SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  46
Télécharger pour lire hors ligne
ปัญหาน้าเน่าเสีย
จัดทาโดย
นางสาวจิรวัส แสงนิ่ม เลขที่ 13
นางสาวพรรณิภา แซ่ตัน เลขที่ 17
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS (I30201)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
ปัญหาน้าเน่าเสีย
จัดทาโดย
นางสาวจิรวัส แสงนิ่ม เลขที่ 13
นางสาวพรรณิภา แซ่ตัน เลขที่ 17
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS (I30201)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
ก
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับปัญหาน้าเน่าเสีย และ
ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาไว้ในรายงานเล่มนี้เรียบร้อยแล้ว หวังว่าจะเป็นประโยชน์ไม่
มากก็น้อยกับผู้ที่อ่านรายงานเล่มนี้ ถ้าผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
รายงานเรื่องปัญหาน้าเน่าเสียสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ในแผนกวิชา IS ที่
ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะในการศึกษาค้นคว้า แนะนาขั้นตอนและวิธีจัดทาโครงงานจนสาเร็จ
ลุล่วงด้วยดี คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ณ โอกาสนี้
ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน และสมาชิกในกลุ่มที่
ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทาโครงงานครั้งนี้จนกระทั่งประสบความสาเร็จด้วยดี
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1
1.1 ที่มาและความสาคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 2
บทที่ 2 ทรัพยากรน้า 3
2.1 ทรัพยากรน้า 3
2.2 ความสาคัญของน้า 3
2.3 ประโยชน์ของน้า 5
2.4 ปัญหาทรัพยากรน้า 5
2.5 การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า 6
บทที่ 3 ปัญหาน้าเน่าเสีย 7
3.1 น้าเสีย 7
3.2 ตัวชี้วัดคุณภาพน้าทิ้ง 8
3.3 ลักษณะน้าเสีย 9
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 4 สาเหตุ ผลกระทบ วิธีการแก้ไข และป้องกันปัญหาน้าเน่าเสีย 15
4.1 สาเหตุของมลพิษทางน้า 15
4.2 ผลกระทบของมลพิษทางน้า 17
4.3 แนวทางป้องกันและแก้ไขมลพิษทางน้า 19
4.4 การบาบัดน้าเสีย 20
บทที่ 5 โครงการพระราชดาริเกี่ยวกับน้าเสีย 26
5.1 โครงการน้าดีไล่น้าเสีย 26
5.2 การบาบัดน้าเสียด้วยผักตบชวา 27
บรรณานุกรม 30
ภาคผนวก 31
สารบัญภาพ
ภาพ หน้า
ภาพที่ 2.1 แหล่งน้าธรรมชาติ 3
ภาพที่ 2.2 การทานาข้าว 4
ภาพที่ 2.3 โรงไฟฟ้าพลังงานน้า 4
ภาพที่ 3.1 น้าเน่าเสีย 8
ภาพที่ 4.1 น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 16
ภาพที่ 4.2 น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 17
ภาพที่ 4.3 ปลาตายเนื่องจากน้าเน่าเสีย 18
ภาพที่ 4.4 ส่วนประกอบและระบบการทางานของระบบเอเอส 24
ภาพที่ 5.1 โครงการน้าดีไล่น้าเสีย 26
ภาพที่ 5.2 บาบัดน้าเสียบึงมักกะสัน 29
1
บทที่ 1
ความเป็นมาและความสาคัญ
1.1ที่มาและความสาคัญ
น้ามีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของสิ่งมีชีวิต ทั้งในด้านอุปโภคและบริโภค แต่ใน
ปัจจุบันมนุษย์ใช้น้าอย่างไม่คานึงถึงความสาคัญของน้า ซึ่งมนุษย์ส่วนใหญ่นั้นเห็นแก่ตัวและมัก
ง่าย เช่น ใช้ในการชาระล้างร่างกาย หรือโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ แล้วก็ปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้า ลา
คลอง การทิ้งขยะลงแม่น้า ลาคลอง ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษทางน้ากลายเป็นปัญหาน้าเน่าเสีย
จากการกระทาของมนุษย์จะเห็นได้ว่ามนุษย์นั้นปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้า ลาคลอง โดยตรง
เป็นส่วนใหญ่ซึ่งถ้าไม่มีการกรองน้าเสียหรือการบาบัดน้าเสียก่อนปล่อยลงสู่แม่น้า ลาคลอง จะ
ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า ซึ่งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต ทั้งที่อยู่ในน้าและบนบก ทาให้
ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นลดลง สัตว์น้าขาดออกซิเจนตาย
แล้วทาให้น้าเน่าเสีย มนุษย์ก็ต้องรับประทานสัตว์น้าที่มีสารเคมีเจือปนอยู่ในตัวสัตว์น้า เป็นต้น
เพราะฉะนั้นเราจึงควรช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมทางน้า ด้วยเหตุนี้คณะผู้จัดทารายงานนี้จึงได้คิด
จัดทารายงานรักษาแม่น้า ลาคลอง เพื่อช่วยลดปัญหามลพิษทางน้าที่เกิดจากความมักง่ายและ
ความเห็นแก่ตัวของมนุษย์ในสังคมยุคปัจจุบัน และยังรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดารงไว้
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อรักษาระบบนิเวศของน้า
2. เพื่อช่วยปลูกฝังจิตสานึกให้กับคนในสังคม
3. เพื่อให้แหล่งน้ามีความสะอาด
4. เพื่อลดการระบาดของโรคที่มาจากน้าเน่าเสีย
1.3 ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ช่วยให้แหล่งน้าสะอาด
2. ช่วยให้คนในบริเวณนั้นมีสุขภาพที่ดีขึ้น
2
3. ช่วยรักษาระบบนิเวศของน้า
4. ช่วยให้บริเวณนั้นน่าอยู่ยิ่งขึ้น
3
บทที่ 2
ทรัพยากรน้า
2.1 ทรัพยากรน้า
น้าเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อชีวิตคน พืช และสัตว์มากที่สุดแต่ก็มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ
เปรียบเทียบกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ น้าเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์และเป็น
องค์ประกอบที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
ภาพที่ 2.1 แหล่งน้าธรรมชาติ
2.2 ความสาคัญของทรัพยากรน้า
1. ใช้สาหรับการบริโภคและอุปโภค เพื่อดื่มกิน ประกอบอาหาร ชาระร่างกาย ทาความ
สะอาด ฯลฯ
2. ใช้สาหรับการเกษตร ได้แก่ การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์แหล่งน้าเป็นที่อยู่อาศัยของปลาและ
สัตว์น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร
4
ภาพที่ 2.2 การทานาข้าว
3. ด้านอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าในกระบวนการผลิต ล้างของเสีย หล่อเครื่องจักร และระบาย
ความร้อน ฯลฯ
4. การทานาเกลือ โดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล หรือระเหยน้าที่ใช้ละลายเกลือสินเธาว์
5. น้าเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้า
ภาพที่ 2.3 โรงไฟฟ้าพลังงานน้า
5
6. เป็นเส้นทางคมนาคมที่สาคัญ แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทางคมนาคมที่
สาคัญมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
7. เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเล และแหล่งน้าที่ใสสะอาดเป็นสถานที่
ท่องเที่ยวของมนุษย์
2.3 ประโยชน์ของน้า
น้าเป็นแหล่งกาเนิดชีวิตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวิตอยู่โดยขาดน้าได้ไม่เกิน 3 วัน และน้า
ยังมีความจาเป็นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนา
ประเทศ ประโยชน์ของน้า ได้แก่
1. น้าเป็นสิ่งจาเป็นที่เราใช้สาหรับการดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระร่างกาย ฯลฯ
2. น้ามีความจาเป็นสาหรับการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์แหล่งน้าเป็นที่อยู่อาศัยของปลาและสัตว์
น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร
3. ในการอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าในขบวนการผลิตใช้ล้างของเสียใช้หล่อเครื่องจักรและ
ระบายความร้อน ฯลฯ
4. การทานาเกลือโดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล
5. น้าเป็นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้าใช้ทาระหัด ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าได้
6. แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งที่สาคัญ
7. ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเลและน้าที่ใสสะอาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวของมนุษย์
2.4 ปัญหาทรัพยากรน้า
ปัญหาทรัพยากรน้าที่สาคัญมีดังนี้
1. เพิ่มปริมาณความต้องการใช้น้า ในปัจจุบันนอกจากการใช้น้าเพื่อการบริโภคซึ่งเพิ่มขึ้น
แล้วประมาณ 30% ถึง 40% ในการผลิตอาหารของโลกจาเป็นต้องใช้น้าจากการชลประทานภายใน
ระยะเวลาประมาณ 15-20 ปี ข้างหน้านี้ บริเวณพื้นที่ชลประทานจะต้องเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ของ
ปริมาณ พื้นที่ในปัจจุบัน เพื่อที่จะผลิตอาหารให้ได้เพียงพอแก่จานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
6
2. การกระจานน้าไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพื้นที่ไม่เท่าเทียมกัน ในบางพื้นที่ของโลกเกิดฝน ตก
หนักบ้านเรือนไร่นาเสียหาย แต่ในบางพื้นที่ก็แห้งแล้งขาดแคลนน้าเพื่อการบริโภค และเพื่อการ
เพาะปลูก
3. การเพิ่มมลพิษในน้า เนื่องจากน้าเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
รวมทั้งมนุษย์เมื่อจานวนประชากรมนุษย์เพิ่มมากขึ้น มนุษย์เป็นตัวการสาคัญที่เพิ่มมลพิษให้กับ
แหล่งน้าต่าง ๆ โดยการปล่อยน้าเสีย คราบน้ามัน จากบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม การทิ้งขยะมูล
ฝอยลงไปในแหล่ง เป็นต้น
2.5 การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า
น้ามีความสาคัญและมีประโยชน์มากมายมหาศาล จึงควรช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรน้าดังนี้
1. การใช้น้าอย่างประหยัด นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้าลงได้แล้ว ยังทาให้
ปริมาณน้าเสียที่จะทิ้งลงแหล่งน้าลดลง และป้องกันการขาดแคลนน้าได้ด้วย
2. การสงวนน้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะที่มีน้ามากเหลือใช้ ควรมีการเก็บน้าไว้ใช้
เช่น การทาบ่อเก็บน้า การสร้างโอ่งน้า การขุดลอกแหล่งน้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้าไว้ใช้เพื่อ
การเกษตร และพลังงานแล้วยังช่วยป้องกันการเกิดอุทกภัย ป้องกันการไหลชะล้างหน้าดินที่อุดม
สมบูรณ์และใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ
3. การพัฒนาแหล่งน้า ในบางพื้นที่ขาดแคลนน้า จาเป็นที่จะต้องหาแหล่งน้าเพิ่มเติม เพื่อให้
มีน้าไว้ใช้ทั้งในครัวเรือนและในการเกษตรได้อย่างเพียงพอ ปัจจุบันการนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้กาลัง
แพร่หลายมาก แต่อาจมีปัญหาเรื่องแผ่นดินทรุด เช่นในบริเวณกรุงเทพ ฯ ทาให้เกิดดินทรุดได้ จึง
ควรมีมาตรการกาหนดว่าเขตใดควรใช้น้าใต้ดินได้มากน้อยเพียงใด
4. การป้องกันน้าเสีย การไม่ทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูล และสารพิษลงในแหล่งน้า น้าเสียที่เกิดจาก
โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบาบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้า การ
วางท่อระบายน้าจากบ้านเรือน การวางฝังการก่อสร้างโดยไม่ให้น้าสกปรกไหลลงสู่แม่น้าลาคลอง
5. การนาน้าเสียกลับไปใช้ น้าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการหนึ่ง เช่น น้าทิ้งจากการล้าง
ภาชนะอาหาร สามารถนาไปรดต้นไม้โรงงานบางแห่งอาจนาน้าทิ้งมาทาให้สะอาดแล้วนากลับมา
ใช้ใหม่
7
บทที่ 3
ปัญหาน้าเน่าเสีย
3.1 น้าเสีย
น้าเสีย คือน้าที่ได้รับผลกระทบในด้านคุณภาพจากอิทธิพลของมนุษย์ระบบบาบัดน้าเสียของ
เมืองระบายลงในในท่อหรือคลองระบายน้าเพื่อส่งไปบาบัดที่โรงงานบาบัดน้าเสียหรือลงสู่แหล่งน้า
ธรรมชาติโดยตรง น้าเสียที่ผ่านการบาบัดมีการปล่อยลงไปในแหล่งน้าธรรมชาติต่อไปหรืออาจ
นาไปใช้ประโยชน์ทางใดทางหนึ่ง
ภาพที่ 3.1 น้าเน่าเสีย
น้าโสโครกเป็นส่วนย่อยของน้าเสียที่ถูกปนเปื้ อนกับอุจจาระหรือปัสสาวะ แต่มักจะใช้
รวมถึงน้าเสียโดยทั่วไป น้าเสียจึงหมายรวมถึงผลิตผลที่เป็นของเหลวที่เสียแล้วจากท้องถิ่นหรือใน
เขตเทศบาลหรือในเมืองอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้องถูกกาจัดผ่านทางท่อระบายน้าหรือท่อต่างหากหรือ
ถูกกาจัดในบ่อกาจัดเฉพาะ
ท่อน้าทิ้งเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพประกอบด้วยท่อ ปั๊ม ตะแกรง ประตู และอื่น ๆ
เพื่อใช้ในการระบายน้าเสียจากแหล่งกาเนิดไปยังจุดของการรักษาสุดท้ายหรือการกาจัดทิ้ง ท่อน้าทิ้ง
มีหลายประเภทในระบบบาบัดน้าเสีย ยกเว้นระบบบาบัดน้าเสียสิ่งปฏิกูลที่บาบัด ณ จุดผลิต
8
3.2 ตัวชี้วัดคุณภาพน้าทิ้ง
