SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
นางรุ่งนภา คงเพ็ชรศักดิ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนเฉลิมเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
มีความจริงอยู่ 4 ประการคือ การมีอยู่
ของทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ความดับทุกข์ และ
หนทางไปสู่ความดับทุกข์ ความจริง
เหล่านี้เรียกว่า อริยสัจ 4
1. ทุกข์ สภาพที่ทนได้ ยาก คือ ปัญหา
2. สมุทัย เหตุของปัญหา
3. นิโรธ การแก้ปัญหา
4. มรรค วิธีแก้ปัญหา

คือ การมีอยู่ของทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ
และตายล้วนเป็ นทุกข์ ความเศร้า
โศก ความโกรธ ความอิจฉาริษยา
ความวิตกกังวล ความกลัวและ
ความผิดหวังล้วนเป็ น ทุกข์ การ
พลัดพรากจากของที่รักก็เป็ นทุกข์
ความเกลียดก็เป็ นทุกข์ ความ
อยาก ความยึดมั่นถือมั่น ความ
ยึดติดในขันธ์ทั้ง 5 ล้วนเป็ นทุกข์
โลกธรรม 8
 โลกธรรม 8 หมายถึง เรื่องธรรมดาของโลกที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของ
มนุษย์ไม่มีใครหลีกเลี่ยงได้ หรือสิ่งที่ครอบงามนุษย์ 8 ประการ
 สาระสาคัญของโลกธรรม 8 สรุปดังนี้
 โลกธรรมฝ่ ายอิฏฐารมณ์ (มนุษย์พอใจ)
 1. ได้ลาภ
 2. ได้ยศ
 3. มีสรรเสริญ
 4. มีสุข
 โลกธรรมฝ่ ายอนิฏฐารมณ์ (มนุษย์พอใจ)
 1. เสื่อมลาภ
 2. เสื่อมยศ
 3. มีนินทา
 4. มีทุกข์
 นี่ถือเป็นขั้นตอนแรกแห่งการดับทุกข์ตามหลักอริยสัจ กล่าวคือ
เราต้องมองเห็นทุกข์ รู้เสียก่อนว่าตอนนี้เรากาลังประสบกับทุกข์เรื่อง
อะไร ต้องใช้สติยอมรับว่า ทุกข์คือเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นได้ และการไปตี
โพยตีพาย โวยวายอาละวาดก็ไม่ได้ช่วยขับไล่ทุกข์ไป แต่มันเป็นการทาให้
ใจร้อนรนยิ่งขึ้น ทาให้ทุกข์ที่มีขยายขนาดยิ่งขึ้น
 ดังนั้นในขั้นตอนแรกแห่งการดับทุกข์อย่างมีเหตุและผล คือ เรา
ต้องคุมสติให้ดี เข้าใจตามหลักความจริงว่า “ทุกข์ ย่อมเกิดขึ้นได้” เรา
ต้องทาใจยอมรับมันอย่างตรงไปตรงมา กล้าเผชิญหน้ากับปัญหา และ
ไม่หลอกตัวเองหรือหาทางหนีปัญหา ซึ่งในทางพุทธศาสนา ได้เรียกแนว
ทางการปฏิบัติต่อทุกข์ อย่างมีสตินี้ว่า ปริญญา

