SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  111
Télécharger pour lire hors ligne
ความเป็ น มาของหนั ง สื อ เล่ ม นี้ 


	 กราบขอขมาต่อพ่อแม่ครูอาจารย์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน	                     	
เกล้าขอข้อความบางตอนทีสะกิดต่อมกิเลสของเกล้าและคณะศิษยานุศษย์	
                            ่                                           ิ
ของเกล้ามาทำเป็นหนังสือไว้ประจำตัวประจำใจ เพือตักเตือนในเรือง
                                                          ่               ่
ของการปฏิบัติ ในหนังสือเรื่องปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐานสาย
ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ มีเรื่องดังนี้
		 ๑.	ท่านพระอาจารย์มั่นกำหนดรู้ทิศทาง                (หน้า ๒๓๐	-	๒๖๑)
           ของทางเดินจงกลม
      ๒. วิธีเดินจงกลมภาวนา                                        “”
      ๓. วิธีนั่งสมาธิภาวนา                                        “”
      ๔. การปฏิบัติและอุบายแห่งการสั่งสอน             (หน้า ๓๔๘	-	๓๕๕)
           ลูกศิษย์ของท่านพระอาจารย์มั่น
	 ๕. การพิจารณาปัจจยาการของท่านพระอาจารย์มน	 “”             ั่
      ได้ทำแจกเป็นธรรมทานแก่คณะศิษยานุศษย์เป็นจำนวน ๒๐๐ เล่ม	
                                                ิ
จึงกราบขออนุญาตต่อพ่อแม่ครูอาจารย์หลวงตามหาบัว ญาณะสัมปันโน	
เพื่ อ อนุ เ คราะห์ ส งเคราะห์ แ ก่ บ รรดาเกล้ า กระผมผู้ มี กิ เ ลสหนาแน่ น	
ดังกอไผ่ ควรมิควรอย่างไรเกล้าขอกราบขอขมา มา ณ โอกาสนีขอรับ.	
  ่                                                                   ้
	