วัสดุที่รวมกับออกซิเจนใดๆที่มีอยู่ในน้าตามธรรมชาติหรือในน้าเสียอุตสาหกรรมจะถูก
ออกซิไดซ์โดยทั้งกระบวนการทางชีวเคมี (แบคทีเรีย) หรือทางขบวนการทางเคมี ผลก็คือปริมาณ
ออกซิเจนของน้าจะลดลง โดยทั่วไปปฏิกิริยาทางชีวเคมีสาหรับออกซิเดชันอาจจะเขียนเป็น:
วัสดุออกซิไดซ์ + แบคทีเรีย + สารอาหาร + O2 CO2 +H2O +
oxidized inorganics such as NO3
-
or SO4
-
การใช้ออกซิเจนโดยการลดสารเคมีเช่นซัลไฟด์และไนไตรต์มีปฏิกิริยาดังนี้:
S-
+ 2O2 SO4
-
NO2
-
+
1
2
O2 NO3
-
เนื่องด้วยทางน้าธรรมชาติทั้งหมดเชื้อแบคทีเรียและสารอาหาร สารประกอบที่เป็นของเสีย
เกือบทุกชนิดที่ถูกนาเข้าสู่ทางน้าดังกล่าวนั้น จะเริ่มต้นปฏิกิริยาชีวเคมี (เช่นที่แสดงด้านบน)
ปฏิกิริยาชีวเคมีจะสร้างในสิ่งที่ถูกวัดในห้องปฏิบัติว่าเป็นค่า'ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี'
(Biochemical oxygen demand, BOD) สารเคมีดังกล่าวนี้ยังมีแนวโน้มที่จะถูกทาลายลงโดยใช้สาร
ออกซิไดซ์ที่แข็งแกร่งและการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีเหล่านี้สร้างสิ่งที่เป็นวัดในห้องปฏิบัติว่าเป็นค่า'
ความต้องการออกซิเจนทางเคมี' (Chemical oxygen demand, COD) ผลการทดสอบ BOD และ COD
เป็นตัวชี้วัดของ'การพร่องออกซิเจน'ของสารปนเปื้อนของเสีย ค่าทั้งสองนี้ได้รับการยอมรับอย่าง
กว้างขวางว่าเป็นตัวชี้วัดของผลกระทบของมลพิษ BOD ใช้วัดความต้องการออกซิเจนของสาร
มลพิษที่ย่อยสลายได้ทางชีวเคมี ในขณะที่ COD ใช้วัดความต้องการออกซิเจนของสารทาให้เกิดของ
เสียที่ออกซิไดซ์ได้สิ่งที่เรียกว่า BOD 5 วัน หมายถึงปริมาณของออกซิเจนที่บริโภคโดยการ
ออกซิเดชันทางชีวเคมีของสารปนเปื้อนทาให้เป็นของเสียในระยะเวลา 5 วัน ปริมาณออกซิเจน
ทั้งหมดที่ใช้เมื่อปฏิกิริยาทางชีวเคมีถูกปล่อยให้ดาเนินการจนเสร็จสิ้นจะเรียกว่าค่าบีโอดียิ่งยวด
เพราะค่าบีโอดียิ่งยวดใช้เวลามากเกินไป, BOD 5 วันจึงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็น
ตัวชี้วัดของผลกระทบมลพิษ
นอกจากนี้ยังมีการทดสอบที่แตกต่างกันของซีโอดี COD 4 ชั่วโมงน่าจะพบมากที่สุดไม่มี
ความสัมพันธ์ทั่วไประหว่าง BOD 5 วัน กับ BOD ยิ่งยวด ในทานองเดียวกันไม่มีความสัมพันธ์
ทั่วไประหว่างค่า BOD และ COD มันเป็นไปได้ที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ดังกล่าวสาหรับการ
9
ปนเปื้ อนของเสียที่เฉพาะเจาะจงในน้าเสียเฉพาะเจาะจง แต่ความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่สามารถ
นาไปใช้กับสารปนเปื้อนอื่นๆ ของน้าเสียอื่นๆ นี้เป็นเพราะองค์ประกอบของน้าเสียใด ๆ ที่แตกต่าง
กัน ตัวอย่างเช่นน้าเสียอย่างหนึ่งประกอบด้วยส่วนผสมของน้าตาลธรรมดาที่ถูกปล่อยออกมาจาก
โรงงานทาลูกกวาดที่น่าจะมีองค์ประกอบอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้อย่างรวดเร็ว ในกรณีเช่นนี้ BOD 5
วัน และ BOD ยิ่งยวดจะใกล้เคียงกันมาก เนื่องจากน่าจะมีสารอินทรีย์เหลือน้อยมากหลังจาก 5 วัน
อย่างไรก็ตามน้าทิ้งสุดท้ายจากระบบบาบัดน้าเสียที่ทางานให้บริการพื้นที่อุตสาหกรรมขนาดใหญ่
อาจจะถูกระบายทิ้งไปง่ายๆ ถ้า BOD ยิ่งยวดสูงกว่า BOD 5 วันมากๆ เพราะวัสดุที่สามารถย่อยสลาย
ได้ง่ายเท่านั้นที่อาจจะถูกทาลายในขบวนการกาจัดของเสีย แต่โมเลกุลสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายยากจะ
ถูกระบายออกไป
3.3 ลักษณะของน้าเสีย
ลักษณะของน้าเสียแบ่งออกได้3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ ด้านเคมี และด้านชีวภาพ
ลักษณะของน้าเสียทางกายภาพ
ลักษณะของน้าทางกายภาพต่อไปถ้ามีสภาพเปลี่ยนไปแล้วจะทาให้เกิดน้าเสีย
1. ลักษณะที่เป็นของแข็ง
ของแข็งทั้งหมด(Total Solid : TS) คือ ปริมาณของแข็งหรือสารทั้งหมดที่อยู่ในน้า หาได้
จากปริมาณสารที่ระเหย(evaporate) น้าออกทั้งหมด ที่อุณหภูมิ103-105 องศาเซลเซียส
ของแข็งจมตัวได้(Settleable Solids) หมายถึงของแข็งที่จมตัวสู่ก้นภาชนะ เมื่อตั้งทิ้งใน
เวลา1 ชั่วโมง มีหน่วยเป็นมิลลิลิตรต่อลิตรของ
ของแข็งละลายน้าทั้งหมด(Tatal Dissolved Solids : TDS) หมายถึงของแข็งที่สามารถผ่าน
กระดาษกรองใยแก้วมาตรฐาน แล้วยังคงเหลืออยู่ หลังจากระเหยไอน้าจนแห้ง แล้วอบที่
อุณหภูมิ103 -105 องศาเซลเซียสของ
ของแข็งแขวนลอย(Suspended Solids : SS) หมายถึง ส่วนของของที่เหลือค้างบนกระดาษ
กรองใยแก้วมาตรฐาน หลังจากกรองน้าตัวอย่างและอบที่อุณหภูมิ103-105 องศาเซลเซียส
ของแข็งระเหยง่าย(Volatile Solids : VS) หมายถึงส่วนของแข็งที่เป็นสารอินทรีย์วิเคราะห์
โดยนากระดาษกรองที่วิเคราะห์หาของแข็งที่แขวนลอยแล้ว หรือถ้วยกระเบื้องระเหยที่วิเคราะห์
10
ของแข็งละลายทั้งหมด ไปเผาที่อุณหภูมิ550 องศาเซลเซียสน้าหนักที่หายไปคือน้าหนักของของแข็ง
ที่ระเหยง่าย
2. อุณหภูมิ(Temperature)คือ ความร้อน-เย็นของน้า อุณหภูมิของน้าจะสูงกว่าอุณหภูมิใน
บรรยากาศ ยกเว้นในฤดูร้อน อุณหภูมิของน้ามีผลกระทบคือ มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิในน้า การ
เจริญเติบโตของสัตว์และพืชน้า มีผลต่อปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ซึ่งปฏิกิริยาทางเคมีจะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อมี
อุณหภูมิสูง หรืออาจกล่าวได้ว่า อุณหภูมิ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวหนึ่ง มีผลต่อการเจริญเติบโตของ
จุลินทรีย์ในน้า โดยจุลินทรีย์เจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ25-35 องศาเซลเซียสและหยุดการเติบโต
ที่50 องศาเซลเซียสมีผลต่อการละลายของออกซิเจนในน้า พบว่าออกซิเจนละลายในน้าได้7.54-
9.08 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่อุณหภูมิบรรยากาศ
3. สี(Color) : น้าเสียชุมชน ที่ปล่อยจากชุมชนจะ มีสีเท่าปนน้าตาลอ่อน เมื่อไม่มีการบาบัด
จะเปลี่ยนเป็นสีเท่าหรือสีดา น้าเสียจากอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่มีสีเทา เทาเข้ม หรือสีดา ซึ่งเกิดจาก
พวกซัลไฟต์ของโลหะ อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดสีในน้าเสีย เช่น โรงงานกระดาษ โรงงานฟอกย้อม
สีอาจเกิดจากสาหร่าย หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในน้า
4. ความขุ่น(Turbidity) หมายถึง สมบัติทางแสงของสารแขวนลอยซึ่งทาให้แสงกระจาย
และถูกดูดกลืนมากกว่าที่จะยอมให้แสงผ่านเป็นเส้นตรง ความขุ่นของน้าเกิดจากมีสารแขวนลอย
ต่าง ๆ เช่น ดิน ดินตะกอน แพลงตอน สารอินทรีย์สารอนินทรีย์และสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่มี
ขนาดเล็ก
5. กลิ่น : น้าเสียชุมชน ในระยะแรกมีกลิ่นเหม็นอับ เนื่องจาก ซัลไฟต์น้าเสียอุตสาหกรรม
เช่น อุตสาหกรรมเคมี ยา อาหาร กลิ่นเกิดจาก ฟีนอล แอมโมเนีย ไซยาไนด์ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์
เกิดขึ้นจากกระบวนการย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนทาให้เกิดกลิ่น
6. รสปกติน้าไม่มีรส
7. การนาไฟฟ้า (Electrical Conductivity) บอกถึงความสามารถของน้ าที่จะให้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ซึ่งขึ้นอยู่กับความเข้มข้น ชนิดของไอออนที่มีอยู่ในน้า และอุณหภูมิในขณะ
ทาการวัด ไม่ได้เป็นการบอกถึงไอออนตัวใดตัวหนึ่งโดยเฉพาะ สารประกอบอนินทรีย์ของกรด ด่าง
และเกลือ สามารถนาไฟฟ้าได้ดี
ลักษณะของน้าเสียทางเคมี
ลักษณะของน้าทางเคมีดังต่อไปนี้ ถ้ามีในน้าปริมาณมากหรือน้อยเกินค่ามาตรฐานที่
กาหนดจะทาให้เกิดน้าเสีย
11
1.สารอินทรีย์ (Organic Matter)คือ สารที่ประกอบไปด้วยธาตุคาร์บอน และ
ไฮโดรเจน(อาจมีออซิเจน ไนโตรเจน และธาตุอื่น ๆ)
2.บีโอดี (Biochemical Oxygen Damned : BOD) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการ
ย่อยสลายสารอินทรีย์ในเวลา5 วัน โดยแบคทีเรียที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ค่าบีโอดี ให้เป็น
ตัวกาหนดขนาดของระบบบาบัดน้าเสียได้ เป็นค่าที่บอกให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจนที่ใช้ใน
การย่อยสลายสารอินทรีย์
3.ซีโอดี(Chemical Oxygen Demand : COD) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนทั้งหมดที่ต้องการ
ใช้เพื่อออกซิเดชันสารอินทรีย์ในน้าให้เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้า ค่าซีโอดีมีความสาคัญ
ในการวิเคราะห์คุณภาพน้าทิ้ง การควบคุมระบบบาบัดน้าเสีย เช่นเดียวกับค่าบีโอดี
4. ทีโอซี(Total Organic Carbon : TOC)หมายถึง ปริมาณคาร์บอนที่มีอยู่ในน้า
5.ค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH)มีความสาคัญในการควบคุมคุณภาพน้าและน้าเสีย ควบคุมให้
เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เพื่อไม่ให้เกิดการกัดกร่อนของท่อ เพื่อให้ในการควบคุม
ให้สารเคมีที่ใช้บาบัดน้าเสียทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปน้ามีค่าpH อยู่ในช่วง5-
8 ค่าpH เป็นค่าที่แสดงปริมาณความเข้มข้นของอนุภาคไฮโดรเจนในน้า
6.คลอไรด์ เกิดจากบ้านพักอาศัย อุตสาหกรรม เช่น การผลิตเกลือ การผลิตแก้ว หรือจาก
การเกษตรกรรม เช่น การใช้ปุ๋ ย สารฆ่าแมลง
7. ความเป็นด่าง(Alkalinity) เกิดขึ้นจากในน้ามีสารไฮดรอกไซด์ คาร์บอเนต และไบ
คาร์บอเนต ของธาตุแคลเซียม แมกนีเซียม โซเดียม โพแทสเซียม หรือแอมโมเนีย
8. ความกระด้าง(Hardness)หมายถึง น้าที่ต้องการสบู่ค่อนข้างมาก จึงจะทาให้เกิดฟอง
หรือน้าที่ทาให้เกิดตะกรัน น้ากระด้างมี2 ชนิด คือ
1.)น้ากระด้างชั่วคราว หรือน้ากระด้างคาร์บอเนต(Carbonate Hardness) เกิดจาก
สารไบคาร์บอเนต(CO3
2-
) รวมตัวกับ Ca2+ หรือ Mg+ สามารถทาให้หายได้โดยการต้ม
2.)น้ากระด้างถาวร หรือ ความกระด้างที่ไม่ได้เกิดจากคาร์บอเนต เช่น เกิด
จาก SO4
2-
Cl-
ของCa2+
หรือMg+
เช่น MgSO4 CaCl2
9. ไนโตรเจน เป็นธาตุที่มีความสาคัญในการสังเคราะห์โปรตีน ธาตุไนโตรเจนในน้าอยู่ใน
รูป สารอินทรีย์ไนโตรเจน แอมโมเนีย-ไนโตรเจน ไนไตรท ไนเตรต ก๊าซไนโตรเจน ถ้ามี
ไนโตรเจนในแหล่งน้ามาก ทาให้พืชน้ามีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
10. ฟอสฟอรัส ในน้าสารฟอสฟอรัสอยู่ในรูปของออร์โธฟอสเฟต(Orthophosphate) เช่น
สารPO4
3-
, H2PO4
-
และH3PO4 นอกจากนี้ยังมีสารพวกโพลีฟอสเฟต
12
11. สารโลหะหนักชนิ ดต่างๆ ขึ้ น อยู่กับชนิ ดของอุตสาหกรรม เช่น สาร
ตะกั่ว(Pb) ทองแดง(Cu) โครเมียม(Cr) แคดเมียม(Cd) สารหนู(As) เป็นต้น สารโลหะหนักยอมให้
มีได้ในน้าในปริมาณน้อยมาก แต่บางชนิดหากมีปริมาณไม่มากนักจะมีผลดีต่อสิ่งมีชีวิตในน้า เช่น
สารทองแดง สังกะสี เป็นต้น
12. ก๊าซต่างๆที่ละลายในน้า
- ก๊าซออกซิเจน(O2) ปริมาณออกซิเจนละลายน้า(Dissolved Oxygen: DO) เป็นตัวบ่งชี้
คุณภาพน้า โดยทั่วไปไม่ควรมีค่าต่ากว่า4 มก.ต่อลิตร ค่าDO เป็นตัวชี้ถึงปฏิกิริยาทางชีววิทยาในน้า
การละลายของออกซิเจนขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ ความดัน สิ่งเจือปนในน้า เช่น เกลือชนิดต่าง ๆ
- ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์(H2S) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี มีกลิ่นคล้ายไข่เน่า มีความเป็นพิษ ไม่ติด
ไฟ เกิดขึ้นในการย่อยสลายในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน หากรวมตัวกับเหล็กจะเกิดเป็นสีดาของซัล
ไฟต์(FeS)
- ก๊าซมีเธน (CH4) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ติดไฟได้ง่าย เกิดขึ้นในการย่อยสลายใน
สภาวะที่ไม่มีออกซิเจน
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่ติดไฟ เมื่อละลายน้าทาให้น้ามีความ
เป็นกรดเล็กน้อย
ลักษณะของน้าเสียทางชีวภาพ
ลักษณะของทางชีวภาพ ดังต่อไปนี้สามารถชี้วัดถึงคุณภาพน้าได้ว่าเป็นน้าเสียหรือไม่
1. แบคทีเรีย(Bacteria)คือ จุลินทรีย์เซลล์เดียว มีขนาดเล็ก ไม่สามารถมองเห็นด้วยตา
เปล่า แบคทีเรียแบ่งตามแหล่งคาร์บอนที่ได้มาเพื่อการเจริญเติบโตได้2 ชนิดคือ
1.) ออโทโทรฟิกแบคทีเรีย(Autotrophic Bacteria หรือAutotroph) เป็นแบคที่เรีย
ที่สร้างอาหารได้เอง โดยได้คาร์บอนจากคาร์บอนไดออกไซด์ และได้พลังงานจากแสงอาทิตย์หรือ
การออกซิเดชันของสารอินทรีย์
2.) เฮเทอโรโทรฟิ กแบคทีเรีย (Heterotrophic Bacteria หรือ Heterotroph) เป็ น
แบคทีเรียที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง โดยได้คาร์บอนจากสารอินทรีย์ และได้พลังงานจาก