คือ เหตุแห่งทุกข์ เพราะอวิชา
ผู้คนจึงไม่สามารถเห็นความ
จริงของชีวิต พวกเขาตกอยู่
ในเปลวเพลิงแห่งตัณหา
ความโกรธ ความอิจฉาริษยา
ความเศร้าโศก ความวิตก
กังวล ความกลัว และความ
ผิดหวัง
กรรมนิกาย
 กรรมนิกาย คือ กฎแห่งการกระทาของมนุษย์
หรือเรียกสั้น ๆ ว่า “กฎแห่งกรรม”ซึ่งชาวพุทธ
มักสรุปหลักคาสอนเรื่องนี้ว่า “ทาดี ได้ดี ทาชั่ว
ได้ชั่ว”
 กรรม 12 คือ กรรมที่จาแนกตามผลที่ได้รับ มี 12 ประเภท
ดังนี้
 1. กรรมที่ให้ผลตามกาลเวลา 4 กรรม ได้แก่ กรรมที่ให้ผล
ในชาตินี้ กรรมที่ให้ผลชาติหน้า กรรมที่ให้ผลในชาติต่อ ๆ ไป
และกรรมที่เลิกผล (อโหสิกรรม)
 2. กรรมที่ให้ผลตามหน้าที่ 4 กรรม ได้แก่ กรรมที่ชักนาให้เกิด
กรรมสนับสนุน กรรมตัดรอน และกรรมบีบคั้น
 3. กรรมที่ให้ผลตามลาดับความแรง 4 กรรม ได้แก่ กรรม
หนัก กรรมที่ทาบ่อย ๆ จนเคยชินกรรมที่ทาเมื่อใกล้ตาย และ
กรรมสักแต่ว่าทา (ไม่มีเจตนา)
 มิจฉาวณิชชา 5 หมายถึง การค้าขายที่
ผิดกฎหมายหรือผิดศีลธรรม 5 อย่างที่ชาว
พุทธต้องละเว้นหรือไม่ควรทา ได้แก่ การค้า
มนุษย์ การค้าอาวุธ การค้าสัตว์สาหรับฆ่า
เป็ นอาหาร การค้าของมึนเมา และการค้ายา
พิษ (สิ่งเสพย์ติด)
 หลังจากเรารู้จักตัวทุกข์ ขั้นต่อมาก็คือ เราต้องรู้ให้ถึงสาเหตุแห่ง
ทุกข์ ว่ามันมีที่มาจากไหน ซึ่งการที่ผมได้บอกเล่ารายละเอียดแห่งทุกข์ไป
เมื่อตอนที่แล้ว ก็เพื่อให้เราสามารถบอกตนเองได้ว่า ตอนที่เรากาลังเป็น
ทุกข์นั้น เราทุกข์เพราะอะไร เช่น เราทุกข์เพราะความอยากได้ (ทุกข์เพราะ
กิเลส ประเภทโลภะ) หรือทุกข์เพราะความโกรธเกลียด (ทุกข์เพราะกิเลส
ประเภทโทสะ) เราจะได้เห็นถึงสาเหตุ และทาการยุติมันได้อย่างตรงจุด
 เปรียบได้กับหมอที่หากจะรักษาอาการป่ วยของคนไข้ก็ต้องมองให้
ถูกว่าเขาเป็นโรคอะไร จะได้ให้ยาถูกชนิด ซึ่งการมองปัญหาไปถึงต้นตอ
และเตรียมลงมือแก้ไขนั้น มีคาเรียกเฉพาะว่าเป็น ปหานะ