                                     พระครูบาเจ้าเพชร
วชิรมโน
                               วัดอ้อมแก้ว ต.ไผ่หลิว อ.ดอนพุด จ.สระบุรี
                          วันอาทิตย์ที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๒.๔๕ น.
ารเดิ น จงกรมกลั บ ไปกลั บ มา ไม่ ช้ า นั ก
                   ไม่ เ ร็ ว นั ก พองามตางามมรรยาท ตาม
                   เยียงอย่างประเพณีของพระผูทำความเพียร
                      ่                          ้
ท่ า เดิ น ในครั้ ง พุ ท ธกาล เรี ย กว่ า เดิ น จงกรมภาวนา
เปลี่ยนจากวิธีนั่งสมาธิภาวนามาเป็นเดินจงกรมภาวนา
เปลี่ยนจากเดินมายืน เรียกว่า ยืนภาวนา เปลี่ยนจากยืน
มาเป็นท่านอน เรียกว่า ท่าสีหไสยาสน์ภาวนา เพราะ
ฝั ง ใจว่ า จะภาวนาด้ ว ยอิ ริ ย าบถนอนหรื อ สี ห ไสยาสน์
การทำความเพียรในท่าใดก็ตาม แต่ความหมายมันปันมือ      ่ ้
ก็เพื่อชำระกิเลสตัวเดียวกันด้วยเครื่องมือชนิดเดียวกัน
มิได้เปลี่ยนเครื่องมือคือธรรมที่เคยใช้ประจำหน้าที่และ
นิสัยเดิม ก่อนเดินจงกรมพึงกำหนดหนทางที่ตนจะพึง
เดินสั้นหรือยาวเพียงไรก่อน ว่าเราจะเดินจากที่นี่ไปถึง
ที่นั้นหรือถึงที่โน้น หรือตกแต่งทางจงกรมไว้ก่อนเดิน
อย่างเรียบร้อย สั้นหรือยาวตามต้องการ
        วิธีเดินจงกรม ผู้จะเดินกรุณาไปยืนที่ต้นทางจงกรม
ที่ตนกำหนดหรือตกแต่งไว้แล้วนั้น พึงยกมือทั้งสองขึ้น
ประนมไว้เหนือระหว่างคิ้ว ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย คือ
พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ที่ตนถือเป็นสรณะ
คือทีพงทียดเหนียวของใจ และระลึกถึงคุณของบิดามารดา
       ่ ึ่ ่ ึ ่
อุ ปั ช ฌาย์ อ าจารย์ ตลอดท่ า นผู้ เ คยมี พ ระคุ ณ แก่ ต น
จบลงแล้วรำพึงถึงความมุ่งหมายแห่งความเพียรที่กำลัง
จะทำด้วยความตั้งใจเพื่อผลนั้นๆ เสร็จแล้วปล่อยมือลง
เอามือขวาทับมือซ้ายทาบกันไว้ใต้สะดือตามแบบพุทธ
รำพึง เจริญพรหมวิหาร ๔ จบแล้ว ทอดตาลงเบื้องต่ำ
ท่าสำรวม ตั้งสติกำหนดจิตและธรรมที่เคยนำมาบริกรรม
กำกับใจหรือพิจารณาธรรมทังหลาย ตามแบบทีเ่ คยภาวนา
                               ้
มาในท่าอื่นๆ เสร็จแล้วออกเดินจงกรมจากต้นทางถึง
ปลายทางจงกรมที่กำหนดไว้ เดินกลับไปกลับมาในท่า
สำรวม มี ส ติ อ ยู่ กั บ บทธรรมหรื อ สิ่ ง ที่ พิ จ ารณาโดย
สม่ำเสมอ ไม่สงจิตไปอืนจากงานทีกำลังทำอยู่ในเวลานัน
              ่           ่     ่                         ้
      การเดินไม่พึงเดินไกวแขน ไม่พึงเดินเอามือขัดหลัง
ไม่พึงเดินเอามือกอดอก ไม่พึงเดินมองโน้นมองนี่อันเป็น
ท่าไม่สำรวม การยืนกำหนดรำพึงหรือพิจารณาธรรมนั้น
ยืนได้โดยไม่กำหนดว่าเป็นหัวทางจงกรมหรือย่านกลาง
ทางจงกรม ยืนนานหรือไม่ ตามแต่กรณีที่ควรหยุดอยู่
หรือก้าวต่อไป เพราะการรำพึงธรรมนั้นมีความลึกตื้น
หยาบละเอี ย ดต่ า งกั น ที่ ค วรอนุ โ ลมตามความจำเป็ น
จนกว่าจะเข้าใจแจ่มแจ้งแล้วก้าวเดินต่อไป บางครังต้อง
                                                ้
ยืนพิจารณาร่วมชั่วโมงก็มีถึงจะเข้าใจแจ่มแจ้งแล้วก้าว
เดินต่อไป การเดินกำหนดคำบริกรรมหรือพิจารณาธรรม
ไม่นับก้าวเดิน นอกจากจะถือเอาก้าวเดินนั้นเป็นอารมณ์
แห่งความเพียรก็นับก้าวได้ การทำความเพียร
ในท่าใด สติเป็นสิ่งสำคัญประจำความ
เพียรท่านั้นๆ การขาดสติไปจากงานที่ทำเรียกว่า
ขาดความเพียรในระยะนั้นๆ ผู้บำเพ็ญพึงสนใจสติให้มาก
เท่ากับสนใจต่อธรรมที่นำมาบริกรรม การขาดสติ
แม้คำบริกรรมภาวนาจะยังติดต่อกันไป
เพราะความเคยชินของใจก็ตาม แต่ผล
คือความสงบของจิตจะไม่ปรากฏตาม
ความมุ่งหมาย
      การเดินจงกรมจะเดินเป็นเวลานานหรือไม่เพียงไร
ตามแต่จะกำหนดเอง การทำความเพียรในท่าเดินก็ดี
ท่ายืนก็ดี ท่านอนก็ดี ท่านั่งก็ดี อาจเหมาะกับนิสัยในบาง
ท่านที่ต่างกัน การทำความเพียรในท่าต่างๆ นั้น เพื่อ
เปลี่ยนอิริยาบถไปในตัวด้วย ไม่เพียงมุ่งกำจัดกิเลสโดย
ถ่ายเดียว เพราะธาตุขนธ์เป็นเครืองมือทำประโยชน์จำต้อง
                      ั           ่
มีการรักษา เช่น การเปลี่ยนอิริยาบถท่าต่างๆ เป็นความ
เหมาะสมสำหรับธาตุขันธ์ที่ใช้งานอยู่เป็นประจำ ถ้าไม่มี
การรักษาด้วยวิธีต่างๆ ธาตุขันธ์ต้องกลับมาเป็นข้าศึก
แก่เจ้าของจนได้ คือต้องพิกลพิการไปต่างๆ สุดท้ายก็
ทำงานไม่ถึงจุดที่มุ่งหมาย
พระธุ ด งค์ ท่ า นถื อ การเดิ น จงกรมเป็ น งานประจำชี วิ ต
จิตใจจริงๆ โดยมากท่านเดินครั้งละหนึ่งชั่วโมงขึ้นไป
ตอนเช้าหลังจังหันแล้วท่านเริ่มเข้าทางจงกรม กว่าจะ
ออกมาก็ ๑๑ นาฬิ ก า หรื อ เที่ ย ง แล้ ว พั ก เล็ ก น้ อ ย
บ่ายหนึ่งโมงหรือสองโมงก็เข้าทางและเดินจงกรมต่อไป
อีกจนถึงเวลาปัดกวาดที่พัก อาบน้ำ เสร็จแล้วเข้าเดิน
จงกรมอีกจนถึงหนึ่งถึงสองทุ่ม ถ้าไม่ใช่หน้าหนาวก็เดิน
ต่อไปจนถึงสีถงห้าทุม ถึงจะเข้าทีพกทำสมาธิภาวนาต่อไป
               ่ึ ่                  ่ ั
อย่างไรก็ตามการเดินจงกรมกับนังสมาธิ ท่านต้องเดินนาน
                                   ่
นังนานเสมอเป็นประจำไม่วาจะพักอยูในทีเ่ ช่นไรและฤดูใด
  ่                           ่          ่
ความเพียรท่านเสมอตัวไม่ยอมลดหย่อนผ่อนตัวให้กิเลส
เพ่นพ่านก่อกวนทำความรำคาญแก่ใจท่านนัก ท่านพยายาม
ห้ำหั่นอยู่ทุกอิริยาบถ จึงพอเห็นผลจากความเพียรบ้าง
ต่อไปก็เห็นผลไปโดยลำดับ
       ขั้นเริ่มแรกที่ฤทธิ์กิเลสกำลังแข็งแรงนี้ลำบากอยู่
บ้าง ดีไม่ดีถูกมันจับมุดลงหมอนสลบครอกไปไม่รู้สึก
กว่ า จะรู้ สึ ก ตั ว ขึ้ น มามั น เอาเครื่ อ งในไปกิ น จนอิ่ ม และ
หนีไปเที่ยวรอบโลกได้หลายทวีปแล้ว จึงจะงัวเงียตื่นขึ้น
มาและบ่นให้ตัวเองว่า เผลอตัวหลับไปงีบหนึ่ง วันหลัง
จะเร่ ง ความเพี ย รให้ เ ต็ ม ที่ วั น นี้ ค วามโงกง่ ว งทำพิ ษ
จึงทำให้เสีย ความจริงคือกิเลสทำพิษนั่นเอง วันหลังยัง
ไม่มองเห็นหน้ามันเลย ถูกมันจับมัดเข้าอีกแต่ไม่เข็ด
เจ็บก็เจ็บแต่ไม่เข็ด คือกิเลสเฆี่ยนคนนี่แล นักภาวนาเคย
ถู ก มั น ดั ด มาพอแล้ ว บ่ น กั น ยุ่ ง ว่ า ลวดลายไม่ ทั น มั น
สมกับมันเคยเป็นอาจารย์ของคนและสัตว์ทั้งโลกมาเป็น
เวลานาน
      ตอนเริ่ ม ฝึ ก หั ด ความเพี ย รที แ รกนี่ แ ลตอนกิ เ ลส
โมโห พยายามบีบบังคับหลายด้านหลายทาง พยายาม
