป็ นอย่างมาก ผูเ้ สพสื่ อหรื อผูรับสื่ อ ั ้ ก็สามารถเป็ นผูส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน ้ 2.มีการผุดขึ้นของธุ รกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่เป็ นจานวนมากผ่านการใช้สื่อ social ่ media ไม่วาจะเป็ น hi5, facebook, twitter ก็จะมีผเู ้ ข้ามาดาเนินธุ รกิจในรู ปแบบนี้ กลายเป็ นอีก ช่องทางหนึ่งในการทาธุ รกิจที่มีความสะดวกสบายและง่ายต่อการดาเนิ นงาน นอกจากนี้ยงประหยัด ั ต้นทุนและค่าใช้จ่ายจานวนมาก ่ 3.เป็ นประโยชน์ในเรื่ องของการสร้างเครื อข่ายต่างๆ ไม่ผานจะเป็ นในด้านของธุ รกิจ, การเมือง หรื อแม้กระทังความชอบหรื องานอดิเรกต่างๆ จะเห็นได้จากแฟนเพจในด้านต่างๆที่มี ่ จานวนมากในสื่ ออินเตอร์ เน็ต ข้ อเสี ยของการ Social Media,3 ในประเทศไทย 1.การเข้ามาของสื่ อในประเทศไทยนั้นรุ นแรงและน่ากลัวของอาชญากรรมผ่านสื่ อทางนี้ มี มาก เนื่ องจากว่าการให้ขอมูล ผ่า นสื่ อไม่ มีเงื่ อนไขหรื อข้อจากัดที่ เข้มงวด ทาให้เกิ ดการก่ อ ้ อาชญากรรมผ่านการให้ขอมูล เช่ น การล้วงความลับข้อมูลต่างๆ รวมถึ งการให้ขอมูลเท็จเพื่อ ้ ้ หลอกลวงผูเ้ สพสื่ อ ตัวอย่างเช่น ธุ รกิจสถาบันการเงินมีการใช้สื่อทางSocial media เพื่อให้เกิดความ สะดวกแก่ลูกค้าในด้านการทาธุ รกรรมต่างๆทางการเงิน โดยเพียงแค่ใส่ ขอมูลส่ วนตัวเข้าไป ลูกค้าก็ ้ สามารถทีจะทาธุ รกรรมทางการเงินได้ โดยไม่ตองเดินทางไปยังธนาคารเอง กลับก่อให้เกิ ดการ ้ ขโมยข้อมูลเมื่อมีกลุ่มที่สร้างเว็บไซด์ลวงขึ้นมาเพื่อให้คนใช้บริ การเกิดความเข้าใจผิด และเมื่อใส่ ข้อมูลส่ วนตัวหรื อรหัสต่างๆเข้าไปในระบบ ทาให้กลุ่มผูไม่หวังดีดงกล่าวสามารถเข้าถึงข้อมูลของ ้ ั ผูใช้บริ การได้ ้ 2.การใช้ง านด้าน Social media ในประเทศไทยนั้น ยัง เป็ นแค่ กลุ่ ม ใช้ง าน แต่ ไม่ มี ่ ความสามารถในการแข่งขันได้ ถึงแม้วาจานวนผูใช้งานในประเทศไทยนั้นมีเป็ นจานวนมาก แต่เรา ้ ่ ไม่สามารถปฏิเสธได้วาการเข้าใช้งานสื่ อทางนี้ มีคนจานวนไม่นอยที่เข้าใช้งานเนื่ องจากเพื่อให้ตาม ้ เทรนด์ของสังคมในยุคปั จจุบนหรื อเพื่อเกาะกระแสสังคม แต่ยงขาดการพัฒนาในด้านความรู ้เพื่อ ั ั สร้างสื่ อบริ การท้องถิ่นภายในประเทศเพื่อแข่งขันกับสื่ อsocial mediaของต่างประเทศ และเมื่อเทียบ
  • 5. 8 ่ ่ กับประเทศอื่นๆนั้น จะเห็นได้วาประเทศอื่นๆมี Social network ท้องถิ่นที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง ไม่วา จะเป็ น QQของประเทศจีน,Cyworldของประเทศเกาหลี ,Mixiของประเทศญี่ปุ่น ก็ลวนแล้วแต่เป็ น ้ อันดับหนึ่ งในประเทศของตน แม้กระทังในประเทศอินเดี ยและอินโดนี เซี ยก็ยงมี Mobile Social ่ ั Network ชื่อ Mig33 ซึ่ งมีการส่ งข้อความภายในประเทศเป็ นสองเท่าของจานวนทวีทของ Twitter รวมกันทั้งโลก อนาคตของประเทศไทยหากจะประสบความสาเร็ จในโลกของธุ รกิจของSocial Mediaนั้ น ควรมุ่งที่ จะพัฒนาในเรื่ องของความสามารถในการแข่งขันและปลู กฝั งในเรื่ องของค่านิ ยมต่างๆ ภายในประเทศมากกว่าการเพิ่มจานวนผูเ้ ข้าถึงการใช้งานในสื่ อทางนี้ หากมีการมุ่งมันและพัฒนา ่ อย่างจริ งจัง เชื่ อได้แน่ นอนว่าประเทศไทยกับการผสมผสานระหว่างนโยบาย