แสงอาทิตย์หรือการออกซิเดชันของสารอินทรีย์แบคทีเรีย เป็นผู้ย่อยสลายในแหล่งน้า แบ่งตามช่วง
อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตได้ดังนี้ 3 ชนิด คือ
13
(1.) ไซโครไฟล์ (Psychriphile) อุณหภูมิที่เหมาะสม คือ 12-18 องศา
เซลเซียส
(2.) เมโซไฟล์ (Mesophile) อุณหภูมิที่เหมาะสม คือ 25-40 องศา
เซลเซียสและ
(3.)เทอร์โมไฟล์ (Thermophile) อุณหภูมิที่เหมาะสม คือ 55-65องศา
เซลเซียส
นอกจากนี้แบคทีเรียเมื่อแบ่งตามความต้องการออกซิเจน แบ่งได้3 ชนิดคือ
(1.) แอโรบิกแบคทีเรีย (Aerobic Bacteria) คือ แบคทีเรียที่ใช้ออกซิเจน
อิสระเป็นองค์ประกอบในการเจริญเติบโต
(2.)แอนแอโรบิกแบคทีเรีย(Anaerobic Bacteria) คือ แบคทีเรียที่ไม่ใช้
ออกซิเจนอิสระเป็นองค์ประกอบในการเจริญเติบโต
(3.) แฟคัลเททีฟแบคทีเรีย(Facultative Bacteria) คือ แบคทีเรียที่สามารถ
เจริญได้ทั้งในสภาพที่มี และไม่มีออกซิเจนอิสระ
2.รา(Fungi)เป็นจุลินทรีย์ที่มีหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์ ราอาศัยอยู่ได้โดยไม่สามารถ
สังเคราะห์แสงเองได้รับอาหารจากสิ่งที่ตายแล้ว รามีความสาคัญในการย่อยสลายพวกคาร์บอนที่มี
ค่าpH ต่า(ที่เหมาะสมคือ5.6) สารมารถย่อนสลายสารที่มีโครงสร้างซับซ้อนได้ดีกว่าแบคทีเรีย รามี
บทบาทสาคัญในการย่อยสลายเซลลูโลส หรือสารคาร์โบไฮเดรตได้ดี รามีบทบาทสาคัญในการย่อย
สลายสารอินทรีย์ในระบบบาบัดน้าเสียบางระบบ เช่น ระบบโปรยกรอง
3. สาหร่าย(Algae) เป็นจุลินทรีย์ที่มีทั้งเซลเดียวและหลายเซล มีบทบาทสาคัญในการเป็น
ผู้ผลิต มีคลอโรฟิลล์สามารถสังเคราะห์แสงเองได้เช่น สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน และมีความสาคัญ
ในการบาบัดน้าเสียด้วยระบบstabilization pond ซึ่งต้องมีออกซิเจนในบ่อน้า
4.โปรโตซัว(Protozoa)เป็นจุลินทรีย์เซลล์เดียว ไม่มีผนังเซล มีขนาดใหญ่กว่าแบคทีเรีย
อาศัยเจริญเติบโตได้ที่ไม่มีออกซิเจน หรือสภาวะทั้งที่มีและไม่มีออกซิเจน (facultatively
anaerobic) เป็นผู้บริโภค โดยการกินแบคทีเรีย สารอินทรีย์และจุลินทรีย์อื่น ๆ
5.โรติเฟอร์ เป็นสัตว์หลายเซลล์ อาศัยอยู่ในสภาวะที่มีออกซิเจนอิสระ ใช้สารอินทรีย์เป็น
แหล่งคาร์บอน มีประสิทธิภาพสูงในการกินแบคทีเรีย ถ้าพบโรติเฟอร์ในระบบบาบัดน้าเสียที่ใช้
ออกซิเจน แสดงว่าระบบบาบัดน้าเสียนั้นมีประสิทธิภาพดี
14
6. ไวรัส(Virus)เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก เป็นกลุ่มของจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค ซึ่งมัก
เป็นโรคที่เกิดในระบบทางเดินอาหาร ไวรัส สามารถทาลายเซลล์ของแบคทีเรียได้
15
บทที่ 4
สาเหตุ ผลกระทบ วิธีการแก้ไข และป้องกันปัญหาน้าเน่าเสีย
4.1 สาเหตุของมลพิษทางน้า
1. ธรรมชาติ แหล่งน้าต่างๆ อาจเกิดจากการเน่าเสียได้เองเมื่ออยู่ในภาวะที่ขาดออกซิเจน
ส่วนใหญ่มีสาเหตุเกิดจากการเพิ่มจานวนอย่างรวดเร็วของแพลงค์ตอน แล้วตายลงพร้อม ๆ กันเมื่อ
จุลินทรีย์ทาการย่อยสลายซากแพลงค์ตอนทาให์ออกซิเจนในน้าถูกนาไปใช้มาก จนเกิดการขาด
แคลนได้ นอกจากนี้การเน่าเสียอาจเกิดได้อีกประการหนึ่งคือ เมื่อน้าอยู่ในสภาพนิ่งไม่มีการ
หมุนเวียนถ่ายเท
2. น้าทิ้ง และสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน ได้แก่ อาคาร บ้านเรือน สานักงาน อาคารพาณิชย์
โรงแรม เป็นต้น สิ่งปะปนมากับน้าทิ้งประกอบด้วยสารอินทรีย์ซึ่งจะถูกย่อยสลายโดยผู้ย่อยสลาย
สาร อินทรีย์ที่สาคัญคือ แบคทีเรีย ซึ่งมีทั้งแบคทีเรียแอโรบิก (aerobic bacteria) เป็นแบคที่เรียที่ต้อง
ใช้ออกซิเจนอิสระในการย่อยสลายสารอินทรีย์กับแบคทีเรียแอนาโรบิก (anaerobic bacteria) เป็น
แบคทีเรียที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ได้โดยไม่ต้องอาศัยออกซิเจนอิสระ อีกชนิดหนึ่งคือ แบคทีเรียแฟ
คัลเตตีฟ (facultativebacteria)เป็นแบคทีเรียพวกที่สามารถดารง ชีวิตอยู่ได้ทั้งอาศัยและไม่ต้องอาศัย
ออกซิเจนอิสระ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณออกซิเจนในสภาวะ แวดล้อมนั้น บทบาทในการย่อยสลาย
สารเหล่านี้ของแบคทีเรียแอโรบิกต้องใชออกซิเจน ในปริมาณมาก ทาให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลาย
น้า (ดีโอ DO = dissolved oxygen) ลดลงต่ามาก ตามปกติน้าในธรรมชาติจะมีออกซิเจนละลายปน
อยู่ประมาณ 8 มิลลิกรัมต่อลิตร หรือ 8 ส่วนในล้านส่วน (ppm) โดยทั่วไปค่า DO ต่ากว่า 3 มิลลิกรัม/
ลิตรจัดเป็นน้าเสีย การหาปริมาณของออกซิเจนที่จุลินทรีย.ต.องการใช.ในการย.อยสลายอินทรียสาร
ใน น้า (biochemical oxygen demand) เรียกย่อว่า BOD เป็นการบอกคุณภาพน้าได้ ถ้าค่า BOD สูง
แสดงว่าในน้านั้นมีอินทรียสารอยู่มาก การย่อยสลายอินทรียสารของจุลินทรีย์ต้องใช้ออกซิเจน ทา
ให้ออกซิเจนในน้าเหลืออยู่น้อย โดยทั่วไปถ้าในแหล่งน้าใดมีค่า BODสูงกว่า 100มิลลิกรัม/ลิตร จัด
ว่าน้านั้นเป็นน้าเสียถ้าในแหล่งน้านั้นมีค่า BODสูงหรือมีอินทรียสาร มาก ปริมาณออกซิเจนในน้าจะ
ลดน้อยลงแบคทีเรียแอโรบิกจะลดน้อยลงด้วย อินทรียสาร จะถูกสลายด้วยแบคทีเรียแอนาโรบิก
และแบคทีเรียแฟคัลเตตีฟต่อไป ซึ่งจะทาให้ก๊าซต่าง ๆ เช่น มีเทน ไฮโดรเจนซัลไฟด์ แอมโมเนีย
16
ก๊าซเหล่านี้เองที่ทาให้เกิดกลิ่นเหม็นและสีของน้า เปลี่ยนไปนอกจากสารอินทรีย์แล้ว ตามแหล่ง
ชุมชนยังมีผงซักฟอกซึ่งเป็นตัวลดความตึงผิว ของน้า ซึ่งหมุนเวียนไปสู่คนได้ทางโซ่อาหาร
ภาพที่ 4.1 น้าเสียจากบ้านเรือน
3. การเกษตร เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้น้าเสีย เช่น การเลี้ยงสัตว์เศษอาหารและน้าทิ้งจากการ
ชาระคอกสัตว์ทิ้งลงสู่แม่น้า ลาคลอง ซึ่งก่อให้เกิดโรคระบาด การใช้ปุ๋ ยไนเตรตของเกษตรกร เมื่อ
ปุ๋ ยลงสู่แหล่งน้าจะทาให้น้ามีปริมาณเกลือไนเตรตสูงถ้าดื่มเข้าไปจะทาให้เป็นโรคพิษไนเตรต ไน
เตรตจะเปลี่ยนเป็ นไนไตรต์แล้วรวมตัวกับฮีโมโกลบินอาจทาให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
นอกจากนี้เกษตรกรนิยมใช้สารกาจัดศัตรูพืชมากขึ้น สารที่ตกค้างตามต้นพืช และตามผิวดิน จะถูก
ชะล้างไปกับน้าฝนและไหลลงสู่แหล่งน้า สารที่สลายตัวช้าจะสะสมในแหล่งน้า นั้นมากขึ้นจนเป็น
อันตรายได้
4. โรงงานอุตสาหกรรม ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานปลาป่น โรงงาน
ผลิตภัณฑ์นม โรงโม่แป้ง โรงงานทาอาหารกระป๋ อง ส่วนใหญ่มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน
คาร์โบไฮเดรตปนอยู่มากสารอินทรีย์ที่ถูกปล่อยออกมากับน้าทิ้งนี้ก็จะถูกย่อยสลายทาให้เกิดผล
เช่นเดียวกับน้าทิ้งที่ถูกปล่อยจากชุมชน นอกจากนี้อาจมีสารพิษชนิดอื่นปะปนอยู่ด้วย ขึ้นอยู่กับ
ประเภทของโรงงาน เช่นปรอทจากโรงงานผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ซึ่งเป็นสารพิษต่อสัตว์น้า และ
ผู้นาสัตว์น้าไปบริโภคนอกจากนี้น้าทิ้งจากโรงงานบางประเภท ทาให้สภาพกรดเบส ของแหล่งน้า
นั้นเปลี่ยนไป เช่นน้าทิ้งจากโรงงานกระดาษมีค่า pH สูงมาก น้าทิ้งจากโรงงาน บางประเภท เช่นจาก
17
โรงไฟฟ้าอาจทาให้อุณหภูมิของน้าเปลี่ยนแปลงไป สภาพเช่นนี้ไม่ เหมาะกับการดารงชีพของ
สิ่งมีชีวิตในน้า
ภาพที่ 4.2 น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
5. การคมนาคมทางน้า ในการเดินเรือตามแหล่งน้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร มีการทิ้งของ
เสียที่ประกอบด้วยสารอินทรีย์และน้ามันเชื้อเพลิงถ้ามีโอกาสรั่วไหลลงน้าได้และมีจานวนมาก ก็จะ
ทาให้สัตว์น้าขาดออกซิเจน และเป็นผลเสียต่อระบบนิเวศ
4.2 ผลกระทบของมลพิษทางน้า
1. การประมง น้าเสียทาให้สัตว์น้าลดปริมาณลง น้าเสียที่เกิดจากสารพิษอาจทาให้ปลาตาย
ทัน ที ส่วนน้าเสียที่เกิดจากการลดต่าของออกซิเจนละลายในน้าถึงแม้จะไม่ทาให้ปลาตายทันที แต่
อาจทาลายพืชและสัตว์น้าเล็ก ๆ ที่เป็นอาหารของปลาและตัวอ่อน ทาให้ปลาขาดอาหาร ก่อให้เกิด
ผลเสียหายต่อการประมงและเศรษฐกิจ ปริมาณออกซิเจนละลายในน้าถ้าหารลด จานวนลงมาก ๆ
ในทันทีก็อาจทาให้ปลาตายได้นอกจากนี้น้าเสียยังทาลายแหล่งเพาะวางไข่ ของปลาเนื่องจากการ
ตกตะกอนของสารแขวนลอยในน้าเสียปกคลุมพื้นที่วางไข่ของปลา ซึ่งเป็นการหยุดยั้งการแพร่พันธุ์
ทาให้ปลาสูญพันธุ์ได้
18
ภาพที่ 4.3 ปลาตายเนื่องจากน้าเน่าเสีย
2. การสาธารณสุข น้าเสียเป็ นแหล่งแพร่เชื้อโรค ทาให้เกิดโรคระบาด เช่น โรค
อหิวาตกโรค ไทฟอยด์ บิด เป็นแหล่งเพาะเชื้อยุงซึ่งเป็นพาหะของโรคบางชนิด เช่น มาเลเรีย
ไข้เลือดออก และสารมลพิษที่ปะปนในแหล่งน้า ถ้าเราบริโภคทาให้เกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรค มินามา
ตะ เกิดจากการรับประทานปลาที่มีสารปรอทสูง โรคอิไต-อิไต เกิดจากการได้รับสาร แคดเมียม
3. การผลิตน้าเพื่อบริโภคและอุปโภค น้าเสียกระทบกระเทือนต่อการผลิตน้าดื่ม น้าใช้อย่าง
ยิ่ง แหล่งน้าสาหรับผลิตประปาได้จากแม่น้า ลาคลอง เมื่อแหล่งน้าเน่าเสียเป็นผลให้ คุณภาพน้า
ลดลง ค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตเพื่อให้น้ามีคุณภาพเข้าเกณฑ์มาตรฐานน้าดื่มจะเพิ่มขึ้น
4. การเกษตร น้าเสียมีผลต่อการเพาะปลูก และสัตว์น้า น้าเสียที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
การเกษตร ส่วนใหญ่เป็นน้าเสียที่มีความเป็นกรดเป็นด่างสูง น้าที่มีปริมาณเกลืออนินทรีย์หรือ
สารพิษสูง ฯลฯ ซึ่งเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยน้าเสียและเกิดจากผลของการทา เกษตรกรรม
นั่นเอง เช่น การชลประทาน สร้างเขื่อนกักเก็บน้าไว้ใช้เพื่อการเกษตร ทั้งนี้เนื่องจากคุณสมบัติน้าใน
ธรรมชาติประกอบด้วยเกลืออนินทรีย์เจือปนอยู่โดยเฉพาะ เกลือคลอไรด์ ขณะที่ใช้น้าเพื่อ
การเกษตร น้าจะระเหยเป็นไอโดยธรรมชาติ ปริมาณเกลือ อนินทรีย์ซึ่งได้ระเหยจะตกค้างในดิน
19
เมื่อมีการสะสมมากเข้า ปริมาณเกลือในดินสูงขึ้น ทาให้ดินเค็มไม่เหมาะแก่การเพาะปลูก ปริมาณ
เกลืออนินทรีย์ที่ตกค้างอาจถูกชะล้าง ภายหลังฝนตก หรือโดยระบายน้าจากการชลประทาน เกลือ
อนินทรีย์จะถูกถ่ายทอดลงสู่ แม่น้าในที่สุด
5. ความสวยงามและการพักผ่อนหย่อนใจ แม่น้า ลาธาร แหล่งน้าอื่น ๆ ที่สะอาดเป็นความ
สวยงามตามธรรมชาติ ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ เช่น ใช้เล่นเรือ ตกปลา ว่ายน้า เป็นต้น
4.3 แนวทางป้องกันและแก้ไขมลพิษทางน้า
1. การศึกษาและตรวจสอบเส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า ได้แก่ การเก็บข้อมูล
พื้นฐานของตัวประกอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการแพร่กระจายของสารมลภาวะในปัจจุบันว่า
อยู่ขั้นใด เช่น ข้อมูลสภาวะทางฟิสิกส์ ข้อมูลสภาวะทางเคมี ข้อมูลสภาวะทางชีวภาพ การเก็บ
ข้อมูลมักใช้เวลาหลายปีเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ละเอียด เส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเป็นข้อมูลเบื้องต้น
ที่ถูกใช้ประกอบการพิจารณาวางมาตรฐานคุณภาพน้า
2. การวางมาตรฐาน วิธีวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม และเปรียบเทียบผลวิเคราะห์เพื่อ
ความถูกต้อง เพื่อใช้สนับสนุนการศึกษาและการตรวจเส้นฐาน ข้อมูลของคุณภาพส่งแวดล้อมที่จะ
ถูกใช้ในการวางเส้นฐานต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง
3. การแลกเปลี่ยนข้อมูล การศึกษาเส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้านั้น จาเป็น
อย่างยิ่งต้องมีการเปรียบเทียบแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างประเทศ หรือระหว่างภูมิภาค ประเทศ
กาลังพัฒนามีการตื่นตัวเรื่องนี้มากแต่ขาดนักวิจัย จึงควรมีการตั้งศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลในเรื่อง
สิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า เช่น Aquatic science and Fisheries Information system (ASFIS) เป็ น
หน่วยงานขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)และ International
Oceanographic Data Exchange (IODE) เป็ น หน่ วยงาน ของ Intergovernmental Oceanographic
Commission (IOC) ทั้งสองหน่วยงาน มีหน้าที่รายงานข้อมูลจาการสารวจและวิจัยที่รวบรวมได้จาก
สมาชิกองค์กรสหประชาชาติ ข้อมูลบางส่วนมีข้อมูลเกี่ยวข้องกับเรื่องมลพิษทางน้า
4. การประเมินผลกระทบ โดยวิธีทดสอบทางชีวภาพ ธาตุหรือสารประกอบ รวมทั้งตัว
ประกอบอื่นๆของสิ่งแวดล้อม