คือ ความดับทุกข์
การเข้าใจความจริง
ของชีวิตนาไปสู่การ
ดับความเศร้า โศก
ทั้งมวล อันยังให้
เกิดความสงบและ
ความเบิกบาน
วิมุตติ 5
 วิมุตติ หมายถึง การหลุดพ้น ไม่มีความทุกข์ ภาวะที่ไร้กิเลส หรือ
ภาวะที่ทุกข์ดับ (ความหมายเดียวกับคาว่า นิโรธ ) มี 5 ประการ (เรียก
ย่อ ๆ ว่า สมถะ วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน ตามลาดับ
 1. หลุดพ้นด้วยการข่มกิเลส เป็ นการระงับกิเลสด้วยการเจริญ
สมาธิ (สมถะ)
 2. หลุดพ้นด้วยธรรมที่ตรงกันข้าม เช่น หลุดพ้นจากความโกรธ
ด้วยการให้อภัย หลุดพ้นจากความตระหนี่และความโลภด้วยการให้
ทาน และหลุดพ้นจากความเห็นแก่ตัวด้วยการเสียสละ (วิปัสสนา)
 3. หลุดพ้นอย่างเด็ดขาด คือ การทาลายกิเลสที่มีอยู่ให้หมดไป
ด้วยญาณขั้นสูงสุด (มรรค)
 4. หลุดพ้นอย่างสงบราบคาบ คือ หลุดพ้นเป็ นอิสระเพราะกาจัด
กิเลสที่ครอบงาได้อย่างราบคาบ (ผล)
 5. หลุดพ้นจนเกิดภาวะปลอดโปร่ง คือ การเข้าสู่ภาวะนิพพาน
 หลายท่านอาจสงสัยว่า เมื่อรู้ทุกข์และเหตุแห่งทุกข์แล้ว ทาไมขั้นถัดมาถึงไม่ใช่
การลงมือแก้ปัญหา แต่กลับต้องมาหาทางระงับทุกข์ให้ดับก่อนถึงจะเริ่ม
แก้ปัญหา
 นั่นก็เพราะในยามที่ใจเราร้อนรน อันเกิดจากไฟแห่งความทุกข์แผดเผา พลัง
สติปัญญาและความคิดก็จะอ่อนแรงหรืออาจไม่มีพลังเพียงพอที่จะทาอะไรได้ อีก
ทั้งการพยายามคิดหาทางออกเพื่อแก้ปัญหาท่ามกลางใจที่ยังมีไฟสุมทรวง ก็
เปรียบได้กับการพยายามขับรถออกจากป่ายามค่ามืด หรือการพยายาม
แก้ปัญหาด้วยใจที่ลนลาน ซึ่งย่อมเป็นการยากที่เราจะสามารถจัดการแก้ปัญหา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 นี่จึงเป็นขั้นตอนแห่งการหาทางสงบจิตใจ หรือ ตั้งสติ เพื่อเรียกพลังแห่งปัญญา
ให้เกิดขึ้น เราจะได้ลงมือแก้ปัญหาได้ มองสาเหตุของปัญหา มองที่มาของตัว
ทุกข์ได้อย่างทะลุปรุโปร่ง อันจะส่งผลให้เราสามารถเอาชนะทุกข์ตัวนั้นได้อย่าง
เด็ดขาดที่สุด
คือ หนทางนาไปสู่ความดับทุกข์
อันได้แก่ อริยมรรค 8 ซึ่งได้รับ
การหล่อ เลี้ยงด้วยการดารงชีวิต
อย่างมีสติความมีสตินาไปสู่สมาธิ
และปัญญาซึ่งจะปลดปล่อย ให้พ้น
จากความทุกข์และความโศกเศร้า
ทั้งมวลอันจะนาไปสู่ความศานติ
และ ความเบิกบาน พระพุทธองค์
ได้ทรงเมตตานาทางพวกเราไป
ตามหนทางแห่งความรู้แจ้งนี้
ปาปณิกธรรม 3
 ปาปณิกธรรม หมายถึง คุณสมบัติของพ่อค้าแม่ค้าที่ดี หรือ
หลักการค้าขายให้ประสบผลสาเร็จ มี 3 ประการ ดังนี้
 1. ตาดี (จักขุมา) คือ รู้ลักษณะของสินค้าที่ดีมีคุณภาพ รู้
ต้นทุน กาหนดราคาขายและคานวณผลกาไรได้ถูกต้อง
 2. ชานาญธุรกิจ (วิธูโร) คือ รู้จักแหล่งซื้อขายสินค้า รู้ความ
เคลื่อนไหวของตลาด และรู้ถึงรสนิยมความชอบและความ
ต้องการของผู้บริโภค
 3. มีเงินทุน (นิสสยสัมปันโน) คือ รู้จักแหล่งกู้เงินมาลงทุน
เพื่อมีเงินทุนหมุนเวียน และได้รับความไว้วางใจจากนายทุนเงินกู้
อปริหานิยธรรม
 อปริหานิยธรรม แปลว่า ธรรมอันไม่เป็ นที่ตั้งแห่งความเสื่อม
ธรรมที่ทาให้เกิดความเจริญทั้งส่วนตนและส่วนรวม หรือหลักปฏิบัติที่นา
ความสุขความเจริญมาสู่หมู่คณะ เป็ นหลักธรรมที่เน้นความรับผิดชอบต่อ
ส่วนรวม ความสามัคคีของหมู่คณะ และการเคารพนับถือซึ่งกันและกัน สรุปได้
ดังนี้
 1. หมั่นประชุมเป็ นเนืองนิตย์
 2. พร้อมเพรียงในการประชุม มาประชุม เลิกประชุม และทาภารกิจอื่น
ๆ ให้พร้อมกัน
 3. ไม่บัญญัติสิ่งใหม่ ๆ ตามอาเภอใจ โดยผิดหลักการเดิมที่หมู่คณะวาง
ไว้
 4. เคารพนับถือผู้มีอาวุโส และรับฟังคาแนะนาจากท่าน
 5. ไม่ข่มเหงหรือล่วงเกินสตรี
 6. เคารพสักการะปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุและรูปเคารพต่าง ๆ
 7. ให้ความคุ้มครองพระสงฆ์ผู้ทรงศีลและนักบวชอื่น ๆ ให้อยู่ในชุมชน
อย่างปลอดภัย
โภคอาทิยะ 5
 โภคอาทิยะ (หรือโภคาทิยะ) หมายถึง หลักธรรมที่สอนเกี่ยวกับการ
ใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้หรือแนวทางในการใช้จ่ายโภคทรัพย์ (ทรัพย์สิน