ทำให้ ขี้ เ กี ย จบ้ า ง ทำให้ เ จ็ บ ที่ นั่ น ปวดที่ นี่ บ้ า ง ทำให้
ง่วงเหงาหาวนอนบ้าง ทำหาเรืองว่ายุงไม่มเี วลาภาวนาบ้าง
                                     ่          ่
จิตกระวนกระวายนั่งภาวนาไม่ได้บ้าง บุญน้อยวาสนา
น้อย ทำไม่ได้มาก นั่งไม่ได้นานบ้าง ทำให้คิดว่ามัวแต่นั่ง
หลั บ ตาภาวนาจะไม่ แ ย่ ไ ปละ หรื อ อะไรๆ ไม่ ทั น เขา
รายได้จะไม่พอกับรายจ่ายบ้าง ราวกับว่าก่อนแต่ยังไม่ได้
10
ฝึกหัดภาวนาเคยมีเงินเป็นล้านๆ พอจะเริมภาวนาเข้าบ้าง
                                           ่
ตัว “เริ่มจะ” เอาไปกินเสียหมด ยิ่งถ้าได้ภาวนาเข้าจริงๆ
ตัวกิเลสจะไม่ท้องใหญ่ปากกว้างยิ่งกว่ายักษ์ใหญ่เอาไป
กินหมดละหรือ พอถูกกิเลสเท่านี้เข้าเกิดคันคายเจ็บปวด
ระบมไปทั้ ง ตั ว สุ ด ท้ า ยยอมให้ มั น พาเถลไถลไปทาง
ที่เข้าใจว่าไม่มียักษ์มีมาร แต่เวลากลับกระเป๋ามีเท่าไร
เรียบวุธ ไม่ทราบอะไรมาเอาไป
      คราวนี้ไม่บ่นเพราะไม่รู้จักตัวผู้มาขโมย ไม่ทราบว่า
เป็นใคร เพราะกระเป๋าก็ตดอยูกบตัวไม่เผลอไผลวางทิงไว้
                         ิ ่ั                                 ้
ที่ไหนพอขโมยจะมาลักไปได้ เป็นอันว่าเรียบตามเคย
โดยไม่รู้จักต้นสายปลายเหตุ วันหลังไปใหม่ก็เรียบกลับ
มาอีก แต่จับตัวขโมยไม่ได้ นี่แลทางเดินของกิเลสมัน
ชอบเดินแต้มสูงๆ อย่างนี้แล จึงไม่มีใครจับตัวมันได้
ง่ายๆ แม้พระธุดงค์ไม่มีสมบัติอะไรก็ยังถูกมันขโมยได้
คื อ ขโมยสมาธิ จิ ต จนไม่ มี ส มาธิ วิ ปั ส สนาติ ด ตั ว นั่ น แล
ท่านเคยถูกมาแล้ว จึงได้รีบเตือนพี่น้องชาวพุทธทั้งหลาย
โปรดพากันระวังตัวเวลาเริ่มเข้าวัดเข้าวาหาศีลหาธรรม
                                                             11
หาสมาธิภาวนา กลัวว่ามันจะมาขโมยหรือแย่งเอาตัวไป
ต่อหน้าต่อตาแล้วจับตัวไม่ได้ไล่ไม่มวนจน ดังพระท่านถูก
                                   ีั
มาแล้ว ถ้าทราบไว้กอนบ้างจะพอมีทางระวังตัว ไม่สนเนือ
                   ่                            ิ้ ้
ประดาตัวไปเปล่าแบบไม่มีปี่มีขลุ่ยขับกล่อมให้อาณัติ
สัญญาณว่า กิเลสมากอบโกยเอาของดีไปใช้ไปทานเสีย
จนหมดตัว
      ท่านที่เริ่มฝึกหัดใหม่ กรุณากำหนดเวลาในการเดิน
จงกรมเอาเอง แต่กรุณากำหนดเผื่อไว้บ้าง เวลากิเลส
ตัวร้อยเล่ห์พันลวงมาแอบขโมยเอาสิ่งของ จะได้เหลือ
คำภาวนาติ ด ตั ว ไว้ บ้ า ง ขณะเดิ น จงกรมพึ ง
กำหนดสติกับคำบริกรรมให้กลมกลืน
เป็ น อันเดียวกัน ประคองความเพียร
ด้วยสติสมปชัญญะ มีใจแน่วแน่ตอธรรม
          ั                          ่
ที่บริกรรม เช่น กำหนดพุทโธให้จิตรู้อยู่กับพุทโธ
ทุกระยะทีกาวเดินไปและถอยกลับมา ชือว่าผูมความเพียร
             ่้                         ่ ้ ี
ในท่านั้นๆ ไม่ขาดวรรคขาดตอนไปในระหว่างตามที่ตน
เข้ า ใจว่ า บำเพ็ ญ เพี ย ร ผลคื อ ความสงบเย็ น ถ้ า จิ ต
12
ไม่เผลอตัวไปสู่อารมณ์อื่นในระหว่างเสียก่อน ผู้ภาวนา
ต้ อ งหวั ง ได้ ค รองความสุ ข ใจในขณะนั้ น หรื อ ขณะใด
ขณะหนึงแน่นอน ข้อนีกรุณาเชือไว้กอนก็ได้วาพระพุทธเจ้า
        ่               ้      ่ ่         ่
และครูอาจารย์ททานสอนจริงๆ ด้วยความเมตตาอนุเคราะห์
                   ี่ ่
ท่านไม่โกหกให้เสียเวลาและเปล่าประโยชน์แน่นอน
        ก่อนท่านจะได้ธรรมมาสั่งสอนประชาชน ท่านก็คือ
ผู้ล้มลุกคลุกคลานมาด้วยความลำบากทรมานผู้หนึ่งก่อน
เราผู้กำลังฝึกหัด จึงไม่ควรสงสัยท่านว่าเป็นผู้ล้างมือ
คอยเปิบมาก่อนท่าเดียวโดยไม่ลงทุนลงรอนมาก่อน ทุน
ของพระพุทธเจ้าก็คือความสลบไสลไปสามหน ทุนของ
พระสาวกบางองค์ ก็ คื อ ฝ่ า เท้ า แตกและเสี ย จั ก ษุ ไ ปก็ มี
ต่างๆ กัน แต่ได้ผลที่พึงทั้งเลิศทั้งประเสริฐทั้งอัศจรรย์
เหนือโลก เป็นเครื่องสนองตอบแทนสิ่งที่เสียไปเพราะ
ความเพียรอันแรงกล้านั้นๆ ท่านข้ามโลกไปได้โดยตลอด
ปลอดภัยไร้ทุกข์ทั้งมวล ทั้งนี้ เพราะการยอมเสียสละ
สิ่งที่โลกรักสงวนกัน ถ้าท่านยังมัวหึงหวงห่วงความทุกข์
ความลำบากอยู่ ก็คงต้องงมทุกข์บุกโคลนโดนวัฏฏะอยู่
                                                          1
เช่นเราทั้งหลายนี้แล จะไม่มีใครแปลกต่างกันในโลก
มนุษย์
        เราจะเอาแบบไหน ดิ้นวิธีใดบ้าง จึงจะหลุดพ้นจาก
สิ่งไม่พึงปรารถนาทั้งหลายที่มีเกลื่อนอยู่ในท่านในเรา
เวลานี้ ควรฝึกหัดคิดอ่านตัวบ้างในขณะทีพอคิดได้อานได้
                                        ่           ่
เมื่อเข้าสู่ที่คับขันและสุดความสามารถจะดิ้นรนได้แล้ว
ไม่ มี ใ ครสามารถเข้ า ไปนั่ ง ทำบุ ญ ให้ ท านรั ก ษาศี ล
ทำสมาธิภาวนาอยู่ในกองฟืนกองฟอนในเตาแห่งเมรุได้
เห็นมีแต่ไฟทำงานแต่ผู้เดียว จนร่างกายเป็นเถ้าเป็นถ่าน
ไปถ่ายเดียวเท่านั้น เราเคยเห็นอยู่ต่อหน้าต่อตาด้วยกัน
ซึ่งควรสลดสังเวชและน่าฝังใจไปนาน
     การเดิ น จงกรม นั่ ง สมาธิ ภ าวนา
คือการกลั่นกรองหาสิ่งที่เป็นสารคุณ
ในตั วเรา ซึ่ ง เป็น งานสำคั ญ และมี ผ ล
เกินคาดยิงกว่างานอืนใด จึงไม่ควรยอม
           ่           ่
ให้ กิ เ ลสตั ณ หาอวิ ช ชามาหลอกเล่ น
1
ให้เห็นเป็นงานล่อลวงล่มจมป่นปี้ไม่มี
ชิ้นดี ความจริงก็คือตัวกิเลสเสียเองนั่นแลเป็นผู้ทำคน
และสั ต ว์ ใ ห้ ฉิ บ หายป่ น ปี้ เ รื่ อ ยมา ถ้ า หลงกลอุ บ ายมั น
จนไม่สำนึกตัวบ้าง การกลันกรองจิตด้วยสมาธิภาวนาก็คอ
                                 ่                               ื
การกลั่นกรองตัวเราออกเป็นสัดเป็นส่วน เพื่อทราบว่า
อั น ไหนจริ ง อั น ไหนปลอม อั น ไหนจะพาให้ เ กิ ด ทุ ก ข์
อันไหนจะพาให้เกิดสุข อันไหนจะพาไปนรก อันไหนจะพา
ไปสวรรค์ และอันไหนจะพาไปนิพพาน สิ้นทุกข์ทั้งมวล
นั่นเอง
    ความจำเป็นที่เราทุกคนจะต้องเผชิญนี้มิใช่งานของ
พระพุทธเจ้า มิใช่งานของพระสาวกองค์ใด และมิใช่งาน
ของศาสนาจะพึงโฆษณาให้คนเชื่อและนับถือเพื่อหวังผล
จากการนั้น ธรรมประเสริฐสามดวงที่กล่าวถึงนั้น เป็น
ความสมบูรณ์ตลอดกาลอยู่แล้ว ไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย
จากใครและอะไรแม้แต่นอย งานนันจึงตกเป็นงานของเรา
                          ้         ้
ของท่ า น ผู้ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความจำเป็ น อยู่ เ ฉพาะหน้ า