5. การประเมินผลกระทบทางนิเวศวิทยาในแต่ละพื้นที่ที่มีปัญหา ใช้ประกอบการ
พิจารณาการวางมาตรฐานคุณภาพน้า ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นจริงในแต่ละพื้นที่ที่มีปัญหา
20
6. การวางมาตรฐานคุณภาพน้า การพิจารณาวางมาตรฐานคุณภาพน้าจะต้องอาศัยข้อมูล
ที่ได้จากการศึกษาและวิจัยตามข้อ 5 การพิจารณาข้อมูลในข้อ 2, 4, 5 มาตรฐานคุณภาพน้าที่ได้
ตั้งขึ้นมามีประโยชน์ 2 ประการ ประการแรกใช้เป็นข้อมูลเปรียบเทียบกับข้อมูลต่างๆที่เก็บได้ใน
อนาคต เพื่อว่าคุณภาพน้าในขณะนั้นเลวลงหรือไม่ ประการที่สองใช้เป็นหลักในการพิจารณา
วางมาตรฐานการควบคุมการปล่อยของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมและแหล่งชุมชน
7. การศึกษาแหล่งต้นกาเนิดของมลสาร วิถีทาง และปริมาณ เช่น การจาแนกน้าทิ้งและ
โสโครกออกเป็นประเภทต่างๆ ตามผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม แล้วทาการเก็บข้อมูลปริมาณ
น้าทิ้งและน้าโสโครกเหล่านี้ที่ถูกปล่อยออกมาในแหล่งน้าแห่งใดแห่งหนึ่งในแต่ละวัน เป็นต้น
ข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์ในการพิจารณาการวางมาตรฐานการควบคุมการปล่อยน้าทิ้งจากโรงงาน
อุตสาหกรรมและบ้านเมือง
8. การวางมาตรการควบคุมและแก้ไขปัญหามลภาวะ การกาหนดปริมาณ มาตรฐานใน
การปล่อยน้าโสโครก การควบคุม โดยมีกฎหมายเป็นตัวสนับสนุนละมีบทลงโทษ
9. การประเมินผล ทาให้ทราบถึงการจัดการนั้นมีผลมากน้อยเพียงใด โดยใช้ข้อมูลเส้น
ฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้าในข้อ1 ซึ่งตรวจทุกปีประกอบการพิจารณา
4.4 การบาบัดน้าเสีย
การบาบัดน้าเสีย หมายถึง การกาจัดหรือทาลายสิ่งปนเปื้อนในน้าเสียให้หมดไป หรือเหลือ
น้อยที่สุดให้ได้มาตรฐานที่กาหนดและไม่ทาให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม น้าเสียจากแหล่งต่างกันจะ
มีคุณสมบัติไม่เหมือนกันดังนั้นกระบวนการบาบัดน้าจึงมีหลายวิธี โดยระบบบาบัดน้าเสียทั่วไปมี 3
วิธีคือ
1. กระบวนการทางเคมี (chemical process)
เป็นวิธีการบาบัดน้าเสียโดยการแยกสารต่างๆ หรือสิ่งปนเปื้อนในน้าเสียที่บาบัด เช่น โลหะ
หนัก สารพิษ สภาพความเป็นกรด ด่างสูงๆ ที่ปนเปื้อนอยู่ด้วยการเติมสารเคมีต่าง ๆ ลงไปเพื่อให้เข้า
ไปทาปฏิกิริยาซึ่งจะมีประโยชน์ในการแยกสาร แต่วิธีนี้มีข้อเสียคือ เมื่อเติมสารเคมีลงในน้าเสียแล้ว
ทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและวิธีนี้จะมีค่าใช้จ่ายสาหรับสารเคมีค่อนข้างสูง ดังนั้น
กระบวนการทางเคมีจะเลือกใช้ก็ต่อเมื่อน้าเสียไม่สามารถบาบัดได้ด้วยกระบวนการทางกายภาพ
หรือชีวภาพ
21
การทาให้เกิดตะกอน (precipitation) อาศัยหลักการเติมสารเคมีลงไปทาปฏิกิริยาทาให้เกิด
กลุ่มตะกอนตกลงมา โดยทั่วไปสารแขวนจะมีประจุลบ ดังนั้นสารเคมีที่เติมลงไปจึงเป็นประจุบวก
เพื่อทาให้เป็นกลาง การแยกด้วยวิธีนี้มีค่าใช้จ่ายสูงแต่ก็มีประสิทธิภาพสูงเช่นกัน ดังนั้นวิธีนี้จะ
เลือกใช้ต่อเมื่อไม่สามารถ แยกได้โดยกระบวนการทางชีวภาพหรือกายภาพ
โดยส่วนมากสารเคมีที่ทาให้เกิดตะกอนจะละลายน้า เช่น เกลือของสารประกอบต่างๆ เช่น
เกลืออะลูมิเนียมซัลเฟต หรือสารส้ม (Al2(SO4)) เกลือเหล็ก (FeCl3,FeSO4) และเกลือของแคลเซียม
(Ca(OH)2) ส่วนเกลือที่นามาช่วยในการเกิดตะกอนได้ดียิ่งขึ้นนี้เป็ นสารประกอบของ กลุ่ม
Activated ของ Silica และ Polyelectrolytes โดยกระบวนการทางเคมีมีหลายวิธี
การเกิดออกซิเดชันทางเคมี (chemical oxidation) อาศัยหลักการเสียอิเล็กตรอนของอะตอม
ให้แก่สารเคมีที่เติมลงไปในน้าเสียโดยสารเคมีนี้จะทาหน้าที่เป็นตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent)
ส่วนมากวิธีนี้จะนิยมใช้เปลี่ยนโมเลกุลของโลหะที่เป็นพิษ เช่น การเปลี่ยน Fe2+
ซึ่งมีพิษมากไปเป็น
สาร Fe3+
ซึ่งมีพิษน้อย ด้วยคลอรีน ดังแสดงในสมการต่อไปนี้
2Fe2+
+ Cl2 2Fe3+
+ 2Cl-
การเกิดรีดักชันทางเคมี (chemical reduction) เป็นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน วิธีการนี้
เป็นการเปลี่ยนสภาพของสารพิษไปเป็นสารที่มีอันตรายน้อยลง อะตอมหรือไอออน ของสารพิษจะ
รับอิเล็กตรอนจากสารเคมีที่เติมลงไปซึ่งมีสมบัติเป็ นตัวรีดิวซ์ (reducing agent) เช่น การ
เปลี่ยน Cr6+
ซึ่งมีพิษมากไปเป็น Cr3+
ด้วย เฟอรัสซัลเฟต (FeSO4) ในสภาพที่เป็นกรด ดังแสดงใน
สมการต่อไปนี้
6FeSO4 + 2CrO3 + 6H2SO4 3Fe2(SO4)3
+ Cr2(SO4)3
+ 6H2O
การสะเทิน (neutralization) เป็นการเปลี่ยนค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของน้าเสียให้มีฤทธิ์
เป็นกลาง (pH = 7) ถ้าต้องการปรับค่าน้าเสียที่มีฤทธิ์เป็นกรด (pH < 7) ในน้าเสียให้สูงขึ้นต้องเติม
สารที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น แคลเซียมคาร์บอเนตหรือโซเดียมไฮดรอกไซด์ ส่วนกรณีถ้าต้องการปรับ
น้าเสียมีฤทธิ์เป็นด่าง (pH > 7) ให้มีค่า pH ต่าลงจะต้องเติมกรด เช่น กรดซัลฟิวริก กรดไนตริก กรด
เกลือและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นต้น
2. กระบวนการทางชีววิทยา (Biological Process)
กระบวนการทางชีววิทยา (biological process) เป็นการอาศัยหลักการใช้จุลินทรีย์ต่าง ๆ มา
ทาการย่อยสลายเปลี่ยนอินทรีย์สารไปเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนีย เป็นการบาบัด
22
น้าเสียที่ดีที่สุดในแง่ของการลดปริมาณสารอินทรีย์ในแหล่งน้า แต่หลักการนี้เลือกสภาวะแวดล้อม
ให้เหมาะกับการทางานของจุลินทรีย์โดยสัมพันธ์กับปริมาณของจุลินทรีย์และเวลาที่ใช้ในการย่อย
สลาย แบคทีเรียที่เลือกใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์แยกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ แบคทีเรียที่
ต้องใช้ออกซิเจน (aerobic bacteria) ส่วนกลุ่มที่ 2 เป็นพวกไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic bacteria)
3. กระบวนการทางกายภาพ (physical process)
กระบวนการทางกายภาพ (physical process) เป็นการบาบัดน้าเสียอย่างง่ายซึ่งจะแยก
ของแข็งที่ไม่ละลายน้าออก วิธีนี้จะแยกตะกอนได้ประมาณ 50-65% ส่วนเรื่องการแยกความสกปรก
ในรูปของสารอินทรีย์(BOD5) ประมาณ 20-30% เท่านั้น วิธีการต่าง ๆ ในกระบวนการนี้มีหลายวิธี
เช่น การดักด้วยตะแกรง (screening) เป็ นการแยกเศษขยะต่าง ๆ ที่มากับน้าเสีย เช่น เศษไม้
ถุงพลาสติก กระดาษ ตะแกรงมีหลายขนาด การดักด้วยตะแกรงจึงเป็นการแยกขั้นตอนแรกในการ
บาบัดน้าเสีย การตัดย่อย (combination) คือ การใช้เครื่องตัดทาลายเศษขยะขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็ก
ลง การกวาด (skimming) เป็นการกาจัดนามันและไขมันโดยทาการดักหรือกวาดออกจากน้าเสีย การ
ทาให้ลอย (floating) จะใช้กับตะกอนที่มีความถ่วงจาเพาะน้อยกว่าน้ า การตกตะกอน
(sedimentation) เป็นการแยกตะกอนออกจากน้าเสียโดยอาศัยหลักการเรื่องแรงโน้มถ่วง ซึ่งจะใช้กับ
ตะกอนที่มีความถ่วงจาเพาะมากกว่าน้า
4. กระบวนการทางกายภาพ-เคมี (physical-chemical process)
เป็นกระบวนการที่ต้องมีอุปกรณ์ช่วยมากกว่ากระบวนการที่กล่าวมา ซึ่งกระบวนการนี้จะ
ใช้ในขั้นตอนสุดท้ายในการบาบัดน้าเสีย ที่ผ่านกระบวนในขั้นตอนอื่นแล้ว เช่น กระบวนการ
ดังต่อไปนี้
1.) การดูดซับด้วยถ่าน (carbon adsorption) วิธีการนี้ใช้ผงถ่านหรือคาร์บอนเป็นตัว
ดูดซับสารเจือปนที่ละลายอยู่ในน้าทิ้ง
2.) การแลกเปลี่ยนประจุ วิธีการนี้อาศัยหลักการแลกเปลี่ยนประจุระหว่างสาร
ปนเปื้อนในน้าเสียกับตัวกลางที่บรรจุซึ่งมีทั้งประจุบวกและประจุลบ โดยจะมีการลาเลียงน้าภายใน
วิธีการบาบัดน้าเสีย ขั้นตอนการบาบัดน้าเสีย โดยทั่วไปการบาบัดน้าทิ้งแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นดังนี้
(1.) การบาบัดขั้นเตรียมการ (preliminary treatment) เป็นขั้นตอนการแยก
สิ่งสกปรกที่มีขนาดใหญ่ ไม่ละลายน้าออกจากน้า โดยการใช้ตะแกรง (Screens)
(2.) การบาบัดขั้นต้น (primary treatment) น้าเสียที่ผ่านขั้นตอนจากข้อที่ 1
แล้ว จะถูกนามาตกตะกอนในถังตกตะกอน ซึ่ง เรียกว่า primary sludge การบาบัด
23
ในขั้นนี้จะลดค่า BOD ได้ประมาณ 25-40% แล้วแต่คุณลักษณะของน้าทิ้งและ
ประสิทธิภาพของถังตกตะกอน
(3.) การบาบัดขั้นที่สอง (secondary treatment) น้าเสียจากข้อ 2 จะถูก
นาเข้าไปสู่ถังเติมอากาศซึ่งจะมีการเติมอากาศให้แก่แบคทีเรียโดยใช้เครื่องเติม
อากาศ แบคทีเรีย ช่วยย่อยสลายและกาจัดสารอินทรีย์หรือ BOD ซึ่งอยู่ในรูปของ
สารละลายหรืออนุภาคคอลลอยด์ ออกไปจากน้า กลายเป็นตะกอน ตกลงไปที่ก้น
ถังกากตะกอนในส่วนนี้จะถูกนาไปกาจัดต่อไป น้าในส่วนบนของถังตกตะกอนจะ
ใสขึ้น ในขั้นตอนนี้จะช่วยลดค่า BOD ลงได้ประมาณ 75-95% ซึ่งค่า BOD ของน้า
ส่วนนี้จะต่ากว่า 20 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถปล่อยทิ้งลงสู่แม่น้าได้แต่ถ้าต้องการ
ความสะอาดเหมาะแก่การนากลับมาใช้ใหม่เข้าสู่การบาบัดขั้นที่ 3 ต่อไป
(4.) การบาบัดขั้นที่สาม (Tertiary treatment) ต้องการความบริสุทธิ์สะอาด
สามารถนากลับมาใช้อุปโภคและบริโภคได้ กระบวนการบาบัดนี้จึงเป็ น
กระบวนการเคมีรวมกับฟิสิกส์ - เคมี น้าทิ้งจากการบาบัด ขั้นตอนที่สอง จะถูก
นามาตกตะกอนด้วยวิธีทางเคมีแยกสารประกอบฟอสเฟตออกด้วยปูนขาว จากนั้น
จึงนามากาจัดสารอินทรีย์ที่เหลืออยู่ด้วยกระบวนการทาง ฟิสิกส์ เคมีด้วยวิธีการ
ion exchange ซึ่งจะได้น้าที่สะอาดเมื่อผ่านการฆ่าเชื้อโรคแล้วจะได้น้าที่สะอาด
หลักการจัดการน้าเสีย
หลักการจัดการน้าเสียที่สาคัญได้แก่การนาน้าเสียที่เกิดขึ้นเข้าสู่กระบวนการบาบัดให้ได้
ตามมาตรฐานน้าทิ้ง ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพอนามัย โดยทั่วไปการจัดการน้าเสียจะ
ประกอบด้วย
1. การรวบรวมน้าเสีย (collection)
2. การบาบัดน้าเสีย (treatment)
3. การนากลับมาใช้ประโยชน์ (reuse and reclamation)
สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมมีการจัดการระบบบาบัดน้าเสียต่างกันไปทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาด
พื้นที่ในการจัดการเรื่องระบบน้าเสีย สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่มีการถ่ายเทน้าเสียใน
24
ปริมาณมากออกสู่สิ่งแวดล้อม เช่นโรงงานน้าตาล โรงงานผลิตอาหารทางการเกษตร จะมีการจัดการ
เรื่องระบบบาบัดซึ่งต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ ดังนั้นระบบบาบัดจึงเหมาะสาหรับเป็นระบบบ่อชนิด
ต่างๆ ทั้งมีการใช้ออกซิเจนและไม่มีการใช้ออกซิเจน บ่อบาบัดที่ใช้ออกซิเจนที่อาศัยหลักการ
ธรรมชาติและง่ายที่สุด เช่น ระบบ บ่อผึ่ง (oxidation pond)นอกจากนี้ยังมี บ่อเติมอากาศ (aerated
Lagoon) บ่อที่มีออกซิเจน (aerobic pond) บ่อบาบัดที่ไม่ใช้ออกซิเจน เช่น บ่อหมัก (anaerobic
pond)บ่อบาบัดทั้งสองประเภทจะเป็นรูปบ่อเดียวหรือหลายบ่อต่อเป็นอนุกรมก็ได้ ขึ้นอยู่กับความ
เข้มข้นและปริมาณของน้าเสียที่จะทาการบาบัด ระบบบาบัดน้าเสียเหล่านี้อาศัยการทางานของ
แบคทีเรียและสาหร่าย บ่อเหล่านี้ยังให้ผลพลอยได้ เช่น จะให้ก๊าซมีเทนมาใช้หุงต้มอาหาร แต่มี
ข้อจากัดที่ใช้เนื้อที่ขนาดใหญ่และการทางานจะดียิ่งขึ้นถ้าบริเวณนั้นมีแสงแดดมาก ดังนั้นระบบ
แบบนี้จึงเหมาะกับประเทศที่กาลังพัฒนาซึ่งมีข้อจากัดในเรื่องการลงทุนและค่าใช้จ่าย
ระบบบาบัดที่ใช้พื้นที่น้อย ระบบบาบัดในกลุ่มนี้ก็มีมากมายหลายชนิดให้เลือก มีรูปแบบ
และลักษณะที่แตกต่างกันออกไปเริ่มจากระบบตะกอนแขวนลอย (activated sludge, AS) ที่ต้องใช้
เครื่องจักรกลมากที่สุดและมีค่าใช้จ่ายสูง แต่มีคุณภาพในการจัดการสูง ระบบตะกอนยึดติดวัสดุ
(Trickling Filter, TF) ระบบคลองวนเวียน (oxidation ditch) ระบบจานหมุน (rotating biological
contractors) ระบบบาบัดในกลุ่มนี้ ออกแบบยากกว่า ผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจจึงจะเกิด
ประสิทธิภาพ
โดยสรุประบบบาบัดน้าเสียโดยชีวภาพที่นิยมในประเทศไทยมีด้วยกัน 5 ระบบได้แก่
1. ระบบเอเอส (Activited Sludge - AS)
ภาพที่ 4.4 ส่วนประกอบและระบบการทางานของระบบเอเอส
2. ระบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch - OD)
25
3. ระบบจานหมุนชีวภาพ (Rotating Biological Contactors - RBC)
4. ระบบบ่อผึ่ง (Oxidation Pond)
5. ระบบสระเติมอากาศ (Aerated Lagoon)
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย

Contenu connexe

Tendances

โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดJoy Jantima
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 

Tendances (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 

Similaire à ปัญหาน้ำเน่าเสีย

ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมพัน พัน
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคมthnaporn999
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9Pai Chensuriyakun
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)Prapatsorn Chaihuay
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมTangkwa Pawarisa
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวnam--nam-thanaporn
 
Ssssssssssssssssssssssssssssss
SsssssssssssssssssssssssssssssSsssssssssssssssssssssssssssss
SsssssssssssssssssssssssssssssOtorito
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1Sircom Smarnbua
 
สุขสันต์อีสเตอร์
สุขสันต์อีสเตอร์สุขสันต์อีสเตอร์
สุขสันต์อีสเตอร์Parn Patamaporn
 
งานคอมสาว
งานคอมสาวงานคอมสาว
งานคอมสาวChatika Ruankaew
 
Herbarium กลุ่ม 3 341
Herbarium กลุ่ม 3 341Herbarium กลุ่ม 3 341
Herbarium กลุ่ม 3 341PiriyaT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ploynaphat
 

Similaire à ปัญหาน้ำเน่าเสีย (20)

ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
Is 3 (1)
Is 3 (1)Is 3 (1)
Is 3 (1)
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
Ssssssssssssssssssssssssssssss
SsssssssssssssssssssssssssssssSsssssssssssssssssssssssssssss
Ssssssssssssssssssssssssssssss
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
 
สุขสันต์อีสเตอร์
สุขสันต์อีสเตอร์สุขสันต์อีสเตอร์
สุขสันต์อีสเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมสาว
งานคอมสาวงานคอมสาว
งานคอมสาว
 
Herbarium กลุ่ม 3 341
Herbarium กลุ่ม 3 341Herbarium กลุ่ม 3 341
Herbarium กลุ่ม 3 341
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Plus de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ปัญหาน้ำเน่าเสีย