สิ่งของต่าง ๆ ที่ใช้ในการอุปโภคบริโภค)มี 5 ประการ ดังนี้
 1. ใช้จ่ายเพื่อเลี้ยงดูตนเอง บิดามารดา และครอบครัว ให้อยู่ดีมีสุข
 2. ใช้จ่ายเพื่อบารุงมิตรสหายและผู้ร่วมงานเป็ นครั้งคราว
 3. ใช้จ่ายเพื่อป้ องกันภัยอันตราย หรือเก็บออมไว้ยามเจ็บไข้ได้ป่ วย
 4. ใช้จ่ายเพื่อทาพลี 5 อย่าง คือ สงเคราะห์ญาติ,ต้อนรับแขก
,บารุงราชการ (เสียภาษี), บารุงเทวดา (สิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามประเพณีของ
สังคม) และทานุบารุงให้บุพการีผู้ล่วงลับไปแล้ว
 5. ใช้จ่ายเพื่ออุปถัมภ์บารุงนักบวช พระภิกษุสงฆ์ผู้ทรงศีล และ
กิจการพระศาสนา
อริยวัฑฒิ 5
 อริยวัฑฒิ หมายถึง หลักปฏิบัติที่นาไปสู่ความเจริญงอกงาม หรือความเป็ น
อารยชน
 หรือความเป็ นคนดีในอุดมคติ ซึ่งจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติ 5 ประการ
ดังนี้
 1. ศรัทธา (งอกงามด้วยศรัทธา) หมายถึง มีความเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ เชื่อ
ด้วยปัญญาและเหตุผล เช่น เชื่อว่าบุญบาปมีจริง เชื่อในผลของกรรม และเชื่อมั่น
ในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
 2. ศีล (งอกงามด้วยศีล) หมายถึง รักษากายและวาจาให้เรียบร้อยเป็ นปกติ
ในทางปฏิบัติคือการรักษาศีล 5 หรือ ศีล 8 ของชาวพุทธทั่วไป
 3. สุตะ (งอกงามด้วยสุตะ) หมายถึงความรู้ที่ได้ยินได้ฟัง หรือการศึกษาหา
ความรู้ด้วยการฟังซึ่งรวมถึงการอ่านหนังสือและใช้สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการ
แสดงหาความรู้อีกด้วย
 4. จาคะ (งอกงามด้วยจาคะ) หมายถึง รู้จักเสียสละ แบ่งปันสิ่งของให้แก่
ผู้อื่น
 5. ปัญญา (งอกงามด้วยปัญญา) หมายถึง มีความรู้อย่างกว้างขวาง รู้
ชัดเจน และรู้จริง เป็ นความรู้ทั้งในวิชาชีพ วิชาสามัญ หรือรู้เท่าทันโลก
 ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์
 ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ หมายถึง ธรรมที่เป็ นไปเพื่อ
ประโยชน์ในปัจจุบัน หรือหลักปฏิบัติที่จะอานวยประโยชน์สุขแก่
บุคคลมี 4 ประการ คือ
 1. ความขยันหมั่นเพียร (อุฏฐานสัมปทา) มีความ
ขยันหมั่นเพียรในกิจการงาน
 2. การเก็บรักษา (อารักขาสัมปทา) หรือประหยัด ใช้จ่าย
พอดี รู้จักเก็บรักษาทรัพย์ที่หามาได้
 3. การคบคนดีเป็ นมิตร (กัลยาณมิตร)รู้จักเลือกคบคนดี คน
มีคุณธรรม และมีความรู้
 4. การดารงชีพที่เหมาะสมพอดีหรือตามกาลังทรัพย์ ไม่
ฟุ้ งเฟ้ อจนเกินฐานะของตน
 มรรค คือ ขั้นตอนแห่งการลงมือดับทุกข์ ชนะทุกข์ ซึ่งขอเพียงเรามี
สติ มีความใจเย็นเพียงพอแล้ว เราก็ค่อยเริ่มกระบวนการคิด ไตร่ตรอง
วิเคราะห์ พิจารณาสิ่งต่างๆ ด้วยใจเป็นกลาง และด้วยความคิดที่มุ่ง
หมายให้เกิดเรื่องในทางบวก ทางสร้างสรรค์ แล้วก็ค่อยๆ ประยุกต์ลง
มือทาไป เช่น หากวันหนึ่งโทรศัพท์มือถือของเราเกิดหายไป แน่นอนว่าเรา
ต้องทุกข์อย่างมาก และอาจเกิดอารมณ์ขุ่นมัว ไม่พอใจ เกิดความเศร้า
หรือดีไม่ดีก็อาจเกิดกิเลสในเชิงโทสะ คิดว่ามีคนมาขโมยไป หรือไม่ก็เกิด
โมหะ สับสน งงงันทาอะไรต่อไปไม่ถูก แต่เราต้องรีบดึงสติกลับมา ตั้งสติ
ให้เร็วที่สุด ค่อยๆ ระลึกหาสาเหตุ ว่าเราอาจไปทาหล่นไว้ที่ไหน หรือ เรา
ควรไปแจ้งกับเจ้าหน้าที่เพื่อให้ช่วยตามหาหรือไม่ หรือ จะต้องเผื่อใจว่า
เราอาจต้องซื้อโทรศัพท์เครื่องใหม่ ในกรณีที่หาไม่เจอ
 ระหว่างการดาเนินการแก้ปัญหานั้น เราก็ต้องระลึกถึงหลักแห่ง
มรรคมีองค์ 8 ไว้เสมอ ว่าเราต้องทาสิ่งที่ถูก ไม่โวยวาย ไม่อารมณ์
เสีย ไม่ขาดสติ และไม่หันไปทาสิ่งผิดเสียเอง (เช่น ไปขโมยมือถือหรือ
ขโมยเงินคนอื่นมาซื้อมือถือใหม่ให้ตัวเอง)
 จุดสาคัญแห่งการเอาชนะความทุกข์นั้น คือ เราต้องมีสติ ต้อง
เรียกสติให้พร้อมเสมอ ต้องมาก่อนอื่นใด อย่าปล่อยให้ใจวุ่นวาย
สับสน ซึ่งหากจะถามว่าแล้วต้องทาอย่างไรถึงจะมีสติ เรื่องนี้ก็ต้อง
อยู่ที่ตัวเราเองว่าจะหมั่นฝึกฝนพลังแห่งสติมากน้อยแค่ไหน
หลักอริยสัจ4