creative economy ของรัฐบาลกับการพัฒนาสื่ อที่มีบทบาทและทันสมัยอย่าง Social media จะทาให้ประเทศไทยก้าว เข้าไปสู่ การแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านหรื อแม้กระทังบนเวทีโลกได้อย่างสมบูรณ์ ่ 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้บริ การ Social Media Google Group – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking Wikipedia – เว็บไซต์ ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง MySpace – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking Facebook -เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking MouthShut – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Product Reviews Yelp – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Product Reviews Youmeo – เว็บที่รวม Social Network Last.fm – เว็บเพลงส่ วนตัว Personal Music - YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์ วิดีโอ Avatars United – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking
  • 6. 9 Second Life – เว็บไซต์ ในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality- Flickr – เว็บแชร์ รูปภาพ 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) เว็บล็อก (weblog) เป็ นรู ปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ ง ซึ่ งถู กเขียนขึ้ นในลาดับที่ เรี ยงตาม เวลาในการเขียน ซึ่ งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุ ดไว้แรกสุ ด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ่ ภาพ ลิงก์ ซึ่ งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่วา เพลง หรื อวิดีโอในหลายรู ปแบบได้ จุดที่แตกต่างของ บล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้าย ข้อความที่ เจ้า ของบล็ อกเป็ นคนเขี ย น ซึ่ งท าให้ผูเ้ ขี ย นสามารถได้ผ ลตอบกลับ โดยทันที ค าว่า "บล็อก" ยังใช้เป็ นคากริ ยาได้ซ่ ึ งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชี พก็ ู้ จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์ " บล็ อกเป็ นเว็บ ไซต์ที่ มี เนื้ อหาหลากหลายขึ้ น อยู่ก ับ เจ้า ของบล็ อก โดยสามารถใช้เ ป็ น เครื่ องมือสื่ อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่ ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าวปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่ วนตัวหรื อ ั จะเรี ยกว่า ไดอารี ออนไลน์ ซึ่ ง ไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ นจุ ดเริ่ มต้นของการใช้บ ล็อกในปั จจุ บ น ั นอกจากนี้ ตามบริ ษ ัท เอกชนหลายแห่ ง ได้มี ก ารจัดท าบล็ อ กของทางบริ ษ ัท ขึ้ น เพื่ อ เสนอแนว ั ความเห็ นใหม่ให้กบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการ ตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