  • 1. ปัญหาน้าเน่าเสีย จัดทาโดย นางสาวจิรวัส แสงนิ่ม เลขที่ 13 นางสาวพรรณิภา แซ่ตัน เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS (I30201) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
  • 2. ปัญหาน้าเน่าเสีย จัดทาโดย นางสาวจิรวัส แสงนิ่ม เลขที่ 13 นางสาวพรรณิภา แซ่ตัน เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS (I30201) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
  • 3. ก คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับปัญหาน้าเน่าเสีย และ ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาไว้ในรายงานเล่มนี้เรียบร้อยแล้ว หวังว่าจะเป็นประโยชน์ไม่ มากก็น้อยกับผู้ที่อ่านรายงานเล่มนี้ ถ้าผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ รายงานเรื่องปัญหาน้าเน่าเสียสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ในแผนกวิชา IS ที่ ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะในการศึกษาค้นคว้า แนะนาขั้นตอนและวิธีจัดทาโครงงานจนสาเร็จ ลุล่วงด้วยดี คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน และสมาชิกในกลุ่มที่ ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทาโครงงานครั้งนี้จนกระทั่งประสบความสาเร็จด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1 1.2 วัตถุประสงค์ 1 1.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 2 บทที่ 2 ทรัพยากรน้า 3 2.1 ทรัพยากรน้า 3 2.2 ความสาคัญของน้า 3 2.3 ประโยชน์ของน้า 5 2.4 ปัญหาทรัพยากรน้า 5 2.5 การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า 6 บทที่ 3 ปัญหาน้าเน่าเสีย 7 3.1 น้าเสีย 7 3.2 ตัวชี้วัดคุณภาพน้าทิ้ง 8 3.3 ลักษณะน้าเสีย 9
  • 6. สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 4 สาเหตุ ผลกระทบ วิธีการแก้ไข และป้องกันปัญหาน้าเน่าเสีย 15 4.1 สาเหตุของมลพิษทางน้า 15 4.2 ผลกระทบของมลพิษทางน้า 17 4.3 แนวทางป้องกันและแก้ไขมลพิษทางน้า 19 4.4 การบาบัดน้าเสีย 20 บทที่ 5 โครงการพระราชดาริเกี่ยวกับน้าเสีย 26 5.1 โครงการน้าดีไล่น้าเสีย 26 5.2 การบาบัดน้าเสียด้วยผักตบชวา 27 บรรณานุกรม 30 ภาคผนวก 31
  • 7. สารบัญภาพ ภาพ หน้า ภาพที่ 2.1 แหล่งน้าธรรมชาติ 3 ภาพที่ 2.2 การทานาข้าว 4 ภาพที่ 2.3 โรงไฟฟ้าพลังงานน้า 4 ภาพที่ 3.1 น้าเน่าเสีย 8 ภาพที่ 4.1 น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 16 ภาพที่ 4.2 น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 17 ภาพที่ 4.3 ปลาตายเนื่องจากน้าเน่าเสีย 18 ภาพที่ 4.4 ส่วนประกอบและระบบการทางานของระบบเอเอส 24 ภาพที่ 5.1 โครงการน้าดีไล่น้าเสีย 26 ภาพที่ 5.2 บาบัดน้าเสียบึงมักกะสัน 29
  • 8. 1 บทที่ 1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1.1ที่มาและความสาคัญ น้ามีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของสิ่งมีชีวิต ทั้งในด้านอุปโภคและบริโภค แต่ใน ปัจจุบันมนุษย์ใช้น้าอย่างไม่คานึงถึงความสาคัญของน้า ซึ่งมนุษย์ส่วนใหญ่นั้นเห็นแก่ตัวและมัก ง่าย เช่น ใช้ในการชาระล้างร่างกาย หรือโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ แล้วก็ปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้า ลา คลอง การทิ้งขยะลงแม่น้า ลาคลอง ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษทางน้ากลายเป็นปัญหาน้าเน่าเสีย จากการกระทาของมนุษย์จะเห็นได้ว่ามนุษย์นั้นปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้า ลาคลอง โดยตรง เป็นส่วนใหญ่ซึ่งถ้าไม่มีการกรองน้าเสียหรือการบาบัดน้าเสียก่อนปล่อยลงสู่แม่น้า ลาคลอง จะ ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า ซึ่งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต ทั้งที่อยู่ในน้าและบนบก ทาให้ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นลดลง สัตว์น้าขาดออกซิเจนตาย แล้วทาให้น้าเน่าเสีย มนุษย์ก็ต้องรับประทานสัตว์น้าที่มีสารเคมีเจือปนอยู่ในตัวสัตว์น้า เป็นต้น เพราะฉะนั้นเราจึงควรช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมทางน้า ด้วยเหตุนี้คณะผู้จัดทารายงานนี้จึงได้คิด จัดทารายงานรักษาแม่น้า ลาคลอง เพื่อช่วยลดปัญหามลพิษทางน้าที่เกิดจากความมักง่ายและ ความเห็นแก่ตัวของมนุษย์ในสังคมยุคปัจจุบัน และยังรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดารงไว้ 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรักษาระบบนิเวศของน้า 2. เพื่อช่วยปลูกฝังจิตสานึกให้กับคนในสังคม 3. เพื่อให้แหล่งน้ามีความสะอาด 4. เพื่อลดการระบาดของโรคที่มาจากน้าเน่าเสีย 1.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ช่วยให้แหล่งน้าสะอาด 2. ช่วยให้คนในบริเวณนั้นมีสุขภาพที่ดีขึ้น
  • 10. 3 บทที่ 2 ทรัพยากรน้า 2.1 ทรัพยากรน้า น้าเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อชีวิตคน พืช และสัตว์มากที่สุดแต่ก็มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ เปรียบเทียบกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ น้าเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์และเป็น องค์ประกอบที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ภาพที่ 2.1 แหล่งน้าธรรมชาติ 2.2 ความสาคัญของทรัพยากรน้า 1. ใช้สาหรับการบริโภคและอุปโภค เพื่อดื่มกิน ประกอบอาหาร ชาระร่างกาย ทาความ สะอาด ฯลฯ 2. ใช้สาหรับการเกษตร ได้แก่ การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์แหล่งน้าเป็นที่อยู่อาศัยของปลาและ สัตว์น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร
  • 11. 4 ภาพที่ 2.2 การทานาข้าว 3. ด้านอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าในกระบวนการผลิต ล้างของเสีย หล่อเครื่องจักร และระบาย ความร้อน ฯลฯ 4. การทานาเกลือ โดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล หรือระเหยน้าที่ใช้ละลายเกลือสินเธาว์ 5. น้าเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้า ภาพที่ 2.3 โรงไฟฟ้าพลังงานน้า
  • 12. 5 6. เป็นเส้นทางคมนาคมที่สาคัญ แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทางคมนาคมที่ สาคัญมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 7. เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเล และแหล่งน้าที่ใสสะอาดเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวของมนุษย์ 2.3 ประโยชน์ของน้า น้าเป็นแหล่งกาเนิดชีวิตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวิตอยู่โดยขาดน้าได้ไม่เกิน 3 วัน และน้า ยังมีความจาเป็นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนา ประเทศ ประโยชน์ของน้า ได้แก่ 1. น้าเป็นสิ่งจาเป็นที่เราใช้สาหรับการดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระร่างกาย ฯลฯ 2. น้ามีความจาเป็นสาหรับการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์แหล่งน้าเป็นที่อยู่อาศัยของปลาและสัตว์ น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร 3. ในการอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าในขบวนการผลิตใช้ล้างของเสียใช้หล่อเครื่องจักรและ ระบายความร้อน ฯลฯ 4. การทานาเกลือโดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล 5. น้าเป็นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้าใช้ทาระหัด ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 6. แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งที่สาคัญ 7. ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเลและน้าที่ใสสะอาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวของมนุษย์ 2.4 ปัญหาทรัพยากรน้า ปัญหาทรัพยากรน้าที่สาคัญมีดังนี้ 1. เพิ่มปริมาณความต้องการใช้น้า ในปัจจุบันนอกจากการใช้น้าเพื่อการบริโภคซึ่งเพิ่มขึ้น แล้วประมาณ 30% ถึง 40% ในการผลิตอาหารของโลกจาเป็นต้องใช้น้าจากการชลประทานภายใน ระยะเวลาประมาณ 15-20 ปี ข้างหน้านี้ บริเวณพื้นที่ชลประทานจะต้องเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ของ ปริมาณ พื้นที่ในปัจจุบัน เพื่อที่จะผลิตอาหารให้ได้เพียงพอแก่จานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
  • 13. 6 2. การกระจานน้าไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพื้นที่ไม่เท่าเทียมกัน ในบางพื้นที่ของโลกเกิดฝน ตก หนักบ้านเรือนไร่นาเสียหาย แต่ในบางพื้นที่ก็แห้งแล้งขาดแคลนน้าเพื่อการบริโภค และเพื่อการ เพาะปลูก 3. การเพิ่มมลพิษในน้า เนื่องจากน้าเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย รวมทั้งมนุษย์เมื่อจานวนประชากรมนุษย์เพิ่มมากขึ้น มนุษย์เป็นตัวการสาคัญที่เพิ่มมลพิษให้กับ แหล่งน้าต่าง ๆ โดยการปล่อยน้าเสีย คราบน้ามัน จากบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม การทิ้งขยะมูล ฝอยลงไปในแหล่ง เป็นต้น 2.5 การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า น้ามีความสาคัญและมีประโยชน์มากมายมหาศาล จึงควรช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรน้าดังนี้ 1. การใช้น้าอย่างประหยัด นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้าลงได้แล้ว ยังทาให้ ปริมาณน้าเสียที่จะทิ้งลงแหล่งน้าลดลง และป้องกันการขาดแคลนน้าได้ด้วย 2. การสงวนน้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะที่มีน้ามากเหลือใช้ ควรมีการเก็บน้าไว้ใช้ เช่น การทาบ่อเก็บน้า การสร้างโอ่งน้า การขุดลอกแหล่งน้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้าไว้ใช้เพื่อ การเกษตร และพลังงานแล้วยังช่วยป้องกันการเกิดอุทกภัย ป้องกันการไหลชะล้างหน้าดินที่อุดม สมบูรณ์และใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ 3. การพัฒนาแหล่งน้า ในบางพื้นที่ขาดแคลนน้า จาเป็นที่จะต้องหาแหล่งน้าเพิ่มเติม เพื่อให้ มีน้าไว้ใช้ทั้งในครัวเรือนและในการเกษตรได้อย่างเพียงพอ ปัจจุบันการนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้กาลัง แพร่หลายมาก แต่อาจมีปัญหาเรื่องแผ่นดินทรุด เช่นในบริเวณกรุงเทพ ฯ ทาให้เกิดดินทรุดได้ จึง ควรมีมาตรการกาหนดว่าเขตใดควรใช้น้าใต้ดินได้มากน้อยเพียงใด 4. การป้องกันน้าเสีย การไม่ทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูล และสารพิษลงในแหล่งน้า น้าเสียที่เกิดจาก โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบาบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้า การ วางท่อระบายน้าจากบ้านเรือน การวางฝังการก่อสร้างโดยไม่ให้น้าสกปรกไหลลงสู่แม่น้าลาคลอง 5. การนาน้าเสียกลับไปใช้ น้าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการหนึ่ง เช่น น้าทิ้งจากการล้าง ภาชนะอาหาร สามารถนาไปรดต้นไม้โรงงานบางแห่งอาจนาน้าทิ้งมาทาให้สะอาดแล้วนากลับมา ใช้ใหม่
  • 14. 7 บทที่ 3 ปัญหาน้าเน่าเสีย 3.1 น้าเสีย น้าเสีย คือน้าที่ได้รับผลกระทบในด้านคุณภาพจากอิทธิพลของมนุษย์ระบบบาบัดน้าเสียของ เมืองระบายลงในในท่อหรือคลองระบายน้าเพื่อส่งไปบาบัดที่โรงงานบาบัดน้าเสียหรือลงสู่แหล่งน้า ธรรมชาติโดยตรง น้าเสียที่ผ่านการบาบัดมีการปล่อยลงไปในแหล่งน้าธรรมชาติต่อไปหรืออาจ นาไปใช้ประโยชน์ทางใดทางหนึ่ง ภาพที่ 3.1 น้าเน่าเสีย น้าโสโครกเป็นส่วนย่อยของน้าเสียที่ถูกปนเปื้ อนกับอุจจาระหรือปัสสาวะ แต่มักจะใช้ รวมถึงน้าเสียโดยทั่วไป น้าเสียจึงหมายรวมถึงผลิตผลที่เป็นของเหลวที่เสียแล้วจากท้องถิ่นหรือใน เขตเทศบาลหรือในเมืองอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้องถูกกาจัดผ่านทางท่อระบายน้าหรือท่อต่างหากหรือ ถูกกาจัดในบ่อกาจัดเฉพาะ ท่อน้าทิ้งเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพประกอบด้วยท่อ ปั๊ม ตะแกรง ประตู และอื่น ๆ เพื่อใช้ในการระบายน้าเสียจากแหล่งกาเนิดไปยังจุดของการรักษาสุดท้ายหรือการกาจัดทิ้ง ท่อน้าทิ้ง มีหลายประเภทในระบบบาบัดน้าเสีย ยกเว้นระบบบาบัดน้าเสียสิ่งปฏิกูลที่บาบัด ณ จุดผลิต
  • 15. 8 3.2 ตัวชี้วัดคุณภาพน้าทิ้ง วัสดุที่รวมกับออกซิเจนใดๆที่มีอยู่ในน้าตามธรรมชาติหรือในน้าเสียอุตสาหกรรมจะถูก ออกซิไดซ์โดยทั้งกระบวนการทางชีวเคมี (แบคทีเรีย) หรือทางขบวนการทางเคมี ผลก็คือปริมาณ ออกซิเจนของน้าจะลดลง โดยทั่วไปปฏิกิริยาทางชีวเคมีสาหรับออกซิเดชันอาจจะเขียนเป็น: วัสดุออกซิไดซ์ + แบคทีเรีย + สารอาหาร + O2 CO2 +H2O + oxidized inorganics such as NO3 - or SO4 - การใช้ออกซิเจนโดยการลดสารเคมีเช่นซัลไฟด์และไนไตรต์มีปฏิกิริยาดังนี้: S- + 2O2 SO4 - NO2 - + 1 2 O2 NO3 - เนื่องด้วยทางน้าธรรมชาติทั้งหมดเชื้อแบคทีเรียและสารอาหาร สารประกอบที่เป็นของเสีย เกือบทุกชนิดที่ถูกนาเข้าสู่ทางน้าดังกล่าวนั้น จะเริ่มต้นปฏิกิริยาชีวเคมี (เช่นที่แสดงด้านบน) ปฏิกิริยาชีวเคมีจะสร้างในสิ่งที่ถูกวัดในห้องปฏิบัติว่าเป็นค่า'ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี' (Biochemical oxygen demand, BOD) สารเคมีดังกล่าวนี้ยังมีแนวโน้มที่จะถูกทาลายลงโดยใช้สาร ออกซิไดซ์ที่แข็งแกร่งและการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีเหล่านี้สร้างสิ่งที่เป็นวัดในห้องปฏิบัติว่าเป็นค่า' ความต้องการออกซิเจนทางเคมี' (Chemical oxygen demand, COD) ผลการทดสอบ BOD และ COD เป็นตัวชี้วัดของ'การพร่องออกซิเจน'ของสารปนเปื้อนของเสีย ค่าทั้งสองนี้ได้รับการยอมรับอย่าง กว้างขวางว่าเป็นตัวชี้วัดของผลกระทบของมลพิษ BOD ใช้วัดความต้องการออกซิเจนของสาร มลพิษที่ย่อยสลายได้ทางชีวเคมี ในขณะที่ COD ใช้วัดความต้องการออกซิเจนของสารทาให้เกิดของ เสียที่ออกซิไดซ์ได้สิ่งที่เรียกว่า BOD 5 วัน หมายถึงปริมาณของออกซิเจนที่บริโภคโดยการ ออกซิเดชันทางชีวเคมีของสารปนเปื้อนทาให้เป็นของเสียในระยะเวลา 5 วัน ปริมาณออกซิเจน ทั้งหมดที่ใช้เมื่อปฏิกิริยาทางชีวเคมีถูกปล่อยให้ดาเนินการจนเสร็จสิ้นจะเรียกว่าค่าบีโอดียิ่งยวด เพราะค่าบีโอดียิ่งยวดใช้เวลามากเกินไป, BOD 5 วันจึงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็น ตัวชี้วัดของผลกระทบมลพิษ นอกจากนี้ยังมีการทดสอบที่แตกต่างกันของซีโอดี COD 4 ชั่วโมงน่าจะพบมากที่สุดไม่มี ความสัมพันธ์ทั่วไประหว่าง BOD 5 วัน กับ BOD ยิ่งยวด ในทานองเดียวกันไม่มีความสัมพันธ์ ทั่วไประหว่างค่า BOD และ COD มันเป็นไปได้ที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ดังกล่าวสาหรับการ
  • 16. 9 ปนเปื้ อนของเสียที่เฉพาะเจาะจงในน้าเสียเฉพาะเจาะจง แต่ความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่สามารถ นาไปใช้กับสารปนเปื้อนอื่นๆ ของน้าเสียอื่นๆ นี้เป็นเพราะองค์ประกอบของน้าเสียใด ๆ ที่แตกต่าง กัน ตัวอย่างเช่นน้าเสียอย่างหนึ่งประกอบด้วยส่วนผสมของน้าตาลธรรมดาที่ถูกปล่อยออกมาจาก โรงงานทาลูกกวาดที่น่าจะมีองค์ประกอบอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้อย่างรวดเร็ว ในกรณีเช่นนี้ BOD 5 วัน และ BOD ยิ่งยวดจะใกล้เคียงกันมาก เนื่องจากน่าจะมีสารอินทรีย์เหลือน้อยมากหลังจาก 5 วัน อย่างไรก็ตามน้าทิ้งสุดท้ายจากระบบบาบัดน้าเสียที่ทางานให้บริการพื้นที่อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อาจจะถูกระบายทิ้งไปง่ายๆ ถ้า BOD ยิ่งยวดสูงกว่า BOD 5 วันมากๆ เพราะวัสดุที่สามารถย่อยสลาย ได้ง่ายเท่านั้นที่อาจจะถูกทาลายในขบวนการกาจัดของเสีย แต่โมเลกุลสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายยากจะ ถูกระบายออกไป 3.3 ลักษณะของน้าเสีย ลักษณะของน้าเสียแบ่งออกได้3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ ด้านเคมี และด้านชีวภาพ ลักษณะของน้าเสียทางกายภาพ ลักษณะของน้าทางกายภาพต่อไปถ้ามีสภาพเปลี่ยนไปแล้วจะทาให้เกิดน้าเสีย 1. ลักษณะที่เป็นของแข็ง ของแข็งทั้งหมด(Total Solid : TS) คือ ปริมาณของแข็งหรือสารทั้งหมดที่อยู่ในน้า หาได้ จากปริมาณสารที่ระเหย(evaporate) น้าออกทั้งหมด ที่อุณหภูมิ103-105 องศาเซลเซียส ของแข็งจมตัวได้(Settleable Solids) หมายถึงของแข็งที่จมตัวสู่ก้นภาชนะ เมื่อตั้งทิ้งใน เวลา1 ชั่วโมง มีหน่วยเป็นมิลลิลิตรต่อลิตรของ ของแข็งละลายน้าทั้งหมด(Tatal Dissolved Solids : TDS) หมายถึงของแข็งที่สามารถผ่าน กระดาษกรองใยแก้วมาตรฐาน แล้วยังคงเหลืออยู่ หลังจากระเหยไอน้าจนแห้ง แล้วอบที่ อุณหภูมิ103 -105 องศาเซลเซียสของ ของแข็งแขวนลอย(Suspended Solids : SS) หมายถึง ส่วนของของที่เหลือค้างบนกระดาษ กรองใยแก้วมาตรฐาน หลังจากกรองน้าตัวอย่างและอบที่อุณหภูมิ103-105 องศาเซลเซียส ของแข็งระเหยง่าย(Volatile Solids : VS) หมายถึงส่วนของแข็งที่เป็นสารอินทรีย์วิเคราะห์ โดยนากระดาษกรองที่วิเคราะห์หาของแข็งที่แขวนลอยแล้ว หรือถ้วยกระเบื้องระเหยที่วิเคราะห์