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Pracha Wongsrida
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
พัน พัน
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
Oui Nuchanart
 

Tendances (20)

เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 

En vedette

ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
Ge Ar
 

En vedette (10)

072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pageใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pageใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
 
Pat15711
Pat15711Pat15711
Pat15711
 
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
 

Similaire à หลักอริยสัจ4

อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
Evesu Goodevening
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
olivemu
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
Maha Duangthip Dhamma
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
Phairot Odthon
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
Panda Jing
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
huloo
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
huloo
 

Similaire à หลักอริยสัจ4 (20)

อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
อริยสัจ ๔
 อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
Immortality Thama.Pps
Immortality Thama.PpsImmortality Thama.Pps
Immortality Thama.Pps
 
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 

Plus de พัน พัน

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

หลักอริยสัจ4

  • 2. นางรุ่งนภา คงเพ็ชรศักดิ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนเฉลิมเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 3. มีความจริงอยู่ 4 ประการคือ การมีอยู่ ของทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ความดับทุกข์ และ หนทางไปสู่ความดับทุกข์ ความจริง เหล่านี้เรียกว่า อริยสัจ 4
  • 4. 1. ทุกข์ สภาพที่ทนได้ ยาก คือ ปัญหา 2. สมุทัย เหตุของปัญหา 3. นิโรธ การแก้ปัญหา 4. มรรค วิธีแก้ปัญหา
  • 5.  คือ การมีอยู่ของทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ และตายล้วนเป็ นทุกข์ ความเศร้า โศก ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความวิตกกังวล ความกลัวและ ความผิดหวังล้วนเป็ น ทุกข์ การ พลัดพรากจากของที่รักก็เป็ นทุกข์ ความเกลียดก็เป็ นทุกข์ ความ อยาก ความยึดมั่นถือมั่น ความ ยึดติดในขันธ์ทั้ง 5 ล้วนเป็ นทุกข์
  • 6. โลกธรรม 8  โลกธรรม 8 หมายถึง เรื่องธรรมดาของโลกที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของ มนุษย์ไม่มีใครหลีกเลี่ยงได้ หรือสิ่งที่ครอบงามนุษย์ 8 ประการ  สาระสาคัญของโลกธรรม 8 สรุปดังนี้  โลกธรรมฝ่ ายอิฏฐารมณ์ (มนุษย์พอใจ)  1. ได้ลาภ  2. ได้ยศ  3. มีสรรเสริญ  4. มีสุข  โลกธรรมฝ่ ายอนิฏฐารมณ์ (มนุษย์พอใจ)  1. เสื่อมลาภ  2. เสื่อมยศ  3. มีนินทา  4. มีทุกข์