  • 7. 10 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก ประเภทของ Blog ่ บล็อกที่เราเห็นอยูในปั จจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ นตัวหนังสื อและรู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ ั ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่ 1.1. Linklog บล็อกแบบนี้น่าจะเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ เป็ นบล็อกที่รวมลิ๊งก์ที่เจ้าของบล็อก สนใจเอาไว้ ่ 1.2 Photoblog ชื่อก็บอกอยูแล้วครับว่า Photo บล็อกประเภทนี้เน้นในโพสต์ภาพถ่ายที่ เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะไม่เน้นที่จะเขียนข้อความมากนัก 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่ ่ เรี ยกได้วาเป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์เน็ต หรื อ อินเตอร์ เน็ตบอร์ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie […] 2. แบ่งตามประเภทเนื้ อหา ได้แก่ 2.1 บล็อกส่ วนตัว (Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวันของเจ้าของ บล็อกเป็ นหลัก 2.2 บล็อกข่าว (News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก 2.3 บล็อกกลุ่ม (Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com 2.4 บล็อกการเมือง (Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ 2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม (Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา สิ่ งแวดล้อม 2.6 มีเดียบล็อก (Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ ั ่ เช่น oknation.net/blog/black ของสุ ทธิ ชย หยุน
  • 8. 11 2.7 บล็อกบันเทิง (Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และจอเงิน เรื่ องซุ บซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ 2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง 2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก ี่ www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com www.5iam.com www.blogprathai.com www.ndesignsblog.com www.idatablog.com www.inewblog.com www.onblogme.com www.freeseoblogs.com www.sumhua.com
  • 9. 12 www.diaryi.net www.istoreblog.com www.skypream.com www.thailandspace.com www.sungson.com www.gujaba.com www.sabuyblog.com www.ugetblog.com www.jaideespace.com www.maxsiteth.com www.my2blog.com 2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress ความเป็ นมาของเวิลด์ไวด์เว็บ ปี พ.ศ.2533 นักวิทยาศาสตร์ จากห้องทดลองของสถาบันเซิร์น (CERN) ซึ่งเป็ น ห้องปฏิบติการฟิ สิ กส์แห่งยุโรป ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ คือ ทิม เบิร์นเนอร์ ส-ลี ั (Tim Berners-Lee) ได้สร้างระบบการสื่ อสารข้อมูลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในรู ปแบบใหม่ ที่ เรี ยกว่าไฮเพอร์ เท็กซ์ (hypertext) ซึ่งผลที่ได้ทาให้มีการสร้างโพรโทคอลแบบ HTTP (Hypertext ่ Transport Protocol) ขึ้น เพื่อใช้ในการส่ งสารสนเทศต่างๆ โดยจะถูกจัดอยูในรู ปแบบใหม่ที่เรี ยกว่า HTML (HyperText Markp Language) ซึ่ งการสื่ อสารและการสื บค้นสารสนเทศในรู ปแบบใหม่น้ ี ่ ทาให้มนุษย์สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้อย่างรวดเร็ วในทุกรู ปแบบ ไม่วาจะเป็ นข้อความ ภาพ และ