  • 17. 10 ของแข็งละลายทั้งหมด ไปเผาที่อุณหภูมิ550 องศาเซลเซียสน้าหนักที่หายไปคือน้าหนักของของแข็ง ที่ระเหยง่าย 2. อุณหภูมิ(Temperature)คือ ความร้อน-เย็นของน้า อุณหภูมิของน้าจะสูงกว่าอุณหภูมิใน บรรยากาศ ยกเว้นในฤดูร้อน อุณหภูมิของน้ามีผลกระทบคือ มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิในน้า การ เจริญเติบโตของสัตว์และพืชน้า มีผลต่อปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ซึ่งปฏิกิริยาทางเคมีจะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อมี อุณหภูมิสูง หรืออาจกล่าวได้ว่า อุณหภูมิ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวหนึ่ง มีผลต่อการเจริญเติบโตของ จุลินทรีย์ในน้า โดยจุลินทรีย์เจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ25-35 องศาเซลเซียสและหยุดการเติบโต ที่50 องศาเซลเซียสมีผลต่อการละลายของออกซิเจนในน้า พบว่าออกซิเจนละลายในน้าได้7.54- 9.08 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่อุณหภูมิบรรยากาศ 3. สี(Color) : น้าเสียชุมชน ที่ปล่อยจากชุมชนจะ มีสีเท่าปนน้าตาลอ่อน เมื่อไม่มีการบาบัด จะเปลี่ยนเป็นสีเท่าหรือสีดา น้าเสียจากอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่มีสีเทา เทาเข้ม หรือสีดา ซึ่งเกิดจาก พวกซัลไฟต์ของโลหะ อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดสีในน้าเสีย เช่น โรงงานกระดาษ โรงงานฟอกย้อม สีอาจเกิดจากสาหร่าย หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในน้า 4. ความขุ่น(Turbidity) หมายถึง สมบัติทางแสงของสารแขวนลอยซึ่งทาให้แสงกระจาย และถูกดูดกลืนมากกว่าที่จะยอมให้แสงผ่านเป็นเส้นตรง ความขุ่นของน้าเกิดจากมีสารแขวนลอย ต่าง ๆ เช่น ดิน ดินตะกอน แพลงตอน สารอินทรีย์สารอนินทรีย์และสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่มี ขนาดเล็ก 5. กลิ่น : น้าเสียชุมชน ในระยะแรกมีกลิ่นเหม็นอับ เนื่องจาก ซัลไฟต์น้าเสียอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมเคมี ยา อาหาร กลิ่นเกิดจาก ฟีนอล แอมโมเนีย ไซยาไนด์ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ เกิดขึ้นจากกระบวนการย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนทาให้เกิดกลิ่น 6. รสปกติน้าไม่มีรส 7. การนาไฟฟ้า (Electrical Conductivity) บอกถึงความสามารถของน้ าที่จะให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ซึ่งขึ้นอยู่กับความเข้มข้น ชนิดของไอออนที่มีอยู่ในน้า และอุณหภูมิในขณะ ทาการวัด ไม่ได้เป็นการบอกถึงไอออนตัวใดตัวหนึ่งโดยเฉพาะ สารประกอบอนินทรีย์ของกรด ด่าง และเกลือ สามารถนาไฟฟ้าได้ดี ลักษณะของน้าเสียทางเคมี ลักษณะของน้าทางเคมีดังต่อไปนี้ ถ้ามีในน้าปริมาณมากหรือน้อยเกินค่ามาตรฐานที่ กาหนดจะทาให้เกิดน้าเสีย
  • 18. 11 1.สารอินทรีย์ (Organic Matter)คือ สารที่ประกอบไปด้วยธาตุคาร์บอน และ ไฮโดรเจน(อาจมีออซิเจน ไนโตรเจน และธาตุอื่น ๆ) 2.บีโอดี (Biochemical Oxygen Damned : BOD) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการ ย่อยสลายสารอินทรีย์ในเวลา5 วัน โดยแบคทีเรียที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ค่าบีโอดี ให้เป็น ตัวกาหนดขนาดของระบบบาบัดน้าเสียได้ เป็นค่าที่บอกให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจนที่ใช้ใน การย่อยสลายสารอินทรีย์ 3.ซีโอดี(Chemical Oxygen Demand : COD) หมายถึง ปริมาณออกซิเจนทั้งหมดที่ต้องการ ใช้เพื่อออกซิเดชันสารอินทรีย์ในน้าให้เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้า ค่าซีโอดีมีความสาคัญ ในการวิเคราะห์คุณภาพน้าทิ้ง การควบคุมระบบบาบัดน้าเสีย เช่นเดียวกับค่าบีโอดี 4. ทีโอซี(Total Organic Carbon : TOC)หมายถึง ปริมาณคาร์บอนที่มีอยู่ในน้า 5.ค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH)มีความสาคัญในการควบคุมคุณภาพน้าและน้าเสีย ควบคุมให้ เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เพื่อไม่ให้เกิดการกัดกร่อนของท่อ เพื่อให้ในการควบคุม ให้สารเคมีที่ใช้บาบัดน้าเสียทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปน้ามีค่าpH อยู่ในช่วง5- 8 ค่าpH เป็นค่าที่แสดงปริมาณความเข้มข้นของอนุภาคไฮโดรเจนในน้า 6.คลอไรด์ เกิดจากบ้านพักอาศัย อุตสาหกรรม เช่น การผลิตเกลือ การผลิตแก้ว หรือจาก การเกษตรกรรม เช่น การใช้ปุ๋ ย สารฆ่าแมลง 7. ความเป็นด่าง(Alkalinity) เกิดขึ้นจากในน้ามีสารไฮดรอกไซด์ คาร์บอเนต และไบ คาร์บอเนต ของธาตุแคลเซียม แมกนีเซียม โซเดียม โพแทสเซียม หรือแอมโมเนีย 8. ความกระด้าง(Hardness)หมายถึง น้าที่ต้องการสบู่ค่อนข้างมาก จึงจะทาให้เกิดฟอง หรือน้าที่ทาให้เกิดตะกรัน น้ากระด้างมี2 ชนิด คือ 1.)น้ากระด้างชั่วคราว หรือน้ากระด้างคาร์บอเนต(Carbonate Hardness) เกิดจาก สารไบคาร์บอเนต(CO3 2- ) รวมตัวกับ Ca2+ หรือ Mg+ สามารถทาให้หายได้โดยการต้ม 2.)น้ากระด้างถาวร หรือ ความกระด้างที่ไม่ได้เกิดจากคาร์บอเนต เช่น เกิด จาก SO4 2- Cl- ของCa2+ หรือMg+ เช่น MgSO4 CaCl2 9. ไนโตรเจน เป็นธาตุที่มีความสาคัญในการสังเคราะห์โปรตีน ธาตุไนโตรเจนในน้าอยู่ใน รูป สารอินทรีย์ไนโตรเจน แอมโมเนีย-ไนโตรเจน ไนไตรท ไนเตรต ก๊าซไนโตรเจน ถ้ามี ไนโตรเจนในแหล่งน้ามาก ทาให้พืชน้ามีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว 10. ฟอสฟอรัส ในน้าสารฟอสฟอรัสอยู่ในรูปของออร์โธฟอสเฟต(Orthophosphate) เช่น สารPO4 3- , H2PO4 - และH3PO4 นอกจากนี้ยังมีสารพวกโพลีฟอสเฟต
  • 19. 12 11. สารโลหะหนักชนิ ดต่างๆ ขึ้ น อยู่กับชนิ ดของอุตสาหกรรม เช่น สาร ตะกั่ว(Pb) ทองแดง(Cu) โครเมียม(Cr) แคดเมียม(Cd) สารหนู(As) เป็นต้น สารโลหะหนักยอมให้ มีได้ในน้าในปริมาณน้อยมาก แต่บางชนิดหากมีปริมาณไม่มากนักจะมีผลดีต่อสิ่งมีชีวิตในน้า เช่น สารทองแดง สังกะสี เป็นต้น 12. ก๊าซต่างๆที่ละลายในน้า - ก๊าซออกซิเจน(O2) ปริมาณออกซิเจนละลายน้า(Dissolved Oxygen: DO) เป็นตัวบ่งชี้ คุณภาพน้า โดยทั่วไปไม่ควรมีค่าต่ากว่า4 มก.ต่อลิตร ค่าDO เป็นตัวชี้ถึงปฏิกิริยาทางชีววิทยาในน้า การละลายของออกซิเจนขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ ความดัน สิ่งเจือปนในน้า เช่น เกลือชนิดต่าง ๆ - ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์(H2S) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี มีกลิ่นคล้ายไข่เน่า มีความเป็นพิษ ไม่ติด ไฟ เกิดขึ้นในการย่อยสลายในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน หากรวมตัวกับเหล็กจะเกิดเป็นสีดาของซัล ไฟต์(FeS) - ก๊าซมีเธน (CH4) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ติดไฟได้ง่าย เกิดขึ้นในการย่อยสลายใน สภาวะที่ไม่มีออกซิเจน - ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่ติดไฟ เมื่อละลายน้าทาให้น้ามีความ เป็นกรดเล็กน้อย ลักษณะของน้าเสียทางชีวภาพ ลักษณะของทางชีวภาพ ดังต่อไปนี้สามารถชี้วัดถึงคุณภาพน้าได้ว่าเป็นน้าเสียหรือไม่ 1. แบคทีเรีย(Bacteria)คือ จุลินทรีย์เซลล์เดียว มีขนาดเล็ก ไม่สามารถมองเห็นด้วยตา เปล่า แบคทีเรียแบ่งตามแหล่งคาร์บอนที่ได้มาเพื่อการเจริญเติบโตได้2 ชนิดคือ 1.) ออโทโทรฟิกแบคทีเรีย(Autotrophic Bacteria หรือAutotroph) เป็นแบคที่เรีย ที่สร้างอาหารได้เอง โดยได้คาร์บอนจากคาร์บอนไดออกไซด์ และได้พลังงานจากแสงอาทิตย์หรือ การออกซิเดชันของสารอินทรีย์ 2.) เฮเทอโรโทรฟิ กแบคทีเรีย (Heterotrophic Bacteria หรือ Heterotroph) เป็ น แบคทีเรียที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง โดยได้คาร์บอนจากสารอินทรีย์ และได้พลังงานจาก แสงอาทิตย์หรือการออกซิเดชันของสารอินทรีย์แบคทีเรีย เป็นผู้ย่อยสลายในแหล่งน้า แบ่งตามช่วง อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตได้ดังนี้ 3 ชนิด คือ
  • 20. 13 (1.) ไซโครไฟล์ (Psychriphile) อุณหภูมิที่เหมาะสม คือ 12-18 องศา เซลเซียส (2.) เมโซไฟล์ (Mesophile) อุณหภูมิที่เหมาะสม คือ 25-40 องศา เซลเซียสและ (3.)เทอร์โมไฟล์ (Thermophile) อุณหภูมิที่เหมาะสม คือ 55-65องศา เซลเซียส นอกจากนี้แบคทีเรียเมื่อแบ่งตามความต้องการออกซิเจน แบ่งได้3 ชนิดคือ (1.) แอโรบิกแบคทีเรีย (Aerobic Bacteria) คือ แบคทีเรียที่ใช้ออกซิเจน อิสระเป็นองค์ประกอบในการเจริญเติบโต (2.)แอนแอโรบิกแบคทีเรีย(Anaerobic Bacteria) คือ แบคทีเรียที่ไม่ใช้ ออกซิเจนอิสระเป็นองค์ประกอบในการเจริญเติบโต (3.) แฟคัลเททีฟแบคทีเรีย(Facultative Bacteria) คือ แบคทีเรียที่สามารถ เจริญได้ทั้งในสภาพที่มี และไม่มีออกซิเจนอิสระ 2.รา(Fungi)เป็นจุลินทรีย์ที่มีหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์ ราอาศัยอยู่ได้โดยไม่สามารถ สังเคราะห์แสงเองได้รับอาหารจากสิ่งที่ตายแล้ว รามีความสาคัญในการย่อยสลายพวกคาร์บอนที่มี ค่าpH ต่า(ที่เหมาะสมคือ5.6) สารมารถย่อนสลายสารที่มีโครงสร้างซับซ้อนได้ดีกว่าแบคทีเรีย รามี บทบาทสาคัญในการย่อยสลายเซลลูโลส หรือสารคาร์โบไฮเดรตได้ดี รามีบทบาทสาคัญในการย่อย สลายสารอินทรีย์ในระบบบาบัดน้าเสียบางระบบ เช่น ระบบโปรยกรอง 3. สาหร่าย(Algae) เป็นจุลินทรีย์ที่มีทั้งเซลเดียวและหลายเซล มีบทบาทสาคัญในการเป็น ผู้ผลิต มีคลอโรฟิลล์สามารถสังเคราะห์แสงเองได้เช่น สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน และมีความสาคัญ ในการบาบัดน้าเสียด้วยระบบstabilization pond ซึ่งต้องมีออกซิเจนในบ่อน้า 4.โปรโตซัว(Protozoa)เป็นจุลินทรีย์เซลล์เดียว ไม่มีผนังเซล มีขนาดใหญ่กว่าแบคทีเรีย อาศัยเจริญเติบโตได้ที่ไม่มีออกซิเจน หรือสภาวะทั้งที่มีและไม่มีออกซิเจน (facultatively anaerobic) เป็นผู้บริโภค โดยการกินแบคทีเรีย สารอินทรีย์และจุลินทรีย์อื่น ๆ 5.โรติเฟอร์ เป็นสัตว์หลายเซลล์ อาศัยอยู่ในสภาวะที่มีออกซิเจนอิสระ ใช้สารอินทรีย์เป็น แหล่งคาร์บอน มีประสิทธิภาพสูงในการกินแบคทีเรีย ถ้าพบโรติเฟอร์ในระบบบาบัดน้าเสียที่ใช้ ออกซิเจน แสดงว่าระบบบาบัดน้าเสียนั้นมีประสิทธิภาพดี
  • 21. 14 6. ไวรัส(Virus)เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก เป็นกลุ่มของจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค ซึ่งมัก เป็นโรคที่เกิดในระบบทางเดินอาหาร ไวรัส สามารถทาลายเซลล์ของแบคทีเรียได้
  • 22. 15 บทที่ 4 สาเหตุ ผลกระทบ วิธีการแก้ไข และป้องกันปัญหาน้าเน่าเสีย 4.1 สาเหตุของมลพิษทางน้า 1. ธรรมชาติ แหล่งน้าต่างๆ อาจเกิดจากการเน่าเสียได้เองเมื่ออยู่ในภาวะที่ขาดออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสาเหตุเกิดจากการเพิ่มจานวนอย่างรวดเร็วของแพลงค์ตอน แล้วตายลงพร้อม ๆ กันเมื่อ จุลินทรีย์ทาการย่อยสลายซากแพลงค์ตอนทาให์ออกซิเจนในน้าถูกนาไปใช้มาก จนเกิดการขาด แคลนได้ นอกจากนี้การเน่าเสียอาจเกิดได้อีกประการหนึ่งคือ เมื่อน้าอยู่ในสภาพนิ่งไม่มีการ หมุนเวียนถ่ายเท 2. น้าทิ้ง และสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน ได้แก่ อาคาร บ้านเรือน สานักงาน อาคารพาณิชย์ โรงแรม เป็นต้น สิ่งปะปนมากับน้าทิ้งประกอบด้วยสารอินทรีย์ซึ่งจะถูกย่อยสลายโดยผู้ย่อยสลาย สาร อินทรีย์ที่สาคัญคือ แบคทีเรีย ซึ่งมีทั้งแบคทีเรียแอโรบิก (aerobic bacteria) เป็นแบคที่เรียที่ต้อง ใช้ออกซิเจนอิสระในการย่อยสลายสารอินทรีย์กับแบคทีเรียแอนาโรบิก (anaerobic bacteria) เป็น แบคทีเรียที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ได้โดยไม่ต้องอาศัยออกซิเจนอิสระ อีกชนิดหนึ่งคือ แบคทีเรียแฟ คัลเตตีฟ (facultativebacteria)เป็นแบคทีเรียพวกที่สามารถดารง ชีวิตอยู่ได้ทั้งอาศัยและไม่ต้องอาศัย ออกซิเจนอิสระ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณออกซิเจนในสภาวะ แวดล้อมนั้น บทบาทในการย่อยสลาย สารเหล่านี้ของแบคทีเรียแอโรบิกต้องใชออกซิเจน ในปริมาณมาก ทาให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลาย น้า (ดีโอ DO = dissolved oxygen) ลดลงต่ามาก ตามปกติน้าในธรรมชาติจะมีออกซิเจนละลายปน อยู่ประมาณ 8 มิลลิกรัมต่อลิตร หรือ 8 ส่วนในล้านส่วน (ppm) โดยทั่วไปค่า DO ต่ากว่า 3 มิลลิกรัม/ ลิตรจัดเป็นน้าเสีย การหาปริมาณของออกซิเจนที่จุลินทรีย.ต.องการใช.ในการย.อยสลายอินทรียสาร ใน น้า (biochemical oxygen demand) เรียกย่อว่า BOD เป็นการบอกคุณภาพน้าได้ ถ้าค่า BOD สูง แสดงว่าในน้านั้นมีอินทรียสารอยู่มาก การย่อยสลายอินทรียสารของจุลินทรีย์ต้องใช้ออกซิเจน ทา ให้ออกซิเจนในน้าเหลืออยู่น้อย โดยทั่วไปถ้าในแหล่งน้าใดมีค่า BODสูงกว่า 100มิลลิกรัม/ลิตร จัด ว่าน้านั้นเป็นน้าเสียถ้าในแหล่งน้านั้นมีค่า BODสูงหรือมีอินทรียสาร มาก ปริมาณออกซิเจนในน้าจะ ลดน้อยลงแบคทีเรียแอโรบิกจะลดน้อยลงด้วย อินทรียสาร จะถูกสลายด้วยแบคทีเรียแอนาโรบิก และแบคทีเรียแฟคัลเตตีฟต่อไป ซึ่งจะทาให้ก๊าซต่าง ๆ เช่น มีเทน ไฮโดรเจนซัลไฟด์ แอมโมเนีย
  • 23. 16 ก๊าซเหล่านี้เองที่ทาให้เกิดกลิ่นเหม็นและสีของน้า เปลี่ยนไปนอกจากสารอินทรีย์แล้ว ตามแหล่ง ชุมชนยังมีผงซักฟอกซึ่งเป็นตัวลดความตึงผิว ของน้า ซึ่งหมุนเวียนไปสู่คนได้ทางโซ่อาหาร ภาพที่ 4.1 น้าเสียจากบ้านเรือน 3. การเกษตร เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้น้าเสีย เช่น การเลี้ยงสัตว์เศษอาหารและน้าทิ้งจากการ ชาระคอกสัตว์ทิ้งลงสู่แม่น้า ลาคลอง ซึ่งก่อให้เกิดโรคระบาด การใช้ปุ๋ ยไนเตรตของเกษตรกร เมื่อ ปุ๋ ยลงสู่แหล่งน้าจะทาให้น้ามีปริมาณเกลือไนเตรตสูงถ้าดื่มเข้าไปจะทาให้เป็นโรคพิษไนเตรต ไน เตรตจะเปลี่ยนเป็ นไนไตรต์แล้วรวมตัวกับฮีโมโกลบินอาจทาให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ นอกจากนี้เกษตรกรนิยมใช้สารกาจัดศัตรูพืชมากขึ้น สารที่ตกค้างตามต้นพืช และตามผิวดิน จะถูก ชะล้างไปกับน้าฝนและไหลลงสู่แหล่งน้า สารที่สลายตัวช้าจะสะสมในแหล่งน้า นั้นมากขึ้นจนเป็น อันตรายได้ 4. โรงงานอุตสาหกรรม ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานปลาป่น โรงงาน ผลิตภัณฑ์นม โรงโม่แป้ง โรงงานทาอาหารกระป๋ อง ส่วนใหญ่มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตปนอยู่มากสารอินทรีย์ที่ถูกปล่อยออกมากับน้าทิ้งนี้ก็จะถูกย่อยสลายทาให้เกิดผล เช่นเดียวกับน้าทิ้งที่ถูกปล่อยจากชุมชน นอกจากนี้อาจมีสารพิษชนิดอื่นปะปนอยู่ด้วย ขึ้นอยู่กับ ประเภทของโรงงาน เช่นปรอทจากโรงงานผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ซึ่งเป็นสารพิษต่อสัตว์น้า และ ผู้นาสัตว์น้าไปบริโภคนอกจากนี้น้าทิ้งจากโรงงานบางประเภท ทาให้สภาพกรดเบส ของแหล่งน้า นั้นเปลี่ยนไป เช่นน้าทิ้งจากโรงงานกระดาษมีค่า pH สูงมาก น้าทิ้งจากโรงงาน บางประเภท เช่นจาก
  • 24. 17 โรงไฟฟ้าอาจทาให้อุณหภูมิของน้าเปลี่ยนแปลงไป สภาพเช่นนี้ไม่ เหมาะกับการดารงชีพของ สิ่งมีชีวิตในน้า ภาพที่ 4.2 น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 5. การคมนาคมทางน้า ในการเดินเรือตามแหล่งน้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร มีการทิ้งของ เสียที่ประกอบด้วยสารอินทรีย์และน้ามันเชื้อเพลิงถ้ามีโอกาสรั่วไหลลงน้าได้และมีจานวนมาก ก็จะ ทาให้สัตว์น้าขาดออกซิเจน และเป็นผลเสียต่อระบบนิเวศ 4.2 ผลกระทบของมลพิษทางน้า 1. การประมง น้าเสียทาให้สัตว์น้าลดปริมาณลง น้าเสียที่เกิดจากสารพิษอาจทาให้ปลาตาย ทัน ที ส่วนน้าเสียที่เกิดจากการลดต่าของออกซิเจนละลายในน้าถึงแม้จะไม่ทาให้ปลาตายทันที แต่ อาจทาลายพืชและสัตว์น้าเล็ก ๆ ที่เป็นอาหารของปลาและตัวอ่อน ทาให้ปลาขาดอาหาร ก่อให้เกิด ผลเสียหายต่อการประมงและเศรษฐกิจ ปริมาณออกซิเจนละลายในน้าถ้าหารลด จานวนลงมาก ๆ ในทันทีก็อาจทาให้ปลาตายได้นอกจากนี้น้าเสียยังทาลายแหล่งเพาะวางไข่ ของปลาเนื่องจากการ ตกตะกอนของสารแขวนลอยในน้าเสียปกคลุมพื้นที่วางไข่ของปลา ซึ่งเป็นการหยุดยั้งการแพร่พันธุ์ ทาให้ปลาสูญพันธุ์ได้