  • 7.  นี่ถือเป็นขั้นตอนแรกแห่งการดับทุกข์ตามหลักอริยสัจ กล่าวคือ เราต้องมองเห็นทุกข์ รู้เสียก่อนว่าตอนนี้เรากาลังประสบกับทุกข์เรื่อง อะไร ต้องใช้สติยอมรับว่า ทุกข์คือเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นได้ และการไปตี โพยตีพาย โวยวายอาละวาดก็ไม่ได้ช่วยขับไล่ทุกข์ไป แต่มันเป็นการทาให้ ใจร้อนรนยิ่งขึ้น ทาให้ทุกข์ที่มีขยายขนาดยิ่งขึ้น  ดังนั้นในขั้นตอนแรกแห่งการดับทุกข์อย่างมีเหตุและผล คือ เรา ต้องคุมสติให้ดี เข้าใจตามหลักความจริงว่า “ทุกข์ ย่อมเกิดขึ้นได้” เรา ต้องทาใจยอมรับมันอย่างตรงไปตรงมา กล้าเผชิญหน้ากับปัญหา และ ไม่หลอกตัวเองหรือหาทางหนีปัญหา ซึ่งในทางพุทธศาสนา ได้เรียกแนว ทางการปฏิบัติต่อทุกข์ อย่างมีสตินี้ว่า ปริญญา
  • 8.  คือ เหตุแห่งทุกข์ เพราะอวิชา ผู้คนจึงไม่สามารถเห็นความ จริงของชีวิต พวกเขาตกอยู่ ในเปลวเพลิงแห่งตัณหา ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความเศร้าโศก ความวิตก กังวล ความกลัว และความ ผิดหวัง
  • 9. กรรมนิกาย  กรรมนิกาย คือ กฎแห่งการกระทาของมนุษย์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า “กฎแห่งกรรม”ซึ่งชาวพุทธ มักสรุปหลักคาสอนเรื่องนี้ว่า “ทาดี ได้ดี ทาชั่ว ได้ชั่ว”
  • 10.  กรรม 12 คือ กรรมที่จาแนกตามผลที่ได้รับ มี 12 ประเภท ดังนี้  1. กรรมที่ให้ผลตามกาลเวลา 4 กรรม ได้แก่ กรรมที่ให้ผล ในชาตินี้ กรรมที่ให้ผลชาติหน้า กรรมที่ให้ผลในชาติต่อ ๆ ไป และกรรมที่เลิกผล (อโหสิกรรม)  2. กรรมที่ให้ผลตามหน้าที่ 4 กรรม ได้แก่ กรรมที่ชักนาให้เกิด กรรมสนับสนุน กรรมตัดรอน และกรรมบีบคั้น  3. กรรมที่ให้ผลตามลาดับความแรง 4 กรรม ได้แก่ กรรม หนัก กรรมที่ทาบ่อย ๆ จนเคยชินกรรมที่ทาเมื่อใกล้ตาย และ กรรมสักแต่ว่าทา (ไม่มีเจตนา)
  • 11.  มิจฉาวณิชชา 5 หมายถึง การค้าขายที่ ผิดกฎหมายหรือผิดศีลธรรม 5 อย่างที่ชาว พุทธต้องละเว้นหรือไม่ควรทา ได้แก่ การค้า มนุษย์ การค้าอาวุธ การค้าสัตว์สาหรับฆ่า เป็ นอาหาร การค้าของมึนเมา และการค้ายา พิษ (สิ่งเสพย์ติด)
  • 12.  หลังจากเรารู้จักตัวทุกข์ ขั้นต่อมาก็คือ เราต้องรู้ให้ถึงสาเหตุแห่ง ทุกข์ ว่ามันมีที่มาจากไหน ซึ่งการที่ผมได้บอกเล่ารายละเอียดแห่งทุกข์ไป เมื่อตอนที่แล้ว ก็เพื่อให้เราสามารถบอกตนเองได้ว่า ตอนที่เรากาลังเป็น ทุกข์นั้น เราทุกข์เพราะอะไร เช่น เราทุกข์เพราะความอยากได้ (ทุกข์เพราะ กิเลส ประเภทโลภะ) หรือทุกข์เพราะความโกรธเกลียด (ทุกข์เพราะกิเลส ประเภทโทสะ) เราจะได้เห็นถึงสาเหตุ และทาการยุติมันได้อย่างตรงจุด  เปรียบได้กับหมอที่หากจะรักษาอาการป่ วยของคนไข้ก็ต้องมองให้ ถูกว่าเขาเป็นโรคอะไร จะได้ให้ยาถูกชนิด ซึ่งการมองปัญหาไปถึงต้นตอ และเตรียมลงมือแก้ไขนั้น มีคาเรียกเฉพาะว่าเป็น ปหานะ
  • 14. วิมุตติ 5  วิมุตติ หมายถึง การหลุดพ้น ไม่มีความทุกข์ ภาวะที่ไร้กิเลส หรือ ภาวะที่ทุกข์ดับ (ความหมายเดียวกับคาว่า นิโรธ ) มี 5 ประการ (เรียก ย่อ ๆ ว่า สมถะ วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน ตามลาดับ  1. หลุดพ้นด้วยการข่มกิเลส เป็ นการระงับกิเลสด้วยการเจริญ สมาธิ (สมถะ)  2. หลุดพ้นด้วยธรรมที่ตรงกันข้าม เช่น หลุดพ้นจากความโกรธ ด้วยการให้อภัย หลุดพ้นจากความตระหนี่และความโลภด้วยการให้ ทาน และหลุดพ้นจากความเห็นแก่ตัวด้วยการเสียสละ (วิปัสสนา)  3. หลุดพ้นอย่างเด็ดขาด คือ การทาลายกิเลสที่มีอยู่ให้หมดไป ด้วยญาณขั้นสูงสุด (มรรค)  4. หลุดพ้นอย่างสงบราบคาบ คือ หลุดพ้นเป็ นอิสระเพราะกาจัด กิเลสที่ครอบงาได้อย่างราบคาบ (ผล)  5. หลุดพ้นจนเกิดภาวะปลอดโปร่ง คือ การเข้าสู่ภาวะนิพพาน