                                                              1
1
จะพึ ง แสวงหาทางหลบหลี ก ปลี ก ตั ว เต็ ม สติ ก ำลั ง
ความสามารถของแต่ ล ะราย เพื่ อ แคล้ ว คลาดไปได้
เป็นพักๆ มิใช่จะนั่งนอนคอยสิ่งน่ากลัวทั้งหลายอยู่โดย
ไม่ คิ ด อ่ า นอะไรบ้ า งเลย ราวกั บ หมู ค อยขึ้ น เขี ย งด้ ว ย
ความเพลิดเพลินในแกลบรำเพราะเห็นแก่ปากแก่ท้อง
เพียงเท่านั้น เพราะชาติมนุษย์กับชาติสัตว์ตัวไม่รู้จักคิด
อ่านไตร่ตรองอะไรเลยนั้น ผิดกันลิบลับราวกับฟ้ากับดิน
ไม่ควรอย่างยิ่งที่จะปล่อยให้ร่างกายจิตใจ ไปทำหน้าที่
ระคนคละเคล้ากันกับสัตว์ที่ไม่มีความหมายในสารคุณ
อะไร นอกจากกระเทียมและหัวหอมที่เป็นของคู่ควรกัน
กับสัตว์เหล่านั้นเท่านั้น
      การกล่าวทั้งนี้มิได้มุ่งติเตียนทำลายท่านสุภาพชน
ทั้งหลาย ด้วยอรรถธรรมที่กล่าวมา แต่กล่าวมาเพื่อช่วย
พยุงส่งเสริมจิตใจกายวาจาที่กำลังถูกสิ่งลามกตกโคลน
มาทำหน้าทีเ่ ป็นนายเขียงสับยำเป็นอาหารอันอร่อยของมัน
ต่างหาก เพื่ อ สติ ปั ญญาจะได้สะดุดตัวทราบว่าเวลานี้
เราตกอยู่ในสภาพเช่นไร จึงพยายามด้วยอุบายที่เห็นว่า
                                                            1
จะพอเป็ น เครื่ อ งช่ ว ยให้ พ้ น ภั ย จากมั น บ้ า ง สมเป็ น
พุทธศาสนิกชน ทางทีพอจะทราบได้กคอ การหัดอ่าน
                             ่                   ็ื
ตัวเองด้วยสมาธิภาวนา ซึ่งเป็นอุบายที่ควร
ทราบได้ ง่ า ยกว่ า วิ ธี อื่ น เพราะกิ จ นี้ อ ยู่ กั บ ตั ว ทำหน้ า ที่
อยู่ในตัว และคิดอ่านเรื่องของสัตว์โลกไปในตัวโดยตรง
ผิดกับถูก ดีกบชัว สุขกับทุกข์กมอยูกบตัว เมืออ่านบ่อยๆ
                     ั ่                   ็ี ่ั          ่
ก็ค่อยทราบไปเอง เมื่อทราบตัวเองก็ต้องทราบเรื่องทุกข์
ที่ เ กิ ด กั บ ตั ว จิ ต ใจก็ นั บ วั น จะเด่ น ดวงและมี คุ ณ ค่ า ขึ้ น
ราวกับสินค้าขึ้นราคานั่นแล
      ใครหัดคิดหัดอ่านตัวเองมากๆ ผูนนจะทราบหนทาง
                                     ้ ั้
หลบหลีกปลีกทุกข์ ไม่เหมากันไปตลอดกาล ดังที่เคย
เป็นมา ความเห็นภัยในทุกข์ที่มีอยู่กับตัวก็นับวันจะเห็น
ไปโดยสม่ำเสมอ มีหนทางหลบหลีกภัยไปเรือยๆ พ้นไปได้
                                          ่
โดยลำดับ การเห็นทุกข์ก็เห็นอยู่กับตัวไปทุกระยะที่ทุกข์
เกิดขึ้น แม้การพ้นทุกข์ก็ทราบว่าพ้นอยู่กับตัวด้วยกำลัง
สมาธิสติปัญญา พูดถึงความทุกข์ ความเป็นความตาย
และภพชาติที่จะเผชิญกันมากน้อยเพียงไรก็ไม่วิตกกังวล
1
เพราะได้ประมวลมารู้เห็นในขันธ์เฉพาะหน้าที่รวมรับรู้อยู่
กับดวงใจเดียวทีกำลังฝึกซ้อมตัวอยูขณะนีแล้ว ยังเป็นอยู่
                  ่              ่     ้
ก็เย็นใจเพราะคุณธรรมอยู่กับตัว แม้ตายไปก็มีสุคโตเป็น
ที่อยู่เสวย นี่คือผลของการทำสมาธิเดินจงกรมภาวนา
สามารถยังผูบำเพ็ญให้เกิดความรืนเริงอาจหาญได้ผดคาด
            ้                  ่               ิ
ผิดหมาย จึงเป็นกิจทีควรทำเพือตัวเราเอง ไม่ควรประมาท
                    ่        ่
ซึ่งอาจเป็นภัยอย่างคาดไม่ถึง
       การกำหนดจิตตั้งสติในเวลาเดินจงกรมกรุณาทำ
เป็ น ล่ ำ เป็ น สั น สมที่ เ จตนามุ่ ง หน้ า หาของดี การเดิ น
จงกรมภาวนาเป็นการแสวงหาของดีที่ถูกทาง ไม่มีข้อ
ควรตำหนิ นักปราชญ์ชมเชยกันทั่วโลก ควรพยายามทำ
จิตใจให้สงบในเวลานั้นจนได้ อย่าสักแต่ว่าทำ จะเห็น
ความประเสริฐอัศจรรย์ของตัวเอง คือจิตที่ถูกห่อหุ้มด้วย
ของเศษเดนทังหลาย จนขาดความสนใจว่าสิงทีถกหุมห่อ
                    ้                              ่ ู่ ้
นั้นไม่สำคัญ ยิ่งกว่าสิ่งเศษเดนที่หุ้มห่อ จึงมักพากันหลง
ไปกับสิ่งนั้นจนลืมสำนึกตัว

                                                          1
ความจริง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ทีกระเดืองเลืองลือ
                                        ่ ่ ่
ในไตรภพตลอดมานั้น ก็ออกจากใจที่เป็นทั้งเหตุและผล
อัศจรรย์ดังกล่าวมา คือใจดวงหลุดลอยจากของเศษเดน
ทั้งหลายออกมาแล้วนั่นแล ที่มีพระนามว่าพระพุทธบ้าง
พระสงฆ์บาง ตามอาการของผูทรง เมือปราศจากผูทรงแล้ว
             ้                ้     ่          ้
ก็เป็นธรรมล้วนๆ ไม่มีคำว่าจิต ว่าพระพุทธเจ้า อันเป็น
สมมุติขั้นสูงสุดอยู่ในนั้นอีกเลย เหลือแต่คำว่า “ธรรม”
พระนามนีกเ็ ป็นสมมุตขนสูงสุดอีกพระนามหนึง แต่จำต้อง
           ้          ิ ั้                 ่
ทรงพระนามนี้ไว้เป็นหลักใหญ่ของโลกผู้หวังพึ่งธรรม
จนกว่าได้บรรลุถงความไม่หวังพึงสิงใดแล้ว คำว่าธรรมกับ
                 ึ              ่ ่
ผู้นั้นก็ทราบกันเองไม่มีทางสงสัยแม้ไม่เคยทราบมาก่อน
       ดังนั้นคำว่า “จิต” ทั้งจิตท่าน จิตเรา ย่อมเป็น
เช่ น เดี ย วกั น ทั้ ง โลก แต่ สิ่ ง ที่ ท ำให้ จิ ต ผิ ด กั น ไปต่ า งๆ
จนคาดไม่ อ อกบอกไม่ ถู ก มองไม่ เ ห็ น พิ สู จ น์ ไ ม่ ไ ด้
ในสั ง คมสามั ญ ของคนมี กิ เ ลสนั้ น เพราะสิ่ ง แวดล้ อ ม
ทั้ ง หลาย ซึ่ ง มี ม ากและต่ า งๆ กั น จนพรรณนาไม่ จ บ
เข้าเกี่ยวข้องพัวพัน จิตที่ถูกสิ่งเหล่านั้นปกคลุมคละเคล้า
20
จนเป็ น อั น เดี ย วกั น จึ ง เป็ น จิ ต ที่ ผิ ด กั น มาก จนไม่ อ าจ
ทราบได้วาจิตนันมีความหนาบางจากสิงดังกล่าวมากน้อย
           ่ ้                                       ่
เพียงไร และพิสจน์ไม่ได้วาจิตของผูนนเดิมมาจากภพชาติ
                   ู            ่               ้ ั้
อะไรบ้าง มีอะไรปกคลุมหุ้มห่อมากที่สุด บรรดาที่มีนาม
ว่ากิเลสหรือของเศษเดนแห่งท่านผู้วิเศษทั้งหลาย
      ท่ า นผู้ ใ ดพยายามชำระแก้ ไ ขสิ่ ง ดั ง กล่ า วออกได้
มากน้อยเพียงไร ย่อมได้รับความสุขมากน้อยตามเหตุที่
ชำระได้ ถึงขั้นบริสุทธิ์ก็เป็นผู้สิ้นทุกข์ทางใจในท่ามกลาง
แห่งขันธ์ที่กำลังครองอยู่ ดังพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์
ท่านที่ตรัสรู้และบรรลุธรรมแล้ว ย่อมทรงเสวยและเสวย
วิมุตติสุขในขณะนั้นโดยไม่อ้างกาลสถานที่เลย ขอแต่
กิเลสที่เป็นตัวข้าศึกแก่จิตใจได้สิ้นสูญไปก็พอแล้ว ฉะนั้น
จึงมีเพียงกิเลสอย่างเดียวกั้นกางมรรคผลนิพพานไม่ให้
จิตบรรลุถงได้ นอกนันไม่มอะไรหรือผูใดมีอำนาจกันกางได้
            ึ         ้ ี               ้             ้
การสอนธรรมจึงสอนลงที่จิตซึ่งเป็นที่ซ่องสุมของกิเลส
ทั้งมวล ด้วยธรรมปฏิบัติ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา อันเป็น
หลักใหญ่ในบรรดาธรรมแก้ไขบุกเบิก
                                                                21
การเดินจงกรม จึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะสามารถทำกิเลส
ให้หลุดลอยออกจากใจได้เช่นวิธีทั้งหลาย มีการนั่งสมาธิ
ภาวนา เป็นต้น จึงควรสนใจฝึกหัดทำแต่บัดนี้เป็นต้นไป
เช่นเดียวกับงานทางโลกอันเป็นงานอาชีพ และงานเพื่อ
เกียรติแห่งสังคมมนุษย์ที่นิยมกัน ส่วนงานคือการทำ
ความดีมการเดินจงกรมเป็นต้นดังกล่าวมา เป็นงานพยุงตน
        ี
ทั้งภายในและภายนอก และเป็นงานพยุงเพื่อนมนุษย์และ
สัตว์ในโลกอีกด้วย ตามแต่กำลังความดีของแต่ละท่านละ
คนจะแผ่ ค วามสุ ข ให้ โ ลกได้ รั บ มากน้ อ ยเพี ย งไร เช่ น
พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ทรงทำความร่มเย็นแก่โลก
ทั้งสามได้มากมหามาก ไม่มีท่านผู้ใดกล้าเป็นคู่แข่งได้
พระอรหันต์แต่ละองค์ทำความร่มเย็นให้แก่โลกได้มาก
พอประมาณรองพระพุทธเจ้าทั้งหลายลงมา และมากกว่า
สามัญชนทำต่อกัน
    สุภาพชนถ้าเป็นผู้ใหญ่มีอำนาจวาสนามาก ก็ทำ
ประโยชน์แก่ประชาชนราษฎรได้มาก ราษฎรเคารพนับถือ
และยกย่องเป็นพ่อพระแม่พระผู้หนึ่ง และรักมากราวกับ
22
พ่อแม่ของตนจริงๆ ยิงมีผใหญ่เป็นคนดีจำนวนมากเพียงไร
                    ่ ู้
ก็เป็นการแสดงออกแห่งความเจริญรุ่งเรืองของหมู่ชน
มากเพียงนัน ศาสนาและผูประกาศสอนธรรมการสงเคราะห์
           ้             ้
โลกด้วยวิธีต่างๆ โดยไม่คิดค่าตอบแทนในทางอามิสและ
สินจ้างรางวัลใดๆ ชื่อว่าผู้สร้างความกระหยิ่มปริ่มด้วย
ความเมตตาวิหารธรรม และจงรักภักดีแก่ประชาชนได้รับ
ไม่มีวันจืดจางอิ่มพอ หลับและตื่นเขาย่อมระลึกบูชาเป็น
ขวัญตาขวัญใจอยู่ตลอดเวลา ไปที่ไหนไม่เป็นภัยแก่โลก
นอกจากสร้ า งบุ ญ สร้ า งคุ ณ แก่ ผู้ อื่ น ให้ เ ต็ ม ตื้ น ไปด้ ว ย
ความปีติยินดีโดยทั่วกันถ่ายเดียวเท่านั้น
        ศาสนากั บ ผู้ ส งเคราะห์ โ ลกด้ ว ยธรรมและอามิ ส
จึ ง เป็ น เหมื อ นนายแพทย์ แ ละนางพยาบาลที่ มี ค วาม
สงสารเมตตาเที่ ย วแจกยา และรั ก ษาโรคให้ ห มู่ ช น
ผู้ จ ำเป็ น ที่ ชี วิ ต อยู่ กั บ ยาและหมอ แม้ เ ขาหายโรคแล้ ว
แต่บุญคุณที่เขาระลึกต่อหมอผู้มีคุณนั้นจะไม่มีวันลืมเลย
นี่แลอำนาจของความดี ไม่เลือกชาติชั้นวรรณะ ย่อมมี
ความปรารถนาทั่วหน้ากัน ความดีและศาสนาจึงมิได้เป็น
                                                                2
ของล้าสมัยดังทีบางคนเข้าใจ ทังทีเ่ ขาก็ยงหวังพึงผูอนอยู่
                 ่                  ้              ั      ่ ้ ื่
ด้วยความกระหายต่อความเมตตาอารีของท่านผู้ใจบุญ
ทั้งหลาย อันมีศาสนาเป็นแหล่งผลิตคนดี เพราะศาสนา
เป็นแหล่งแห่งความดีทั้งมวล ถ้ามิใช่คนดีจะนำศาสนา
ออกสอนโลกไม่ได้แน่นอน หลักศาสนาอย่างน้อยก็คือ
หั ว ใจของคนดี นั่ น แล ยิ่ ง กว่ า นั้ น ก็ คื อ หั ว ใจของท่ า นที่
บริสุทธิ์วิมุตติธรรมทั้งดวง ดังศาสดาของศาสนาพุทธ
เป็นต้น
      จะเป็ น ใครอื่ น มาจากที่ ไ หนที่ จ ะมี แ ก่ ใ จและ
ความสามารถ ใครบ้ า งที่ มี แ ก่ ใ จเสี ย สละเพื่ อ หมู่ ช น
เหมือนหัวใจของเจ้าของศาสนาผู้นำธรรมออกสอนโลก
ดังพระพุทธเจ้าทั้งหลายที่ทรงเสียสละเต็มพระทัยแล้ว
และพระสาวกอรหันต์ของพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์
ที่ทำประโยชน์แก่หมู่ชน ถ้าไม่ ใช่ท่านผู้มี ใจขาวสะอาด
ปราศจากความเห็นแก่ตัวแล้ว จะยอมเสียสละทุกอย่าง
เพื่อโลกไม่ได้เลย ข้อนี้น่าเชื่อเหลือเกิน แม้ไม่มีใครเชื่อ
ด้วยก็ยอมโง่เชื่อคนเดียว เพราะเราท่านเกิดมาในโลกนี้
2
ก็นานพอจะทราบความคับแคบ ความกว้างขวาง ความ
เห็นแก่ตว ความเห็นแก่ผอน เพือนฝูงทีเ่ ป็นมนุษย์ดวยกัน
           ั               ู้ ื่ ่              ้
ได้ดี เพราะต่างก็อยู่โลกอันเดียวกัน ความทุกข์สุกดิบ
เกี่ยวเนื่องกันอยู่ทุกวันเวลาอย่างแยกไม่ออก จะไม่ทราบ
เรื่องของกันนั้นเป็นไปไม่ได้ ต้องทราบแน่นอน
        คนทีเ่ บือหน่ายเกลียดชังกันก็เพราะทราบเรืองของกัน
                 ่                               ่
คนที่รักชอบขอบใจตายใจเชื่อสนิทต่อกันก็เพราะทราบ
เรืองของกัน การแสดงออกแห่งศาสนาของศาสดาแต่ละองค์
      ่
ซึ่งเป็นการสะเทือนโลกธาตุ เพราะการปลุกปลอบใจสัตว์
ทังหลายให้ตนจากหลับ ทีเ่ คยจมอยูในกองกิเลสทังหลาย
    ้              ื่                  ่           ้
ให้ฟื้นตื่นตัวด้วยธรรมจักร ที่หมุนไปด้วยอริยสัจของจริง
อั น ประเสริ ฐ ทำไมจะทราบไม่ ไ ด้ ว่ า บุ ค คลเช่ น ไรเป็ น
ผู้ประกาศ และประกาศด้วยอัธยาศัยที่สัมปยุตด้วยอะไร
ถ้ า ไม่ สั ม ปยุ ต ด้ ว ยพระเมตตาตามหาคุ ณ ล้ น โลกแล้ ว
ผูเ้ ขียนก็ไม่ทราบจะเรียนอย่างไรจึงจะสมใจของท่านผูอาน ้่
ทั้งหลาย ถ้าท่านเป็นเสมือนเราๆ ท่านๆ ที่ขุดค้นดูในตัว
ในใจเห็นแต่ความคับแคบตีบตัน ความเห็นแก่ตัวแบบ
                                                       2
เข้ากับใครไม่ได้นี้แล้ว ศาสนาและศาสดาจะไม่มีวันอุบัติ
ขึ้นมาให้โลกได้กราบไหว้บูชาเป็นขวัญตาขวัญใจได้เลย
       เท่าที่โลกยังเป็นโลกและมีคนดีคนชั่วสับปนกันอยู่
ไม่สญปราชญ์ราชบัณฑิตไปจากพันธุมนุษย์ ก็เพราะอาศัย
     ู                              ์
ร่มเงาแห่งใจที่ขาวสะอาดของท่านผู้ไม่เห็นแก่ตัวกลัว
คนอื่นจะดีกว่า มาชุบเลี้ยงชโลมไว้ด้วยด้วยศาสนธรรม
นั่นเอง จึงพอมีคนดีไว้ประดับโลก การเกิดมาเป็นมนุษย์
จึงไม่ควรคิดเอาง่ายๆ ว่าเป็นภพที่เกิดได้ง่ายและตาย
ยาก แต่อาจเป็นภพที่เกิดง่ายตายง่าย และเกิดยากตาย
ง่ายเช่นเดียวกับสัตว์ทั่วไป เพราะชีวิตเป็นอยู่กับธาตุขันธ์
เหมือนกัน ลมหายใจหยุดหมดความสืบต่อก็คือคนตาย
สัตว์ตายนั่นแล จะเรียกอย่างไรให้ยิ่งกว่านั้นไปอีกได้
จะมี ค วามเที่ ย งทนถาวรที่ ไ หนพอจะประมาทนอนใจ
ไม่คิดอ่านเรื่องของตัว พอเป็นสุคตินิสัยสืบไปในอนาคต