  • 25. 18 ภาพที่ 4.3 ปลาตายเนื่องจากน้าเน่าเสีย 2. การสาธารณสุข น้าเสียเป็ นแหล่งแพร่เชื้อโรค ทาให้เกิดโรคระบาด เช่น โรค อหิวาตกโรค ไทฟอยด์ บิด เป็นแหล่งเพาะเชื้อยุงซึ่งเป็นพาหะของโรคบางชนิด เช่น มาเลเรีย ไข้เลือดออก และสารมลพิษที่ปะปนในแหล่งน้า ถ้าเราบริโภคทาให้เกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรค มินามา ตะ เกิดจากการรับประทานปลาที่มีสารปรอทสูง โรคอิไต-อิไต เกิดจากการได้รับสาร แคดเมียม 3. การผลิตน้าเพื่อบริโภคและอุปโภค น้าเสียกระทบกระเทือนต่อการผลิตน้าดื่ม น้าใช้อย่าง ยิ่ง แหล่งน้าสาหรับผลิตประปาได้จากแม่น้า ลาคลอง เมื่อแหล่งน้าเน่าเสียเป็นผลให้ คุณภาพน้า ลดลง ค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตเพื่อให้น้ามีคุณภาพเข้าเกณฑ์มาตรฐานน้าดื่มจะเพิ่มขึ้น 4. การเกษตร น้าเสียมีผลต่อการเพาะปลูก และสัตว์น้า น้าเสียที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ การเกษตร ส่วนใหญ่เป็นน้าเสียที่มีความเป็นกรดเป็นด่างสูง น้าที่มีปริมาณเกลืออนินทรีย์หรือ สารพิษสูง ฯลฯ ซึ่งเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยน้าเสียและเกิดจากผลของการทา เกษตรกรรม นั่นเอง เช่น การชลประทาน สร้างเขื่อนกักเก็บน้าไว้ใช้เพื่อการเกษตร ทั้งนี้เนื่องจากคุณสมบัติน้าใน ธรรมชาติประกอบด้วยเกลืออนินทรีย์เจือปนอยู่โดยเฉพาะ เกลือคลอไรด์ ขณะที่ใช้น้าเพื่อ การเกษตร น้าจะระเหยเป็นไอโดยธรรมชาติ ปริมาณเกลือ อนินทรีย์ซึ่งได้ระเหยจะตกค้างในดิน
  • 26. 19 เมื่อมีการสะสมมากเข้า ปริมาณเกลือในดินสูงขึ้น ทาให้ดินเค็มไม่เหมาะแก่การเพาะปลูก ปริมาณ เกลืออนินทรีย์ที่ตกค้างอาจถูกชะล้าง ภายหลังฝนตก หรือโดยระบายน้าจากการชลประทาน เกลือ อนินทรีย์จะถูกถ่ายทอดลงสู่ แม่น้าในที่สุด 5. ความสวยงามและการพักผ่อนหย่อนใจ แม่น้า ลาธาร แหล่งน้าอื่น ๆ ที่สะอาดเป็นความ สวยงามตามธรรมชาติ ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ เช่น ใช้เล่นเรือ ตกปลา ว่ายน้า เป็นต้น 4.3 แนวทางป้องกันและแก้ไขมลพิษทางน้า 1. การศึกษาและตรวจสอบเส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า ได้แก่ การเก็บข้อมูล พื้นฐานของตัวประกอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการแพร่กระจายของสารมลภาวะในปัจจุบันว่า อยู่ขั้นใด เช่น ข้อมูลสภาวะทางฟิสิกส์ ข้อมูลสภาวะทางเคมี ข้อมูลสภาวะทางชีวภาพ การเก็บ ข้อมูลมักใช้เวลาหลายปีเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ละเอียด เส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมเป็นข้อมูลเบื้องต้น ที่ถูกใช้ประกอบการพิจารณาวางมาตรฐานคุณภาพน้า 2. การวางมาตรฐาน วิธีวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม และเปรียบเทียบผลวิเคราะห์เพื่อ ความถูกต้อง เพื่อใช้สนับสนุนการศึกษาและการตรวจเส้นฐาน ข้อมูลของคุณภาพส่งแวดล้อมที่จะ ถูกใช้ในการวางเส้นฐานต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง 3. การแลกเปลี่ยนข้อมูล การศึกษาเส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้านั้น จาเป็น อย่างยิ่งต้องมีการเปรียบเทียบแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างประเทศ หรือระหว่างภูมิภาค ประเทศ กาลังพัฒนามีการตื่นตัวเรื่องนี้มากแต่ขาดนักวิจัย จึงควรมีการตั้งศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลในเรื่อง สิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า เช่น Aquatic science and Fisheries Information system (ASFIS) เป็ น หน่วยงานขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)และ International Oceanographic Data Exchange (IODE) เป็ น หน่ วยงาน ของ Intergovernmental Oceanographic Commission (IOC) ทั้งสองหน่วยงาน มีหน้าที่รายงานข้อมูลจาการสารวจและวิจัยที่รวบรวมได้จาก สมาชิกองค์กรสหประชาชาติ ข้อมูลบางส่วนมีข้อมูลเกี่ยวข้องกับเรื่องมลพิษทางน้า 4. การประเมินผลกระทบ โดยวิธีทดสอบทางชีวภาพ ธาตุหรือสารประกอบ รวมทั้งตัว ประกอบอื่นๆของสิ่งแวดล้อม 5. การประเมินผลกระทบทางนิเวศวิทยาในแต่ละพื้นที่ที่มีปัญหา ใช้ประกอบการ พิจารณาการวางมาตรฐานคุณภาพน้า ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นจริงในแต่ละพื้นที่ที่มีปัญหา
  • 27. 20 6. การวางมาตรฐานคุณภาพน้า การพิจารณาวางมาตรฐานคุณภาพน้าจะต้องอาศัยข้อมูล ที่ได้จากการศึกษาและวิจัยตามข้อ 5 การพิจารณาข้อมูลในข้อ 2, 4, 5 มาตรฐานคุณภาพน้าที่ได้ ตั้งขึ้นมามีประโยชน์ 2 ประการ ประการแรกใช้เป็นข้อมูลเปรียบเทียบกับข้อมูลต่างๆที่เก็บได้ใน อนาคต เพื่อว่าคุณภาพน้าในขณะนั้นเลวลงหรือไม่ ประการที่สองใช้เป็นหลักในการพิจารณา วางมาตรฐานการควบคุมการปล่อยของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมและแหล่งชุมชน 7. การศึกษาแหล่งต้นกาเนิดของมลสาร วิถีทาง และปริมาณ เช่น การจาแนกน้าทิ้งและ โสโครกออกเป็นประเภทต่างๆ ตามผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม แล้วทาการเก็บข้อมูลปริมาณ น้าทิ้งและน้าโสโครกเหล่านี้ที่ถูกปล่อยออกมาในแหล่งน้าแห่งใดแห่งหนึ่งในแต่ละวัน เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์ในการพิจารณาการวางมาตรฐานการควบคุมการปล่อยน้าทิ้งจากโรงงาน อุตสาหกรรมและบ้านเมือง 8. การวางมาตรการควบคุมและแก้ไขปัญหามลภาวะ การกาหนดปริมาณ มาตรฐานใน การปล่อยน้าโสโครก การควบคุม โดยมีกฎหมายเป็นตัวสนับสนุนละมีบทลงโทษ 9. การประเมินผล ทาให้ทราบถึงการจัดการนั้นมีผลมากน้อยเพียงใด โดยใช้ข้อมูลเส้น ฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้าในข้อ1 ซึ่งตรวจทุกปีประกอบการพิจารณา 4.4 การบาบัดน้าเสีย การบาบัดน้าเสีย หมายถึง การกาจัดหรือทาลายสิ่งปนเปื้อนในน้าเสียให้หมดไป หรือเหลือ น้อยที่สุดให้ได้มาตรฐานที่กาหนดและไม่ทาให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม น้าเสียจากแหล่งต่างกันจะ มีคุณสมบัติไม่เหมือนกันดังนั้นกระบวนการบาบัดน้าจึงมีหลายวิธี โดยระบบบาบัดน้าเสียทั่วไปมี 3 วิธีคือ 1. กระบวนการทางเคมี (chemical process) เป็นวิธีการบาบัดน้าเสียโดยการแยกสารต่างๆ หรือสิ่งปนเปื้อนในน้าเสียที่บาบัด เช่น โลหะ หนัก สารพิษ สภาพความเป็นกรด ด่างสูงๆ ที่ปนเปื้อนอยู่ด้วยการเติมสารเคมีต่าง ๆ ลงไปเพื่อให้เข้า ไปทาปฏิกิริยาซึ่งจะมีประโยชน์ในการแยกสาร แต่วิธีนี้มีข้อเสียคือ เมื่อเติมสารเคมีลงในน้าเสียแล้ว ทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและวิธีนี้จะมีค่าใช้จ่ายสาหรับสารเคมีค่อนข้างสูง ดังนั้น กระบวนการทางเคมีจะเลือกใช้ก็ต่อเมื่อน้าเสียไม่สามารถบาบัดได้ด้วยกระบวนการทางกายภาพ หรือชีวภาพ
  • 28. 21 การทาให้เกิดตะกอน (precipitation) อาศัยหลักการเติมสารเคมีลงไปทาปฏิกิริยาทาให้เกิด กลุ่มตะกอนตกลงมา โดยทั่วไปสารแขวนจะมีประจุลบ ดังนั้นสารเคมีที่เติมลงไปจึงเป็นประจุบวก เพื่อทาให้เป็นกลาง การแยกด้วยวิธีนี้มีค่าใช้จ่ายสูงแต่ก็มีประสิทธิภาพสูงเช่นกัน ดังนั้นวิธีนี้จะ เลือกใช้ต่อเมื่อไม่สามารถ แยกได้โดยกระบวนการทางชีวภาพหรือกายภาพ โดยส่วนมากสารเคมีที่ทาให้เกิดตะกอนจะละลายน้า เช่น เกลือของสารประกอบต่างๆ เช่น เกลืออะลูมิเนียมซัลเฟต หรือสารส้ม (Al2(SO4)) เกลือเหล็ก (FeCl3,FeSO4) และเกลือของแคลเซียม (Ca(OH)2) ส่วนเกลือที่นามาช่วยในการเกิดตะกอนได้ดียิ่งขึ้นนี้เป็ นสารประกอบของ กลุ่ม Activated ของ Silica และ Polyelectrolytes โดยกระบวนการทางเคมีมีหลายวิธี การเกิดออกซิเดชันทางเคมี (chemical oxidation) อาศัยหลักการเสียอิเล็กตรอนของอะตอม ให้แก่สารเคมีที่เติมลงไปในน้าเสียโดยสารเคมีนี้จะทาหน้าที่เป็นตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent) ส่วนมากวิธีนี้จะนิยมใช้เปลี่ยนโมเลกุลของโลหะที่เป็นพิษ เช่น การเปลี่ยน Fe2+ ซึ่งมีพิษมากไปเป็น สาร Fe3+ ซึ่งมีพิษน้อย ด้วยคลอรีน ดังแสดงในสมการต่อไปนี้ 2Fe2+ + Cl2 2Fe3+ + 2Cl- การเกิดรีดักชันทางเคมี (chemical reduction) เป็นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน วิธีการนี้ เป็นการเปลี่ยนสภาพของสารพิษไปเป็นสารที่มีอันตรายน้อยลง อะตอมหรือไอออน ของสารพิษจะ รับอิเล็กตรอนจากสารเคมีที่เติมลงไปซึ่งมีสมบัติเป็ นตัวรีดิวซ์ (reducing agent) เช่น การ เปลี่ยน Cr6+ ซึ่งมีพิษมากไปเป็น Cr3+ ด้วย เฟอรัสซัลเฟต (FeSO4) ในสภาพที่เป็นกรด ดังแสดงใน สมการต่อไปนี้ 6FeSO4 + 2CrO3 + 6H2SO4 3Fe2(SO4)3 + Cr2(SO4)3 + 6H2O การสะเทิน (neutralization) เป็นการเปลี่ยนค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของน้าเสียให้มีฤทธิ์ เป็นกลาง (pH = 7) ถ้าต้องการปรับค่าน้าเสียที่มีฤทธิ์เป็นกรด (pH < 7) ในน้าเสียให้สูงขึ้นต้องเติม สารที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น แคลเซียมคาร์บอเนตหรือโซเดียมไฮดรอกไซด์ ส่วนกรณีถ้าต้องการปรับ น้าเสียมีฤทธิ์เป็นด่าง (pH > 7) ให้มีค่า pH ต่าลงจะต้องเติมกรด เช่น กรดซัลฟิวริก กรดไนตริก กรด เกลือและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นต้น 2. กระบวนการทางชีววิทยา (Biological Process) กระบวนการทางชีววิทยา (biological process) เป็นการอาศัยหลักการใช้จุลินทรีย์ต่าง ๆ มา ทาการย่อยสลายเปลี่ยนอินทรีย์สารไปเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนีย เป็นการบาบัด
  • 29. 22 น้าเสียที่ดีที่สุดในแง่ของการลดปริมาณสารอินทรีย์ในแหล่งน้า แต่หลักการนี้เลือกสภาวะแวดล้อม ให้เหมาะกับการทางานของจุลินทรีย์โดยสัมพันธ์กับปริมาณของจุลินทรีย์และเวลาที่ใช้ในการย่อย สลาย แบคทีเรียที่เลือกใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์แยกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ แบคทีเรียที่ ต้องใช้ออกซิเจน (aerobic bacteria) ส่วนกลุ่มที่ 2 เป็นพวกไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic bacteria) 3. กระบวนการทางกายภาพ (physical process) กระบวนการทางกายภาพ (physical process) เป็นการบาบัดน้าเสียอย่างง่ายซึ่งจะแยก ของแข็งที่ไม่ละลายน้าออก วิธีนี้จะแยกตะกอนได้ประมาณ 50-65% ส่วนเรื่องการแยกความสกปรก ในรูปของสารอินทรีย์(BOD5) ประมาณ 20-30% เท่านั้น วิธีการต่าง ๆ ในกระบวนการนี้มีหลายวิธี เช่น การดักด้วยตะแกรง (screening) เป็ นการแยกเศษขยะต่าง ๆ ที่มากับน้าเสีย เช่น เศษไม้ ถุงพลาสติก กระดาษ ตะแกรงมีหลายขนาด การดักด้วยตะแกรงจึงเป็นการแยกขั้นตอนแรกในการ บาบัดน้าเสีย การตัดย่อย (combination) คือ การใช้เครื่องตัดทาลายเศษขยะขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็ก ลง การกวาด (skimming) เป็นการกาจัดนามันและไขมันโดยทาการดักหรือกวาดออกจากน้าเสีย การ ทาให้ลอย (floating) จะใช้กับตะกอนที่มีความถ่วงจาเพาะน้อยกว่าน้ า การตกตะกอน (sedimentation) เป็นการแยกตะกอนออกจากน้าเสียโดยอาศัยหลักการเรื่องแรงโน้มถ่วง ซึ่งจะใช้กับ ตะกอนที่มีความถ่วงจาเพาะมากกว่าน้า 4. กระบวนการทางกายภาพ-เคมี (physical-chemical process) เป็นกระบวนการที่ต้องมีอุปกรณ์ช่วยมากกว่ากระบวนการที่กล่าวมา ซึ่งกระบวนการนี้จะ ใช้ในขั้นตอนสุดท้ายในการบาบัดน้าเสีย ที่ผ่านกระบวนในขั้นตอนอื่นแล้ว เช่น กระบวนการ ดังต่อไปนี้ 1.) การดูดซับด้วยถ่าน (carbon adsorption) วิธีการนี้ใช้ผงถ่านหรือคาร์บอนเป็นตัว ดูดซับสารเจือปนที่ละลายอยู่ในน้าทิ้ง 2.) การแลกเปลี่ยนประจุ วิธีการนี้อาศัยหลักการแลกเปลี่ยนประจุระหว่างสาร ปนเปื้อนในน้าเสียกับตัวกลางที่บรรจุซึ่งมีทั้งประจุบวกและประจุลบ โดยจะมีการลาเลียงน้าภายใน วิธีการบาบัดน้าเสีย ขั้นตอนการบาบัดน้าเสีย โดยทั่วไปการบาบัดน้าทิ้งแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นดังนี้ (1.) การบาบัดขั้นเตรียมการ (preliminary treatment) เป็นขั้นตอนการแยก สิ่งสกปรกที่มีขนาดใหญ่ ไม่ละลายน้าออกจากน้า โดยการใช้ตะแกรง (Screens) (2.) การบาบัดขั้นต้น (primary treatment) น้าเสียที่ผ่านขั้นตอนจากข้อที่ 1 แล้ว จะถูกนามาตกตะกอนในถังตกตะกอน ซึ่ง เรียกว่า primary sludge การบาบัด
  • 30. 23 ในขั้นนี้จะลดค่า BOD ได้ประมาณ 25-40% แล้วแต่คุณลักษณะของน้าทิ้งและ ประสิทธิภาพของถังตกตะกอน (3.) การบาบัดขั้นที่สอง (secondary treatment) น้าเสียจากข้อ 2 จะถูก นาเข้าไปสู่ถังเติมอากาศซึ่งจะมีการเติมอากาศให้แก่แบคทีเรียโดยใช้เครื่องเติม อากาศ แบคทีเรีย ช่วยย่อยสลายและกาจัดสารอินทรีย์หรือ BOD ซึ่งอยู่ในรูปของ สารละลายหรืออนุภาคคอลลอยด์ ออกไปจากน้า กลายเป็นตะกอน ตกลงไปที่ก้น ถังกากตะกอนในส่วนนี้จะถูกนาไปกาจัดต่อไป น้าในส่วนบนของถังตกตะกอนจะ ใสขึ้น ในขั้นตอนนี้จะช่วยลดค่า BOD ลงได้ประมาณ 75-95% ซึ่งค่า BOD ของน้า ส่วนนี้จะต่ากว่า 20 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถปล่อยทิ้งลงสู่แม่น้าได้แต่ถ้าต้องการ ความสะอาดเหมาะแก่การนากลับมาใช้ใหม่เข้าสู่การบาบัดขั้นที่ 3 ต่อไป (4.) การบาบัดขั้นที่สาม (Tertiary treatment) ต้องการความบริสุทธิ์สะอาด สามารถนากลับมาใช้อุปโภคและบริโภคได้ กระบวนการบาบัดนี้จึงเป็ น กระบวนการเคมีรวมกับฟิสิกส์ - เคมี น้าทิ้งจากการบาบัด ขั้นตอนที่สอง จะถูก นามาตกตะกอนด้วยวิธีทางเคมีแยกสารประกอบฟอสเฟตออกด้วยปูนขาว จากนั้น จึงนามากาจัดสารอินทรีย์ที่เหลืออยู่ด้วยกระบวนการทาง ฟิสิกส์ เคมีด้วยวิธีการ ion exchange ซึ่งจะได้น้าที่สะอาดเมื่อผ่านการฆ่าเชื้อโรคแล้วจะได้น้าที่สะอาด หลักการจัดการน้าเสีย หลักการจัดการน้าเสียที่สาคัญได้แก่การนาน้าเสียที่เกิดขึ้นเข้าสู่กระบวนการบาบัดให้ได้ ตามมาตรฐานน้าทิ้ง ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพอนามัย โดยทั่วไปการจัดการน้าเสียจะ ประกอบด้วย 1. การรวบรวมน้าเสีย (collection) 2. การบาบัดน้าเสีย (treatment) 3. การนากลับมาใช้ประโยชน์ (reuse and reclamation) สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมมีการจัดการระบบบาบัดน้าเสียต่างกันไปทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาด พื้นที่ในการจัดการเรื่องระบบน้าเสีย สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่มีการถ่ายเทน้าเสียใน
  • 31. 24 ปริมาณมากออกสู่สิ่งแวดล้อม เช่นโรงงานน้าตาล โรงงานผลิตอาหารทางการเกษตร จะมีการจัดการ เรื่องระบบบาบัดซึ่งต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ ดังนั้นระบบบาบัดจึงเหมาะสาหรับเป็นระบบบ่อชนิด ต่างๆ ทั้งมีการใช้ออกซิเจนและไม่มีการใช้ออกซิเจน บ่อบาบัดที่ใช้ออกซิเจนที่อาศัยหลักการ ธรรมชาติและง่ายที่สุด เช่น ระบบ บ่อผึ่ง (oxidation pond)นอกจากนี้ยังมี บ่อเติมอากาศ (aerated Lagoon) บ่อที่มีออกซิเจน (aerobic pond) บ่อบาบัดที่ไม่ใช้ออกซิเจน เช่น บ่อหมัก (anaerobic pond)บ่อบาบัดทั้งสองประเภทจะเป็นรูปบ่อเดียวหรือหลายบ่อต่อเป็นอนุกรมก็ได้ ขึ้นอยู่กับความ เข้มข้นและปริมาณของน้าเสียที่จะทาการบาบัด ระบบบาบัดน้าเสียเหล่านี้อาศัยการทางานของ แบคทีเรียและสาหร่าย บ่อเหล่านี้ยังให้ผลพลอยได้ เช่น จะให้ก๊าซมีเทนมาใช้หุงต้มอาหาร แต่มี ข้อจากัดที่ใช้เนื้อที่ขนาดใหญ่และการทางานจะดียิ่งขึ้นถ้าบริเวณนั้นมีแสงแดดมาก ดังนั้นระบบ แบบนี้จึงเหมาะกับประเทศที่กาลังพัฒนาซึ่งมีข้อจากัดในเรื่องการลงทุนและค่าใช้จ่าย ระบบบาบัดที่ใช้พื้นที่น้อย ระบบบาบัดในกลุ่มนี้ก็มีมากมายหลายชนิดให้เลือก มีรูปแบบ และลักษณะที่แตกต่างกันออกไปเริ่มจากระบบตะกอนแขวนลอย (activated sludge, AS) ที่ต้องใช้ เครื่องจักรกลมากที่สุดและมีค่าใช้จ่ายสูง แต่มีคุณภาพในการจัดการสูง ระบบตะกอนยึดติดวัสดุ (Trickling Filter, TF) ระบบคลองวนเวียน (oxidation ditch) ระบบจานหมุน (rotating biological contractors) ระบบบาบัดในกลุ่มนี้ ออกแบบยากกว่า ผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจจึงจะเกิด ประสิทธิภาพ โดยสรุประบบบาบัดน้าเสียโดยชีวภาพที่นิยมในประเทศไทยมีด้วยกัน 5 ระบบได้แก่ 1. ระบบเอเอส (Activited Sludge - AS) ภาพที่ 4.4 ส่วนประกอบและระบบการทางานของระบบเอเอส 2. ระบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch - OD)
  • 32. 25 3. ระบบจานหมุนชีวภาพ (Rotating Biological Contactors - RBC) 4. ระบบบ่อผึ่ง (Oxidation Pond) 5. ระบบสระเติมอากาศ (Aerated Lagoon)