  • 15.  หลายท่านอาจสงสัยว่า เมื่อรู้ทุกข์และเหตุแห่งทุกข์แล้ว ทาไมขั้นถัดมาถึงไม่ใช่ การลงมือแก้ปัญหา แต่กลับต้องมาหาทางระงับทุกข์ให้ดับก่อนถึงจะเริ่ม แก้ปัญหา  นั่นก็เพราะในยามที่ใจเราร้อนรน อันเกิดจากไฟแห่งความทุกข์แผดเผา พลัง สติปัญญาและความคิดก็จะอ่อนแรงหรืออาจไม่มีพลังเพียงพอที่จะทาอะไรได้ อีก ทั้งการพยายามคิดหาทางออกเพื่อแก้ปัญหาท่ามกลางใจที่ยังมีไฟสุมทรวง ก็ เปรียบได้กับการพยายามขับรถออกจากป่ายามค่ามืด หรือการพยายาม แก้ปัญหาด้วยใจที่ลนลาน ซึ่งย่อมเป็นการยากที่เราจะสามารถจัดการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  นี่จึงเป็นขั้นตอนแห่งการหาทางสงบจิตใจ หรือ ตั้งสติ เพื่อเรียกพลังแห่งปัญญา ให้เกิดขึ้น เราจะได้ลงมือแก้ปัญหาได้ มองสาเหตุของปัญหา มองที่มาของตัว ทุกข์ได้อย่างทะลุปรุโปร่ง อันจะส่งผลให้เราสามารถเอาชนะทุกข์ตัวนั้นได้อย่าง เด็ดขาดที่สุด
  • 16. คือ หนทางนาไปสู่ความดับทุกข์ อันได้แก่ อริยมรรค 8 ซึ่งได้รับ การหล่อ เลี้ยงด้วยการดารงชีวิต อย่างมีสติความมีสตินาไปสู่สมาธิ และปัญญาซึ่งจะปลดปล่อย ให้พ้น จากความทุกข์และความโศกเศร้า ทั้งมวลอันจะนาไปสู่ความศานติ และ ความเบิกบาน พระพุทธองค์ ได้ทรงเมตตานาทางพวกเราไป ตามหนทางแห่งความรู้แจ้งนี้
  • 17. ปาปณิกธรรม 3  ปาปณิกธรรม หมายถึง คุณสมบัติของพ่อค้าแม่ค้าที่ดี หรือ หลักการค้าขายให้ประสบผลสาเร็จ มี 3 ประการ ดังนี้  1. ตาดี (จักขุมา) คือ รู้ลักษณะของสินค้าที่ดีมีคุณภาพ รู้ ต้นทุน กาหนดราคาขายและคานวณผลกาไรได้ถูกต้อง  2. ชานาญธุรกิจ (วิธูโร) คือ รู้จักแหล่งซื้อขายสินค้า รู้ความ เคลื่อนไหวของตลาด และรู้ถึงรสนิยมความชอบและความ ต้องการของผู้บริโภค  3. มีเงินทุน (นิสสยสัมปันโน) คือ รู้จักแหล่งกู้เงินมาลงทุน เพื่อมีเงินทุนหมุนเวียน และได้รับความไว้วางใจจากนายทุนเงินกู้
  • 18. อปริหานิยธรรม  อปริหานิยธรรม แปลว่า ธรรมอันไม่เป็ นที่ตั้งแห่งความเสื่อม ธรรมที่ทาให้เกิดความเจริญทั้งส่วนตนและส่วนรวม หรือหลักปฏิบัติที่นา ความสุขความเจริญมาสู่หมู่คณะ เป็ นหลักธรรมที่เน้นความรับผิดชอบต่อ ส่วนรวม ความสามัคคีของหมู่คณะ และการเคารพนับถือซึ่งกันและกัน สรุปได้ ดังนี้  1. หมั่นประชุมเป็ นเนืองนิตย์  2. พร้อมเพรียงในการประชุม มาประชุม เลิกประชุม และทาภารกิจอื่น ๆ ให้พร้อมกัน  3. ไม่บัญญัติสิ่งใหม่ ๆ ตามอาเภอใจ โดยผิดหลักการเดิมที่หมู่คณะวาง ไว้  4. เคารพนับถือผู้มีอาวุโส และรับฟังคาแนะนาจากท่าน  5. ไม่ข่มเหงหรือล่วงเกินสตรี  6. เคารพสักการะปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุและรูปเคารพต่าง ๆ  7. ให้ความคุ้มครองพระสงฆ์ผู้ทรงศีลและนักบวชอื่น ๆ ให้อยู่ในชุมชน อย่างปลอดภัย
  • 19. โภคอาทิยะ 5  โภคอาทิยะ (หรือโภคาทิยะ) หมายถึง หลักธรรมที่สอนเกี่ยวกับการ ใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้หรือแนวทางในการใช้จ่ายโภคทรัพย์ (ทรัพย์สิน สิ่งของต่าง ๆ ที่ใช้ในการอุปโภคบริโภค)มี 5 ประการ ดังนี้  1. ใช้จ่ายเพื่อเลี้ยงดูตนเอง บิดามารดา และครอบครัว ให้อยู่ดีมีสุข  2. ใช้จ่ายเพื่อบารุงมิตรสหายและผู้ร่วมงานเป็ นครั้งคราว  3. ใช้จ่ายเพื่อป้ องกันภัยอันตราย หรือเก็บออมไว้ยามเจ็บไข้ได้ป่ วย  4. ใช้จ่ายเพื่อทาพลี 5 อย่าง คือ สงเคราะห์ญาติ,ต้อนรับแขก ,บารุงราชการ (เสียภาษี), บารุงเทวดา (สิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามประเพณีของ สังคม) และทานุบารุงให้บุพการีผู้ล่วงลับไปแล้ว  5. ใช้จ่ายเพื่ออุปถัมภ์บารุงนักบวช พระภิกษุสงฆ์ผู้ทรงศีล และ กิจการพระศาสนา