2
ารกล่ า ววิ ธี เ ดิ น จงกรมมาก็ ม ากพอควร
                     จึงขอเริ่มอธิบายวิธีนั่งสมาธิภาวนาต่อไป
                     พอเป็นหลักฐานของผูเ้ ริมฝึกหัด เพราะงาน
                                               ่
ทุกแขนง ทุกชนิด ย่อมมีแบบฉบับเป็นเครื่องดำเนิน
งานสมาธิ ภ าวนาก็ จ ำต้ อ งมี แ บบฉบั บ เป็ น หลั ก เกณฑ์
วิ ธี นั่ ง สมาธิ ภ าวนาท่ า นสอนไว้ ว่ า พึ ง นั่ ง ขั ด สมาธิ คื อ
นั่งขัดสมาธิตามแบบพระพุทธรูปองค์แทนศาสดา เอาขา
ขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย วางมือทั้งสองไว้บนตัก
หรือบนสมาธิ ตังกายให้ตรงธรรมดา อย่าให้กมนักเงยนัก
                      ้                                  ้
อย่าให้เอียงซ้ายเอียงขวาจนผิดธรรมดา ไม่กดหรือเกร็ง
อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งอันเป็นการบังคับกายให้ลำบาก
ปล่อยวางอวัยวะทุกส่วนไว้ตามปกติธรรมดา
                                                               2
แต่เวลาทำหน้าที่ภาวนาต่อไปแล้ว กรุณาทำความ
สนใจกับหน้าทีนนอย่างเดียว ไม่พงกลับมาทำความกังวล
               ่ ั้                    ึ
รั ก ษาท่ า สมาธิ ที่ ก ำหนดไว้ เ ดิ ม โดยเกรงท่ า นั่ ง นั้ น จะ
เคลื่อนจากอาการเดิม เป็นการก้มเกินไปหรือเงยเกินไป
เอียงซ้ายเกินไป เอียงขวาเกินไป ซึ่งเป็นการกังวลกับ
อาการทางกายมากกว่าทางจิต สมาธิภาวนาจะดำเนินไป
ไม่สะดวก ดังนัน พอเริมต้นทางจิตตภาวนาแล้ว จึงไม่ควร
                ้         ่
เป็นกังวลกับทางกาย ตั้งหน้าทำงานทางจิตต่อไปจนถึง
วาระสุดท้ายแห่งการออกจากที่สมาธิภาวนา
      การเริ่ ม ต้ น ทางจิ ต ตภาวนาพึ ง ตั้ ง ความรู้ สึ ก คื อ
จิตลงเฉพาะหน้าที่เรียกว่าปัจจุบันธรรม อันเป็นทางรู้
ความเคลื่อนไหวของจิตของธรรมารมณ์ต่างๆ ดีชั่วได้ดี
ในเวลานั้นมากกว่าเวลาอื่นๆ คือ ตั้งจิตลงเฉพาะหน้า
มีสติ คือ ความระลึกรู้อยู่กับใจอันเป็นการเตือนตนให้รู้
ว่าจะเริ่มทำงานในขณะนั้น กรุณาระวังไม่ให้จิตส่งออกไป
สู่อารมณ์ต่างๆ ทั้งอดีต อนาคต ทั้งดีและชั่ว ที่นอกจาก
งานบริกรรมภาวนาซึ่งกำลังทำอยู่ในเวลานั้น
2
วิธีตั้งสติเฉพาะหน้า จิตเป็นผู้รู้โดยธรรมชาติเท่านั้น
ไม่มีความแยบคายใคร่ครวญในตัวเอง เป็นเพียงรู้คิด
รู้นึก รู้เย็น รู้ร้อน จากสิ่งสัมผัสต่างๆ เท่านั้น ไม่มีความ
แยบคายใคร่ครวญ ไม่รู้การพินิจพิจารณา และตัดสินว่า
อะไรถูกอะไรผิดลงไปได้ คือ ไม่รู้จักผิดถูกชั่วดีโดยลำพัง
ตนเอง จึงต้องอาศัยสติและปัญญาตัวรู้
ตัววินิจฉัยใคร่ครวญกำกับรักษา เพราะ
สติปัญญามีอำนาจเหนือจิต สามารถรู้เท่าทันจิตที่คิดไป
ในอารมณ์ต่างๆ ได้ดี ฉะนั้น พึงกำหนดเอาสติ คือความ
ระลึกรู้ชนิดหนึ่งที่มีอำนาจเหนือจิตนั้นมาไว้เฉพาะหน้า
ทำหน้าที่กำหนดรู้และรักษาจิตไม่ให้ส่งไปอื่นจากอารมณ์
ทีภาวนา การมีสติรกษาจิตอยูทกระยะนัน สติสมปชัญญะ
   ่                   ั         ่ ุ       ้       ั
จะพึงเป็นสมบัติที่ควรได้รับในวาระนั้นหรือวาระต่อไป
แน่นอน การภาวนาด้วยบริกรรมกับธรรมบทใดบทหนึงนัน           ่ ้
พึงให้เป็นไปตามจริตไม่ควรฝืน ธรรมบทใดเป็นทีสบายใจ    ่
ในเวลานั้น พึงนำธรรมบทนั้นมาบริกรรมภาวนาสืบต่อไป
ดังที่เคยอธิบายมาแล้ว
                                                        2
วิธนกคำบริกรรมภาวนา การนึกคำบริกรรมภาวนานัน
          ีึ                                                 ้
จะนึกกับธรรมบทใดบทหนึ่งตามนิสัยชอบดังกล่าวแล้ว
ก็ได้ เช่น พุทโธ ธัมโม สังโฆๆๆ ๓ จบ แล้วกำหนด
เอาเพี ย งบทเดี ย วติ ด ต่ อ กั น ไปด้ ว ยความมี ส ติ แต่ จ ะ
กำหนดธรรมบทใดก็ตามนอกจากสามบทนี้ ก่อนจะเจริญ
ธรรมบทนั้ น ๆ ทุ ก ครั้ ง ควรเจริ ญ รำลึ ก ธรรมสามบท
คือ พุทโธ ธัมโม สังโฆ ๓ ครั้ง อันเป็นองค์พระรัตนตรัย
ก่อน จากนั้นค่อยบริกรรมบทที่ตนต้องการต่อไป เช่น
อานาปานสติ หรืออัฐิ หรือตโจ เป็นต้น การที่ท่านให้มี
คำบริกรรมภาวนาเป็นบทๆ กำกับใจในเวลานันหรือเวลาอืน
                                              ้            ่
ก็เพื่อเป็นอารมณ์เครื่องยึดของใจในเวลาต้องการความ
สงบ เพราะใจเป็ น ของละเอี ย ดตามธรรมชาติ ทั้ ง ยั ง
ไม่สามารถพึ่งตัวเองได้ เนื่องจากจิตยังไม่เป็นตัวของตัว
โดยสมบูรณ์ ดังพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ท่าน จำต้อง
มีบทเป็นคำบริกรรมเพือผูกใจหรือเพือเป็นอารมณ์ของใจ
                        ่                ่
เวลานั้น การบริกรรมภาวนาในธรรมบทใดก็ตาม กรุณา
อย่าคาดหมายผลทีจะพึงเกิดขึนในเวลานัน เช่น ความสงบ
                   ่             ้         ้
0
จะเกิดขึ้นในลักษณะนั้น นิมิตต่างๆ จะเกิดขึ้นในเวลานั้น
หรืออาจจะเห็นนรกสวรรค์ขุมใดหรือชั้นใดในเวลานั้น
เป็นต้น นั้นเป็นการคาดคะเนหรือด้นเดาซึ่งเป็นการก่อ
ความไม่สงบให้แก่ใจเปล่าๆ ไม่เกิดประโยชน์อะไรจาก
การวาดภาพนันเลย และอาจทำใจให้ทอถอยหรือหวาดกลัว
              ้                     ้
ไปต่างๆ ซึ่งผิดจากความมุ่งหมายของการภาวนาโดย
ถูกทางที่ท่านสอนไว้ ที่ถูกควรตั้งจิตกับสติไว้เฉพาะหน้า
มีคำบริกรรมเป็นอารมณ์ของใจเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
โดยมี ใจกับสติสืบต่ออยู่กับคำบริกรรม เช่น พุทโธๆ
สืบเนื่องกันไปด้วยความมีสติ และพยายามทำความรู้สึก
ตัวอยูกบคำบริกรรมนันๆ อย่าให้จตเผลอตัวไปสูอารมณ์อน
       ่ั            ้          ิ             ่       ื่
ระหว่างจิตสติกับคำบริกรรมมีความสืบต่อกลมกลืนกัน
ได้เพียงไร ยิ่งเป็นความมุ่งหมายของการภาวนาเพียงนั้น
ผลคือความสงบเย็นหรืออืนๆ ทีแปลกประหลาดไม่เคยพบ
                         ่ ่
เคยเห็น อันจะพึงเกิดขึ้นให้ชมตามนิสัยวาสนาในเวลานั้น
จะเกิดขึนเอง เพราะอำนาจของการรักษาจิตกับคำบริกรรม
          ้
ไว้ได้ด้วยสตินั่นแล จะมีอะไรมาบันดาลให้เป็นขึ้นไม่ได้
                                                    1
ข้อควรสังเกตและระวังในขณะภาวนา โดยมากมัก
คิดและพูดกันเสมอว่าภาวนาดูนรกสวรรค์ ดูกรรมดูเวร
ของตนและผู้อื่น ข้อนี้ท่านที่มุ่งต่ออรรถธรรมสำหรับตัว
จริงๆ กรุณาสังเกตขณะภาวนาว่า จิตได้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ผูกพันกับเรื่องดังกล่าวเหล่านี้บ้างหรือไม่ ถ้ามีควรระวัง
อย่าให้มีขึ้นได้สำหรับผู้ภาวนาเพื่อความสงบเย็นเห็นผล
เป็นความสุขแก่ใจโดยถูกทางจริงๆ เพราะสิ่งดังกล่าว
เหล่านั้นมิใช่ของดีดังที่เข้าใจ แต่เป็นความคิดที่ริเริ่ม
จะไปทางผิด เพราะจิตเป็นสิ่งที่น้อมนึกเอาสิ่งต่างๆ ที่ตน
ชอบได้แม้ไม่เป็นความจริง นานไปสิ่งที่น้อมนึกนั้นอาจ
ปรากฏเป็ น ภาพขึ้ น มาราวกับเป็นของจริงก็ ได้ นี่รู้สึก
แก้ยาก แม้ผู้สนใจในทางนั้นอยู่แล้วจนปรากฏสิ่งที่ตน