  • 10. 13 เสี ยง (จิตเกษม พัฒนาศิริ, 2540)จากการวิจยดังกล่าว ในปั จจุบนได้มีการคิดค้นและสร้างสรรค์ ั ั รู ปแบบเพื่อสื่ อสารระหว่างมนุษย์ดวยกันโดยอาศัยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นตัวเชื่ อมโยง ทาให้ ้ เวิลด์ไวด์เว็บกลายเป็ นเครื่ องมือที่ใช้การติดต่อสื่ อสารและการนาเสนอผ่านเครื อข่ายทิ่ยงใหญ่ที่สุด ิ่ ในโลกไปแล้วในขณะนี้เว็บไซต์ เว็บเพจและโฮมเพจ เว็บไซต์ เว็บเพจและโฮมเพจ ถือเป็ น องค์ประกอบหนึ่งของเว็บ เนื่ องจากเมื่อเข้าไปในเว็บแล้วสารสนเทศหรื อข้อมูลต่างๆ ที่ตองการ ้ สื บค้นก็คือหน้าของเอกสารที่ปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งรายละเอียดของแต่ละส่ วนมีดงนี้ ั เว็บไซต์ (Web site) ่ ปิ ยวิท เจนกิจจาไพบูลย์ (2540) ได้กล่าวว่า เว็บไซต์ ถูกเรี ยกเป็ นตาแหน่งที่อยูของผูที่มีเว็บ ้ เพจเป็ นของตัวเองบนระบบอินเทอร์ เน็ต ซึ่ งได้จากการลงทะเบียนกับผูให้บริ การเช่าพื้นที่บนระบบ ้ อินเทอร์ เน็ตเมื่อลงทะเบียนในชื่อที่ตองการแล้ว ก็สามารถจัดทาเว็บเพจและส่ งให้ศูนย์บริ การนาขึ้น ้ ไปไว้บนอินเทอร์ เน็ตซึ่ งถือว่ามีเว็บไซต์เป็ นของตนเองแล้ว และเว็บไซต์ก็คือแหล่งที่รวบรวมเว็บ เพจจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่ องเดียวกันมารวมอยูดวยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการเสนอเรื่ องราวที่อยู่ ่ ้ บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์ เนื้ อหาในนิตยสาร หรื อหนังสื อพิมพ์ เนื่องจากการ ทางานบนเว็บจะไม่มีวนสิ้ นสุ ด ทั้งนี้เนื่ องจากเราสามารถเปลี่ยนแปลงและเพิ่มสารสนเทศบน ั เว็บไซต์ได้ตลอดเวลา และแต่ละเว็บเพจจะมีการเชื่อมโยงกันภายในเว็บไซต์หรื อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ เพื่อให้ผอ่านสามารถอ่านได้ในเวลาอันรวดเร็ ว (กิดานันท์ มลิทอง,2542) ู้ ่ นิรุธ อานวยศิลป์ (2542) กล่าวถึงเว็บไซต์วา เป็ นชื่ อเรี ยก Host หรื อ Server ที่ได้จด ่ ทะเบียนอยูในเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่ งก็คือชื่อชื่อ Host ที่ถูกกาหนดให้มีชื่อในเวิลด์ไวด์เว็บ และขึ้นต้นด้วย http และมีโดเมนหรื อนามสกุลเป็ น .com, .net, .org หรื ออื่นๆ เว็บเพจ (Web page) สานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (2540) ได้ให้ความหมายของเว็บเพจไว้ดงนี้ เว็บเพจ คือ ั หน้าหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์บนเว็บ ที่เจ้าของเว็บเพจ ต้องการจะใส่ ลงไปในหน้าหนังสื อ อิเล็กทรอนิกส์น้ น เช่น ข้อมูลแนะนาตัวเองซึ่ งอาจเป็ นบุคคลหรื อองค์กรที่ตองการให้ผอื่นได้ทราบ ั ้ ู้
  • 11. 14 หรื อข้อมูลที่น่าสนใจ เป็ นต้น โดยที่ขอมูลที่แสดงเป็ นได้ท้ งข้อความ เสี ยง ภาพนิ่ง และ ้ ั ภาพเคลื่อนไหวและข้อมูลที่นาเสนอสามารถเชื่อมโยงในรู ปของไฮเพอร์เท็กซ์ คือ เชื่อมโยงไปยัง ่ เว็บเพจอื่นที่จะให้ขอมูลนั้นๆ ในระดับลึกลงไปได้เรื่ อยๆและเว็บเพจจะต้องมีท่ีอยูอิเล็กทรอนิกส์ ้ ่ บนเครื อข่ายเฉพาะของตน ซึ่ งแหล่งที่อยูน้ ีเรี ยกว่า URL (Uniform Resource Locator)