  • 20. อริยวัฑฒิ 5  อริยวัฑฒิ หมายถึง หลักปฏิบัติที่นาไปสู่ความเจริญงอกงาม หรือความเป็ น อารยชน  หรือความเป็ นคนดีในอุดมคติ ซึ่งจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติ 5 ประการ ดังนี้  1. ศรัทธา (งอกงามด้วยศรัทธา) หมายถึง มีความเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ เชื่อ ด้วยปัญญาและเหตุผล เช่น เชื่อว่าบุญบาปมีจริง เชื่อในผลของกรรม และเชื่อมั่น ในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า  2. ศีล (งอกงามด้วยศีล) หมายถึง รักษากายและวาจาให้เรียบร้อยเป็ นปกติ ในทางปฏิบัติคือการรักษาศีล 5 หรือ ศีล 8 ของชาวพุทธทั่วไป  3. สุตะ (งอกงามด้วยสุตะ) หมายถึงความรู้ที่ได้ยินได้ฟัง หรือการศึกษาหา ความรู้ด้วยการฟังซึ่งรวมถึงการอ่านหนังสือและใช้สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการ แสดงหาความรู้อีกด้วย  4. จาคะ (งอกงามด้วยจาคะ) หมายถึง รู้จักเสียสละ แบ่งปันสิ่งของให้แก่ ผู้อื่น  5. ปัญญา (งอกงามด้วยปัญญา) หมายถึง มีความรู้อย่างกว้างขวาง รู้ ชัดเจน และรู้จริง เป็ นความรู้ทั้งในวิชาชีพ วิชาสามัญ หรือรู้เท่าทันโลก
  • 21.  ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์  ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ หมายถึง ธรรมที่เป็ นไปเพื่อ ประโยชน์ในปัจจุบัน หรือหลักปฏิบัติที่จะอานวยประโยชน์สุขแก่ บุคคลมี 4 ประการ คือ  1. ความขยันหมั่นเพียร (อุฏฐานสัมปทา) มีความ ขยันหมั่นเพียรในกิจการงาน  2. การเก็บรักษา (อารักขาสัมปทา) หรือประหยัด ใช้จ่าย พอดี รู้จักเก็บรักษาทรัพย์ที่หามาได้  3. การคบคนดีเป็ นมิตร (กัลยาณมิตร)รู้จักเลือกคบคนดี คน มีคุณธรรม และมีความรู้  4. การดารงชีพที่เหมาะสมพอดีหรือตามกาลังทรัพย์ ไม่ ฟุ้ งเฟ้ อจนเกินฐานะของตน
  • 22.  มรรค คือ ขั้นตอนแห่งการลงมือดับทุกข์ ชนะทุกข์ ซึ่งขอเพียงเรามี สติ มีความใจเย็นเพียงพอแล้ว เราก็ค่อยเริ่มกระบวนการคิด ไตร่ตรอง วิเคราะห์ พิจารณาสิ่งต่างๆ ด้วยใจเป็นกลาง และด้วยความคิดที่มุ่ง หมายให้เกิดเรื่องในทางบวก ทางสร้างสรรค์ แล้วก็ค่อยๆ ประยุกต์ลง มือทาไป เช่น หากวันหนึ่งโทรศัพท์มือถือของเราเกิดหายไป แน่นอนว่าเรา ต้องทุกข์อย่างมาก และอาจเกิดอารมณ์ขุ่นมัว ไม่พอใจ เกิดความเศร้า หรือดีไม่ดีก็อาจเกิดกิเลสในเชิงโทสะ คิดว่ามีคนมาขโมยไป หรือไม่ก็เกิด โมหะ สับสน งงงันทาอะไรต่อไปไม่ถูก แต่เราต้องรีบดึงสติกลับมา ตั้งสติ ให้เร็วที่สุด ค่อยๆ ระลึกหาสาเหตุ ว่าเราอาจไปทาหล่นไว้ที่ไหน หรือ เรา ควรไปแจ้งกับเจ้าหน้าที่เพื่อให้ช่วยตามหาหรือไม่ หรือ จะต้องเผื่อใจว่า เราอาจต้องซื้อโทรศัพท์เครื่องใหม่ ในกรณีที่หาไม่เจอ
  • 23.  ระหว่างการดาเนินการแก้ปัญหานั้น เราก็ต้องระลึกถึงหลักแห่ง มรรคมีองค์ 8 ไว้เสมอ ว่าเราต้องทาสิ่งที่ถูก ไม่โวยวาย ไม่อารมณ์ เสีย ไม่ขาดสติ และไม่หันไปทาสิ่งผิดเสียเอง (เช่น ไปขโมยมือถือหรือ ขโมยเงินคนอื่นมาซื้อมือถือใหม่ให้ตัวเอง)  จุดสาคัญแห่งการเอาชนะความทุกข์นั้น คือ เราต้องมีสติ ต้อง เรียกสติให้พร้อมเสมอ ต้องมาก่อนอื่นใด อย่าปล่อยให้ใจวุ่นวาย สับสน ซึ่งหากจะถามว่าแล้วต้องทาอย่างไรถึงจะมีสติ เรื่องนี้ก็ต้อง อยู่ที่ตัวเราเองว่าจะหมั่นฝึกฝนพลังแห่งสติมากน้อยแค่ไหน