เข้าใจว่าใช่และชอบขึ้นมาด้วยแล้ว ก็ยิ่งทำความมั่นใจ
หนักแน่นขึนไม่มทางลดละ จะไม่ยอมลงกับใครง่ายๆ เลย
            ้ ี
จึงได้เรียนเผดียงไว้ก่อนว่าควรสังเกตระวังอย่าให้จิตนึก
น้อมไปในทางนั้น จะกลายเป็น นั ก ภาวนาที่ น่ า
ทุเรศเวทนา ทั้งที่ผู้นั้นยังทะนงถือความรู้ความเห็น
2
ของตัวว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องอยู่ และพร้อมจะสั่งสอนผู้อื่น
ให้ เ ป็ น ไปในแนวของตนอี ก ด้ ว ย จิ ต ถ้ า ได้ นึ ก น้ อ มไป
ในสิ่ ง ใดแล้ ว แม้ สิ่ ง นั้ น จะผิ ด ก็ ยั ง เห็ น ว่ า ถู ก อยู่ นั่ น เอง
จึ ง เป็ น การลำบากและหนั ก ใจแก่ ก ารแก้ ไ ขอยู่ ไ ม่ น้ อ ย
เพราะจิตเป็นของละเอียดมากยากที่จะทราบได้กับบรรดา
อารมณ์ ที่ จิ ต เข้ า เกาะเกี่ ย ว ว่ า เป็ น อารมณ์ ดี ห รื อ ชั่ ว
ประการใด นอกจากท่ า นที่ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า นภาวนา
ซึ่งเคยผ่านเหตุการณ์ต่างๆ มาแล้วอย่างโชกโชน เช่น
อาจารย์ มั่ น เป็ น ต้ น นั้ น ท่ า นพอตั ว เสี ย ทุ ก อย่ า งไม่ ว่ า
ภายในภายนอก ท่านคลี่คลายดูโดยละเอียดทั่วถึงไม่มี
ทางสงสัย จึงสมนามที่ท่านเป็นอาจารย์หรือครูชั้นเอก
ในการสอนธรรมกรรมฐานแก่บรรดาศิษย์
      ท่านผู้ใดจะมีความรู้ความเห็นในด้านภาวนามาก
น้อย ทั้งภายในภายนอกมาเพียงไร เวลาเล่าถวายท่าน
จบลงแล้ว จะได้ยินเสียงท่านแสดงออกด้วยความเข้มข้น
มั่นใจในความรู้ความเห็นของท่านเองอย่างจับใจและหาย
สงสัย ทั้งท่านที่มาเล่าถวายและบรรดาศิษย์ที่แอบฟังอยู่
ที่นั้น ทั้งเกิดความรื่นเริงในธรรมนั้นสุดจะกล่าว แม้ผู้นั้น
จะยั ง สงสั ย ในบางแขนง ขณะท่ า นอธิ บ ายจบลงแล้ ว
ได้แยกแยะเรียนความรู้ความเห็นของตนให้ท่านฟังซ้ำอีก
ท่านจะชี้แจงเหตุผลของสิ่งนั้นๆ ให้ฟังทันทีด้วยความ
มั่นใจที่ท่านเคยผ่านมาแล้ว
        ท่านจะว่าท่านองค์นั้นว่าท่านลงไปงมกองมูตรกอง
คูถอยู่ทำไม ผมเคยงมมาก่อนท่านแล้ว และล้างมือด้วย
สิ่งซักฟอกต่างๆ ตั้งสามวันก็ยังไม่หายกลิ่น และท่านยัง
ขยั น นำสิ่ ง นั้ น มาทาตั ว ชโลมศี ร ษะโดยเข้ า ใจว่ า เป็ น
น้ ำ หอมอยู่ ห รื อ นั่ น คื อ กองมู ต รคู ถ ที่ เ ขาถ่ า ยมาได้
สองสามวั น แล้ ว ซึ่ ง กำลั ง ส่ ง กลิ่ น ฉุ น เต็ ม ที่ ท่ า นอย่ า
กล้ า หาญอวดเก่ ง ไปสู ด ดมเล่ น เดี๋ ย วน้ ำ ในบ่ อ จะหมด
แต่ สิ่ ง ที่ ท่ า นนึ ก ว่ า หอมนั้ น จะยั ง ไม่ ห ายกลิ่ น จะว่ า ผม
ไม่ บ อก ผมเคยโดนมาแล้ ว จึ ง ได้ เ ข็ ด และรี บ บอก
กลัวท่านจะโดนเข้าไปอีก ถ้าไม่มีน้ำล้างอาจร้ายกว่าผม
ที่เคยโดนมา ทั้ ง ที่ มี น้ ำล้างยังแย่และเข็ดอยู่จนป่านนี้
ดั ง นี้ ซึ่ ง เป็ น คำที่ อ อกรสอย่ า งยิ่ ง สำหรั บ ผู้ เ ขี ย นซึ่ ง มี
นิสัยหยาบ ท่านผู้มีนิสัยละเอียดอาจเกิดความขยะแขยง
ไม่น่าฟัง แต่การที่ท่านแสดงเช่นนั้นเป็นคำยืนยันอย่าง
หนักแน่นแม่นยำในใจ ทั้งทางผิดและทางถูกที่ท่านเคย
ผ่านมาให้ผู้มาศึกษาฟัง และหายสงสัยในสิ่งที่ตนยังเห็น
ว่าถูกว่าดีนั้น แล้วพยายามติดตามท่านด้วยความแน่ใจ
จะไม่โดนกองมูตรกองคูถอีก ซึ่งร้ายกว่าคำที่ท่านชี้แจง
ให้ฟังที่คิดว่าเป็นคำหยาบเสียอีก
         การยกธรรมท่านมาแทรกบ้าง ก็เพื่อท่านนักอบรม
ทังหลายจะได้นำไปเป็นข้อคิดว่า ความรูทางด้านภาวนานี้
   ้                                                    ้
ไม่ สิ้ น สุ ด อยู่ กั บ ผู้ ใ ดที่ พ อจะยื น ยั น ได้ ที เ ดี ย ว โดยมิ ไ ด้
ไตร่ตรองหรือไต่ถามผู้รู้มาก่อนเสียก่อน นอกจากท่าน
ที่ชำนิชำนาญมาอย่างเต็มภูมิแล้ว นั่นไม่นับเข้าในจำพวก
ที่ ก ำลั ง เห็ น กองมู ต รคู ถ ที่ ท่ า นตำหนิ ว่ า เป็ น ของดี
แล้ ว ชื่ น ชมในความรู้ ค วามเห็ น ของตน แม้ ผู้ เ ขี ย นเอง
ก็เคยอวดเก่งในความหางอึ่งของตนและถกเถียงท่าน
แบบตาแดงมาแล้ว จนไม่อาจนับได้ว่ากี่ครั้งกี่หนเพราะ
ทำอยู่เสมอ รู้ขึ้นมาอยู่เสมอ และสำคัญตัวว่าถูกอยู่เสมอ
คำถกเถียงท่านทุกประโยคที่ตนเข้าใจว่าถูกต้องดีแล้ว
เหมือนยื่นไม้แต่ละชิ้นให้ท่านตีเอาๆ จนแทบศีรษะไม่มี
ผมเหลือค้างอยู่นั่นแล จึงจะได้ความฉลาดอันแหลมคม
และความดีจากปัญหาขุยไม้ไผ่ (ปัญหาฆ่าตัวเอง) ของตน
ที่ถือว่าถูกว่าดีมาจากที่ไหน นอกจากท่านตีเอาอย่างถนัด
มื อ แล้ ว ก็ ยื่ น ยาใส่ แ ผลที่ ถู ก ตี ม าให้ ไ ปใส่ แ ผลเอาเอง
เท่านั้น จะได้ดีกรีอะไรมาจากความฉลาดหางอึ่งนั้นเล่า
      ที่ว่าท่านยื่นยามาให้ไปใส่แผลเอาเองนั้น ได้แก่ท่าน
แก้ความรู้ความเห็นทางด้านภาวนาที่ตนสำคัญผิดไปนั้น
แล้วเรากลับยอมเห็นตามท่าน กว่าจะยอมลงได้ด้วยเหตุ
และผล ก็ถูกท่านเข่นเอาเจ็บพอเข็ดหลาบที่เรียกว่าถูกตี
นั่นแล ฉะนั้นจึงเรียนไว้เพื่อทราบว่าคนที่รู้แล้วกับ
คนที่ยังหลงอยู่ในกองกิเลสนั้นผิดกัน
อยู่ ม าก ถ้าไม่ใช่ผู้รู้มาแก้ความรู้ความเห็นผิดนั้น
ปล่อยให้เฉพาะพวกที่เก่งๆ แก้กันเอง ที่นั้นจะต้องกลาย
เป็นเวทีมวยฝีปากที่ไม่ยอมลงกันได้ แบบไม่มีใครกล้า
จองตั๋วเข้าฟังด้วยได้แน่นอน เพราะกลัวจะไปเหยียบ
น้ำลายของนักมวยฝีปากบนเวทีเสียจนลื่น และเลอะไป
ทั้งตัวโดยไม่มีผลดีอะไรติดตัวมาบ้างเลย
       ทั้งนี้ เพราะความรู้ภายในจากการภาวนาเป็นความ
สลับซับซ้อนมาก ยากจะกำหนดได้วาอันไหนถูกอันไหนผิด
                                    ่
ผู้ปฏิบัติที่ไม่มีครูอาจารย์คอยอบรมสั่งสอนต้องลูบคลำ
ผิดก็คลำ ถูกก็คลำ คลำทั้งน้ำทั้งเนื้อ ทั้งเปลือกทั้งกระพี้
ทั้งรากแก้วรากฝอย ทั้งกิ่งทั้งใบเอาไปทำบ้านเรือน คือ
เครื่องอยู่ของจิตที่ภาคภูมิใจด้วยไม้ทั้งต้น แล้วก็ชมว่า
สวยงามเอาเองทั้งที่คนอื่นดูไม่ได้ การปฏิบัติภาวนาที่ไม่
ใช้วิจารณญาณก็เป็นทำนองนี้เหมือนกัน อะไรๆ ก็จะ
เหมาเอาเสียว่าถูกไปหมด เวลาระบายออกมาให้ผู้อื่นฟัง
กับปากกับหูตัวเองซึ่งอยู่ใกล้ๆ แทบติดกัน ก็ไม่ยอมฟัง
ว่าที่พูดไปนั้นถูกหรือผิดประการใดบ้าง แต่จะเข้าใจว่าถูก
และพูดฟุ้งไปทีเดียว ความเสียหายจึงไม่เปื้อนเฉพาะผู้ไม่
พิจารณาสำรวมให้รอบคอบและรูจกประมาณเพียงเท่านัน
                                 ้ั                    ้
ยังมีส่วนแปดเปื้อนเลอะเลือนแก่วงพระศาสนาอันเป็น
จุดส่วนรวมอีกด้วยจึงควรสำรวมระวั ง ไว้ให้มาก
เป็นการดี
       ขณะนึกคำบริกรรมภาวนาที่เป็นความถูกต้อง ท่าน
นักภาวนาควรสนใจกับคำบริกรรมของตน โดยเฉพาะ
ในขณะนั่ ง บริ ก รรมภาวนาไม่ ค วรเป็ น กั ง วลกั บ ท่ า นั่ ง
ที่กำหนดไว้ถูกต้องแต่ต้นแล้ว คือขณะภาวนาที่กำลัง
ทำความกำหนดจดจ่อกับงานที่ทำนั้น กายอาจเอียงหน้า
เอียงหลังเอียงซ้ายเอียงขวาไปบ้าง เพราะขาดความสนใจ
กับกาย เวลานั้นมีความสนใจกับการภาวนาโดยเฉพาะ
ดังนั้น แม้กายจะเอียงไปบ้างก็ตาม แต่จิตขออย่าให้เอียง
ไปจากอารมณ์ภาวนาเป็นการดี เพราะจุดสำคัญทีตองการ่้
จริงๆ อยู่กับภาวนา ถ้าจิตมากังวลกับกายอยู่เรื่อยๆ
กลัวจะเอนหน้าเอียงหลัง ทำให้จิตเผลอตัวจากคำภาวนา
ไม่อาจเข้าสู่ความละเอียดเท่าที่ควรได้ตามกำลังของตน
เพือให้จตได้ทำหน้าทีเ่ ต็มความสามารถของตนในเวลานัน
   ่ ิ                                                   ้
จึงไม่ควรกังวลกับกายภายนอก แต่ควรทำความจดจ่อ
ต่อคำภาวนาอย่างเดียว จนจิตสงบ และรู้เหตุรู้ผลของ
ตนได้ตามความมุ่งหมาย แม้ขณะที่จิตสงบรวมลงสู่ภวังค์
คือที่พักผ่อน ตัวหมดความรู้สึกกับสิ่งภายนอกมีกาย
เป็นต้น ก็ตาม เวลาจิตถอนขึ้นมาแล้วเห็นกายเอนเอียง
ไปในลั ก ษณะต่ า งๆ ก็ ไ ม่ ค วรสงสั ย ข้ อ งใจว่ า กายนั่ น
ไม่เที่ยงตรงตามที่กำหนดไว้ การกังวลทางกายและกังวล
ทางใจ นอกจากก่ อ ความวุ่นวายให้แก่จิตที่ ไม่รู้หน้า ที่
ของตนแล้ว ผลที่จะพึงได้รับเวลานั้นจึงไม่มีอะไรปรากฏ
ยิงไปกว่า กายกับใจเกิดยุงกันในเวลาภาวนาโดยไม่รสกตัว
  ่                     ่                            ู้ ึ
จึงควรทำความเข้าใจไว้แต่ขณะเริ่มลงมือภาวนา
       ที่ตั้งฐานสูงต่ำแห่งอารมณ์ของจิต กรรมฐานบาง
ประเภทอันเป็นอารมณ์ของจิตย่อมมีฐานเป็นตัวอยู่แล้ว
เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน มีฐานเป็นของตัวอยู่โดยเฉพาะ
ส่วนหนังบางส่วนที่ถูกกำหนดเป็นฐาน ย่อมทราบว่าอยู่
ในที่ เ ช่ น ไร สิ่ ง ที่ ถู ก กำหนดนั้ น ๆ พึ ง ทราบไว้ ว่ า มี อ ยู่
อารมณ์แห่งกรรมฐานในที่เช่นนั้นๆ สูงหรือต่ำประการใด
สิ่งนั้นๆ มีฐานของตนที่เป็นอยู่ตายตัว เช่น ฟันมีอยู่ใน
มุขทวาร ผมตั้งอยู่บนศีรษะมีส่วนสูงเป็นที่อยู่ นอกนั้น
เช่น หนัง ผม ขน เอ็น กระดูก มีอยู่ในที่ทั่วไปตามแต่จะ
กำหนดเอาอาการใดเป็นอารมณ์แห่งกรรมฐาน และอาการ
นั้นๆ ตั้งอยู่ในที่เช่นไร เวลากำหนดสิ่งนั้นๆ เป็นอารมณ์
ตามฐานของตนที่ ตั้ ง อยู่ สู ง หรื อ ต่ ำ ประการใด กรุ ณ า
ทราบไว้ ต ามฐานของสิ่ ง นั้ น ๆ เวลากำหนดอาการใด
อาการหนึ่ ง ที่ ก ล่ า วมาเป็ น อารมณ์ ใ นขณะภาวนา
พึงกำหนดเฉพาะอาการนั้นเป็นสำคัญกว่าความสูงหรือ
ต่ำที่กำหนดไว้เดิม เช่นเดียวกับท่านั่งสมาธิที่เอนเอียง
ไปบ้ า งไม่ ส ำคั ญ ความสู ง หรื อ ต่ ำ ที่ เ รากำหนดไว้ เ ดิ ม
อย่างไร ก็ปล่อยตามสภาพเดิม อย่ายกกรรมฐานที่เคย
กำหนดแล้วว่าอยู่ในที่เช่นนั้นมาตั้งใหม่เรื่อยๆ โดยเข้าใจ
ว่าเคลื่อนจากที่เดิม ถ้ายกมาตั้งใหม่ตามความสำคัญ
ของใจ จะทำให้ เ ป็ น กั ง วลไปกั บ ฐานนั้ น ๆ ไม่ เ ป็ น อั น
กำหนดภาวนากับกรรมฐานบทนั้นได้อย่างถนัดชัดเจน
เช่ น กำหนดกระดู ก ศี ร ษะและเพ่ ง สิ่ ง นั้ น เป็ น อารมณ์
0
จนปรากฏเห็นเป็นภาพชัดเจนเหมือนกับดูด้วยตาเนื้อ
แต่แล้วเกิดความสำคัญขึ้นว่ากระดูกศีรษะนั้นได้เคลื่อน
จากฐานบนมาอยู่ ฐ านล่ า งซึ่ ง ผิ ด กั บ ความจริ ง แล้ ว
กำหนดใหม่ ดังนี้เป็นต้น ซึ่งเป็นการสร้างความลูบคลำ
สงสัยให้แก่ใจอยู่เสมอ ไม่มีเวลาพิจารณาอาการนั้นๆ
ให้แนบสนิทลงได้ ที่ถูกควรกำหนดอาการนั้นๆ ให้อยู่ใน
ความรู้สึกหรือความเห็นภาพแห่งอาการนั้นๆ ด้วยความ
รู้สึกทางสติไปตลอดสาย แม้ภาพของอาการนั้นๆ จะ
แสดงอาการใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง หรือแสดงอาการแตก
สลายไป ก็ควรกำหนดรู้ไปตามอาการของมัน โดยไม่
คำนึงถึงความสูงต่ำที่เคยกำหนดไว้เดิม การทำอย่างนี้จะ
ทำให้จิตแนบสนิทและเกิดความสลดสังเวชไปกับอาการ
ที่กำหนด ซึ่งแสดงอาการแปรสภาพให้เห็นอย่างเต็มใจ
        การกำหนดลมหายใจและฐานทีตงของลมก็เหมือนกัน
                                  ่ ั้
เมือกำหนดลมทีแรกได้กำหนดไว้ในทีเ่ ช่นไร เช่น กำหนด
   ่
ที่ดั้งจมูก เป็นต้น เวลาดูลมเพลินไปด้วยความสนใจอาจ
เกิดความสงสัยขึ้นมาในเวลานั้นได้ว่า ลมได้เคลื่อนจาก
                                                    1
ดั้งจมูกไปอยู่ในฐานอื่น เป็นต้น แล้วตั้งลมที่ดั้งจมูกใหม่
ดังนี้ เรียกว่าก่อกวนตัวเองด้วยความสำคัญ จะไม่เกิดผล
ได้เลย เพราะความสงสัยมาแย่งเอาไปเสียหมด เพื่อ
ความถูกต้องและหายกังวลในฐานต่างๆ จึงควรปฏิบัติ
ตามที่กล่าวมาในอาการอื่นๆ คือพึงทำความรู้ชัด
ในกองลมที่ ผ่ า นเข้ า ผ่ า นออกด้ ว ยสติ
ทุกระยะไปจนถึงที่สุดของลม แม้ฐานของ
ลมจะปรากฏว่าสูงต่ำ หรือผิดฐานเดิมไปตามความเข้าใจ
ก็ตาม จะไม่ทำให้การกำหนดนั้นเสียไปแม้แต่น้อยเลย
ยิ่งจะทำให้จิตกับลมสนิทแนบต่อกันไปตลอดที่สุดของ
การภาวนาหรือที่สุดของลม
     ลมหายใจดับไปในความรู้สึก ขณะภาวนาอานาปาน
สติในบางครั้ง ที่สุดของลมคือดับไป ที่สุดของใจคือรวม
ลงสนิท หมดความรับผิดชอบกับลม ตั้งอยู่เป็นเอกจิต
คือมีอารมณ์เดียว เพียงรู้อย่างเดียวไม่เกี่ยวกับสิ่งใด
ต่อไปอีก ที่เรียกว่า จิ ต รวมสนิ ท ทางสมาธิ
ภาวนา แต่ผภาวนาอานาปานสติ เมือเข้าถึงลมละเอียด
               ู้                  ่
2
และลมดับไปในความรูสกขณะนัน เกิดตกใจด้วยความคิด
                             ้ึ    ้
หลอกตัวเองว่า “ลมดับต้องตาย” เพียงเท่านี้ ลมก็กลับ
มี ม า และกลายเป็ น ลมหยาบไปตามเดิ ม จิ ต ก็ ห ยาบ
สุดท้ายการภาวนาก็ไม่ก้าวไปถึงไหน คงได้เพียงขั้นกลัว
ตายแล้ ว ถอยจิ ต ถอยลมขึ้ น มาหาที่ ที่ ต นเข้ า ใจว่ า จะ
ไม่ตายนี้เท่านั้น การภาวนาแบบนี้มีมากรายในวงปฏิบัติ
จึ ง ได้ เ รี ย นไว้ บ้ า ง เพราะอาจเกิ ด มี แ ก่ ท่ า นที่ ภ าวนา
อานาปานสติเป็นบางราย แล้วอาจเสียท่าให้กับความ
หลอกลวงนี้ได้
     การภาวนาเพื่ อ เห็ น ความจริ ง กั บ
ลมในอานาปานสติ กรุณากำหนดลม
ด้วยสติจนถึงที่สุดของลม และของจิต
จะเห็นความอัศจรรย์อย่างเด่นชัดขณะ
ผ่ า นความกลัวตายในระยะที่เข้าใจว่ า
ลมดั บ ไปแล้ ว ด้ ว ยความกล้ า หาญ คือ
ขณะเจริญอานาปานสติไปถึงลมละเอียดและลมดับไป
ในความรูสกขณะนัน โปรดทำความเข้าใจว่า แม้ลมจะดับ
           ้ึ        ้
ไปจริงๆ ก็ตาม เมือความรูสกคือใจยังครองตัวอยูในร่างนี้
                   ่       ้ึ                  ่
อย่างไรก็ไม่ตายแน่นอน ลมจะดับก็จงดับไป หรืออะไรๆ
ในกายจะดับไปตามลมก็จงดับไปตามธรรมชาติของตน
สำหรับใจผู้ไม่ดับไม่ตายไปกับสิ่งเหล่านั้น จะกำหนดดูให้
รู้ทุกอย่างบรรดาที่ผ่านเข้ามาในความรู้สึกขณะนี้ แต่จะ
ไม่เป็นกังวลกับอะไรที่เป็นสภาพเกิดๆ ดับๆ เพียงเท่านี้
จิตจะตัดความกลัวและกังวลต่างๆ ที่เคยสั่งสมไว้ออกได้
อย่างไม่คาดฝัน และสงบลงถึงฐานของสมาธิโดยไม่มี
อะไรมากีดขวางได้เลย สิ่งที่เป็นอุปสรรคกีดขวางขณะ
ลมจะดับ หรื อ ขณะลมดับไป ก็มีเฉพาะความกลัวตาย
เท่านั้นเอง พอผ่านอุปสรรคนี้ไปได้ด้วยอุบายดังกล่าว
เพียงครังเดียวเท่านัน ครังต่อไปความกลัวหายหน้าไปเลย
         ้             ้ ้
ไม่อาจกลับมาหลอกได้อีก เราจึงพอมองเห็นเล่ห์เหลี่ยม
ของกิเลสได้ชัดตอนนี้แล ครั้นแล้วเราก็ไม่เห็นตายดัง
ความคาดคิด ก็ยิ่งทำให้เห็นตัวมารที่แสนปั้นเรื่องขึ้น
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา

Contenu connexe

Tendances

บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3niralai
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวPoramate Minsiri
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรniralai
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมniralai
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตTaweedham Dhamtawee
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูniralai
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้Adisorn Tanprasert
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2niralai
 

Tendances (15)

บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
 
One Pointed Mind
One Pointed MindOne Pointed Mind
One Pointed Mind
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
 

Similaire à อุบายและวิธีการภาวนา

โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์YajokZ
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma coreYajokZ
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1MI
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตspk-2551
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2niralai
 

Similaire à อุบายและวิธีการภาวนา (20)

โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
Lion
LionLion
Lion
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 

อุบายและวิธีการภาวนา

  • 1.
  • 2. ความเป็ น มาของหนั ง สื อ เล่ ม นี้ กราบขอขมาต่อพ่อแม่ครูอาจารย์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน เกล้าขอข้อความบางตอนทีสะกิดต่อมกิเลสของเกล้าและคณะศิษยานุศษย์ ่ ิ ของเกล้ามาทำเป็นหนังสือไว้ประจำตัวประจำใจ เพือตักเตือนในเรือง ่ ่ ของการปฏิบัติ ในหนังสือเรื่องปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐานสาย ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ มีเรื่องดังนี้ ๑. ท่านพระอาจารย์มั่นกำหนดรู้ทิศทาง (หน้า ๒๓๐ - ๒๖๑) ของทางเดินจงกลม ๒. วิธีเดินจงกลมภาวนา “” ๓. วิธีนั่งสมาธิภาวนา “” ๔. การปฏิบัติและอุบายแห่งการสั่งสอน (หน้า ๓๔๘ - ๓๕๕) ลูกศิษย์ของท่านพระอาจารย์มั่น ๕. การพิจารณาปัจจยาการของท่านพระอาจารย์มน “” ั่ ได้ทำแจกเป็นธรรมทานแก่คณะศิษยานุศษย์เป็นจำนวน ๒๐๐ เล่ม ิ จึงกราบขออนุญาตต่อพ่อแม่ครูอาจารย์หลวงตามหาบัว ญาณะสัมปันโน เพื่ อ อนุ เ คราะห์ ส งเคราะห์ แ ก่ บ รรดาเกล้ า กระผมผู้ มี กิ เ ลสหนาแน่ น ดังกอไผ่ ควรมิควรอย่างไรเกล้าขอกราบขอขมา มา ณ โอกาสนีขอรับ. ่ ้ พระครูบาเจ้าเพชร วชิรมโน วัดอ้อมแก้ว ต.ไผ่หลิว อ.ดอนพุด จ.สระบุรี วันอาทิตย์ที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๒.๔๕ น.
  • 3.
  • 4. ารเดิ น จงกรมกลั บ ไปกลั บ มา ไม่ ช้ า นั ก ไม่ เ ร็ ว นั ก พองามตางามมรรยาท ตาม เยียงอย่างประเพณีของพระผูทำความเพียร ่ ้ ท่ า เดิ น ในครั้ ง พุ ท ธกาล เรี ย กว่ า เดิ น จงกรมภาวนา เปลี่ยนจากวิธีนั่งสมาธิภาวนามาเป็นเดินจงกรมภาวนา เปลี่ยนจากเดินมายืน เรียกว่า ยืนภาวนา เปลี่ยนจากยืน มาเป็นท่านอน เรียกว่า ท่าสีหไสยาสน์ภาวนา เพราะ ฝั ง ใจว่ า จะภาวนาด้ ว ยอิ ริ ย าบถนอนหรื อ สี ห ไสยาสน์ การทำความเพียรในท่าใดก็ตาม แต่ความหมายมันปันมือ ่ ้ ก็เพื่อชำระกิเลสตัวเดียวกันด้วยเครื่องมือชนิดเดียวกัน มิได้เปลี่ยนเครื่องมือคือธรรมที่เคยใช้ประจำหน้าที่และ
  • 5. นิสัยเดิม ก่อนเดินจงกรมพึงกำหนดหนทางที่ตนจะพึง เดินสั้นหรือยาวเพียงไรก่อน ว่าเราจะเดินจากที่นี่ไปถึง ที่นั้นหรือถึงที่โน้น หรือตกแต่งทางจงกรมไว้ก่อนเดิน อย่างเรียบร้อย สั้นหรือยาวตามต้องการ วิธีเดินจงกรม ผู้จะเดินกรุณาไปยืนที่ต้นทางจงกรม ที่ตนกำหนดหรือตกแต่งไว้แล้วนั้น พึงยกมือทั้งสองขึ้น ประนมไว้เหนือระหว่างคิ้ว ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ที่ตนถือเป็นสรณะ คือทีพงทียดเหนียวของใจ และระลึกถึงคุณของบิดามารดา ่ ึ่ ่ ึ ่ อุ ปั ช ฌาย์ อ าจารย์ ตลอดท่ า นผู้ เ คยมี พ ระคุ ณ แก่ ต น จบลงแล้วรำพึงถึงความมุ่งหมายแห่งความเพียรที่กำลัง จะทำด้วยความตั้งใจเพื่อผลนั้นๆ เสร็จแล้วปล่อยมือลง เอามือขวาทับมือซ้ายทาบกันไว้ใต้สะดือตามแบบพุทธ รำพึง เจริญพรหมวิหาร ๔ จบแล้ว ทอดตาลงเบื้องต่ำ ท่าสำรวม ตั้งสติกำหนดจิตและธรรมที่เคยนำมาบริกรรม กำกับใจหรือพิจารณาธรรมทังหลาย ตามแบบทีเ่ คยภาวนา ้ มาในท่าอื่นๆ เสร็จแล้วออกเดินจงกรมจากต้นทางถึง
  • 6. ปลายทางจงกรมที่กำหนดไว้ เดินกลับไปกลับมาในท่า สำรวม มี ส ติ อ ยู่ กั บ บทธรรมหรื อ สิ่ ง ที่ พิ จ ารณาโดย สม่ำเสมอ ไม่สงจิตไปอืนจากงานทีกำลังทำอยู่ในเวลานัน ่ ่ ่ ้ การเดินไม่พึงเดินไกวแขน ไม่พึงเดินเอามือขัดหลัง ไม่พึงเดินเอามือกอดอก ไม่พึงเดินมองโน้นมองนี่อันเป็น ท่าไม่สำรวม การยืนกำหนดรำพึงหรือพิจารณาธรรมนั้น ยืนได้โดยไม่กำหนดว่าเป็นหัวทางจงกรมหรือย่านกลาง ทางจงกรม ยืนนานหรือไม่ ตามแต่กรณีที่ควรหยุดอยู่ หรือก้าวต่อไป เพราะการรำพึงธรรมนั้นมีความลึกตื้น หยาบละเอี ย ดต่ า งกั น ที่ ค วรอนุ โ ลมตามความจำเป็ น จนกว่าจะเข้าใจแจ่มแจ้งแล้วก้าวเดินต่อไป บางครังต้อง ้ ยืนพิจารณาร่วมชั่วโมงก็มีถึงจะเข้าใจแจ่มแจ้งแล้วก้าว เดินต่อไป การเดินกำหนดคำบริกรรมหรือพิจารณาธรรม ไม่นับก้าวเดิน นอกจากจะถือเอาก้าวเดินนั้นเป็นอารมณ์ แห่งความเพียรก็นับก้าวได้ การทำความเพียร ในท่าใด สติเป็นสิ่งสำคัญประจำความ เพียรท่านั้นๆ การขาดสติไปจากงานที่ทำเรียกว่า
  • 7. ขาดความเพียรในระยะนั้นๆ ผู้บำเพ็ญพึงสนใจสติให้มาก เท่ากับสนใจต่อธรรมที่นำมาบริกรรม การขาดสติ แม้คำบริกรรมภาวนาจะยังติดต่อกันไป เพราะความเคยชินของใจก็ตาม แต่ผล คือความสงบของจิตจะไม่ปรากฏตาม ความมุ่งหมาย การเดินจงกรมจะเดินเป็นเวลานานหรือไม่เพียงไร ตามแต่จะกำหนดเอง การทำความเพียรในท่าเดินก็ดี ท่ายืนก็ดี ท่านอนก็ดี ท่านั่งก็ดี อาจเหมาะกับนิสัยในบาง ท่านที่ต่างกัน การทำความเพียรในท่าต่างๆ นั้น เพื่อ เปลี่ยนอิริยาบถไปในตัวด้วย ไม่เพียงมุ่งกำจัดกิเลสโดย ถ่ายเดียว เพราะธาตุขนธ์เป็นเครืองมือทำประโยชน์จำต้อง ั ่ มีการรักษา เช่น การเปลี่ยนอิริยาบถท่าต่างๆ เป็นความ เหมาะสมสำหรับธาตุขันธ์ที่ใช้งานอยู่เป็นประจำ ถ้าไม่มี การรักษาด้วยวิธีต่างๆ ธาตุขันธ์ต้องกลับมาเป็นข้าศึก แก่เจ้าของจนได้ คือต้องพิกลพิการไปต่างๆ สุดท้ายก็ ทำงานไม่ถึงจุดที่มุ่งหมาย
  • 8. พระธุ ด งค์ ท่ า นถื อ การเดิ น จงกรมเป็ น งานประจำชี วิ ต จิตใจจริงๆ โดยมากท่านเดินครั้งละหนึ่งชั่วโมงขึ้นไป ตอนเช้าหลังจังหันแล้วท่านเริ่มเข้าทางจงกรม กว่าจะ ออกมาก็ ๑๑ นาฬิ ก า หรื อ เที่ ย ง แล้ ว พั ก เล็ ก น้ อ ย บ่ายหนึ่งโมงหรือสองโมงก็เข้าทางและเดินจงกรมต่อไป อีกจนถึงเวลาปัดกวาดที่พัก อาบน้ำ เสร็จแล้วเข้าเดิน จงกรมอีกจนถึงหนึ่งถึงสองทุ่ม ถ้าไม่ใช่หน้าหนาวก็เดิน ต่อไปจนถึงสีถงห้าทุม ถึงจะเข้าทีพกทำสมาธิภาวนาต่อไป ่ึ ่ ่ ั อย่างไรก็ตามการเดินจงกรมกับนังสมาธิ ท่านต้องเดินนาน ่ นังนานเสมอเป็นประจำไม่วาจะพักอยูในทีเ่ ช่นไรและฤดูใด ่ ่ ่ ความเพียรท่านเสมอตัวไม่ยอมลดหย่อนผ่อนตัวให้กิเลส เพ่นพ่านก่อกวนทำความรำคาญแก่ใจท่านนัก ท่านพยายาม ห้ำหั่นอยู่ทุกอิริยาบถ จึงพอเห็นผลจากความเพียรบ้าง ต่อไปก็เห็นผลไปโดยลำดับ ขั้นเริ่มแรกที่ฤทธิ์กิเลสกำลังแข็งแรงนี้ลำบากอยู่ บ้าง ดีไม่ดีถูกมันจับมุดลงหมอนสลบครอกไปไม่รู้สึก กว่ า จะรู้ สึ ก ตั ว ขึ้ น มามั น เอาเครื่ อ งในไปกิ น จนอิ่ ม และ
  • 9. หนีไปเที่ยวรอบโลกได้หลายทวีปแล้ว จึงจะงัวเงียตื่นขึ้น มาและบ่นให้ตัวเองว่า เผลอตัวหลับไปงีบหนึ่ง วันหลัง จะเร่ ง ความเพี ย รให้ เ ต็ ม ที่ วั น นี้ ค วามโงกง่ ว งทำพิ ษ จึงทำให้เสีย ความจริงคือกิเลสทำพิษนั่นเอง วันหลังยัง ไม่มองเห็นหน้ามันเลย ถูกมันจับมัดเข้าอีกแต่ไม่เข็ด เจ็บก็เจ็บแต่ไม่เข็ด คือกิเลสเฆี่ยนคนนี่แล นักภาวนาเคย ถู ก มั น ดั ด มาพอแล้ ว บ่ น กั น ยุ่ ง ว่ า ลวดลายไม่ ทั น มั น สมกับมันเคยเป็นอาจารย์ของคนและสัตว์ทั้งโลกมาเป็น เวลานาน ตอนเริ่ ม ฝึ ก หั ด ความเพี ย รที แ รกนี่ แ ลตอนกิ เ ลส โมโห พยายามบีบบังคับหลายด้านหลายทาง พยายาม ทำให้ ขี้ เ กี ย จบ้ า ง ทำให้ เ จ็ บ ที่ นั่ น ปวดที่ นี่ บ้ า ง ทำให้ ง่วงเหงาหาวนอนบ้าง ทำหาเรืองว่ายุงไม่มเี วลาภาวนาบ้าง ่ ่ จิตกระวนกระวายนั่งภาวนาไม่ได้บ้าง บุญน้อยวาสนา น้อย ทำไม่ได้มาก นั่งไม่ได้นานบ้าง ทำให้คิดว่ามัวแต่นั่ง หลั บ ตาภาวนาจะไม่ แ ย่ ไ ปละ หรื อ อะไรๆ ไม่ ทั น เขา รายได้จะไม่พอกับรายจ่ายบ้าง ราวกับว่าก่อนแต่ยังไม่ได้ 10
  • 10. ฝึกหัดภาวนาเคยมีเงินเป็นล้านๆ พอจะเริมภาวนาเข้าบ้าง ่ ตัว “เริ่มจะ” เอาไปกินเสียหมด ยิ่งถ้าได้ภาวนาเข้าจริงๆ ตัวกิเลสจะไม่ท้องใหญ่ปากกว้างยิ่งกว่ายักษ์ใหญ่เอาไป กินหมดละหรือ พอถูกกิเลสเท่านี้เข้าเกิดคันคายเจ็บปวด ระบมไปทั้ ง ตั ว สุ ด ท้ า ยยอมให้ มั น พาเถลไถลไปทาง ที่เข้าใจว่าไม่มียักษ์มีมาร แต่เวลากลับกระเป๋ามีเท่าไร เรียบวุธ ไม่ทราบอะไรมาเอาไป คราวนี้ไม่บ่นเพราะไม่รู้จักตัวผู้มาขโมย ไม่ทราบว่า เป็นใคร เพราะกระเป๋าก็ตดอยูกบตัวไม่เผลอไผลวางทิงไว้ ิ ่ั ้ ที่ไหนพอขโมยจะมาลักไปได้ เป็นอันว่าเรียบตามเคย โดยไม่รู้จักต้นสายปลายเหตุ วันหลังไปใหม่ก็เรียบกลับ มาอีก แต่จับตัวขโมยไม่ได้ นี่แลทางเดินของกิเลสมัน ชอบเดินแต้มสูงๆ อย่างนี้แล จึงไม่มีใครจับตัวมันได้ ง่ายๆ แม้พระธุดงค์ไม่มีสมบัติอะไรก็ยังถูกมันขโมยได้ คื อ ขโมยสมาธิ จิ ต จนไม่ มี ส มาธิ วิ ปั ส สนาติ ด ตั ว นั่ น แล ท่านเคยถูกมาแล้ว จึงได้รีบเตือนพี่น้องชาวพุทธทั้งหลาย โปรดพากันระวังตัวเวลาเริ่มเข้าวัดเข้าวาหาศีลหาธรรม 11
  • 11. หาสมาธิภาวนา กลัวว่ามันจะมาขโมยหรือแย่งเอาตัวไป ต่อหน้าต่อตาแล้วจับตัวไม่ได้ไล่ไม่มวนจน ดังพระท่านถูก ีั มาแล้ว ถ้าทราบไว้กอนบ้างจะพอมีทางระวังตัว ไม่สนเนือ ่ ิ้ ้ ประดาตัวไปเปล่าแบบไม่มีปี่มีขลุ่ยขับกล่อมให้อาณัติ สัญญาณว่า กิเลสมากอบโกยเอาของดีไปใช้ไปทานเสีย จนหมดตัว ท่านที่เริ่มฝึกหัดใหม่ กรุณากำหนดเวลาในการเดิน จงกรมเอาเอง แต่กรุณากำหนดเผื่อไว้บ้าง เวลากิเลส ตัวร้อยเล่ห์พันลวงมาแอบขโมยเอาสิ่งของ จะได้เหลือ คำภาวนาติ ด ตั ว ไว้ บ้ า ง ขณะเดิ น จงกรมพึ ง กำหนดสติกับคำบริกรรมให้กลมกลืน เป็ น อันเดียวกัน ประคองความเพียร ด้วยสติสมปชัญญะ มีใจแน่วแน่ตอธรรม ั ่ ที่บริกรรม เช่น กำหนดพุทโธให้จิตรู้อยู่กับพุทโธ ทุกระยะทีกาวเดินไปและถอยกลับมา ชือว่าผูมความเพียร ่้ ่ ้ ี ในท่านั้นๆ ไม่ขาดวรรคขาดตอนไปในระหว่างตามที่ตน เข้ า ใจว่ า บำเพ็ ญ เพี ย ร ผลคื อ ความสงบเย็ น ถ้ า จิ ต 12
  • 12. ไม่เผลอตัวไปสู่อารมณ์อื่นในระหว่างเสียก่อน ผู้ภาวนา ต้ อ งหวั ง ได้ ค รองความสุ ข ใจในขณะนั้ น หรื อ ขณะใด ขณะหนึงแน่นอน ข้อนีกรุณาเชือไว้กอนก็ได้วาพระพุทธเจ้า ่ ้ ่ ่ ่ และครูอาจารย์ททานสอนจริงๆ ด้วยความเมตตาอนุเคราะห์ ี่ ่ ท่านไม่โกหกให้เสียเวลาและเปล่าประโยชน์แน่นอน ก่อนท่านจะได้ธรรมมาสั่งสอนประชาชน ท่านก็คือ ผู้ล้มลุกคลุกคลานมาด้วยความลำบากทรมานผู้หนึ่งก่อน เราผู้กำลังฝึกหัด จึงไม่ควรสงสัยท่านว่าเป็นผู้ล้างมือ คอยเปิบมาก่อนท่าเดียวโดยไม่ลงทุนลงรอนมาก่อน ทุน ของพระพุทธเจ้าก็คือความสลบไสลไปสามหน ทุนของ พระสาวกบางองค์ ก็ คื อ ฝ่ า เท้ า แตกและเสี ย จั ก ษุ ไ ปก็ มี ต่างๆ กัน แต่ได้ผลที่พึงทั้งเลิศทั้งประเสริฐทั้งอัศจรรย์ เหนือโลก เป็นเครื่องสนองตอบแทนสิ่งที่เสียไปเพราะ ความเพียรอันแรงกล้านั้นๆ ท่านข้ามโลกไปได้โดยตลอด ปลอดภัยไร้ทุกข์ทั้งมวล ทั้งนี้ เพราะการยอมเสียสละ สิ่งที่โลกรักสงวนกัน ถ้าท่านยังมัวหึงหวงห่วงความทุกข์ ความลำบากอยู่ ก็คงต้องงมทุกข์บุกโคลนโดนวัฏฏะอยู่ 1
  • 13. เช่นเราทั้งหลายนี้แล จะไม่มีใครแปลกต่างกันในโลก มนุษย์ เราจะเอาแบบไหน ดิ้นวิธีใดบ้าง จึงจะหลุดพ้นจาก สิ่งไม่พึงปรารถนาทั้งหลายที่มีเกลื่อนอยู่ในท่านในเรา เวลานี้ ควรฝึกหัดคิดอ่านตัวบ้างในขณะทีพอคิดได้อานได้ ่ ่ เมื่อเข้าสู่ที่คับขันและสุดความสามารถจะดิ้นรนได้แล้ว ไม่ มี ใ ครสามารถเข้ า ไปนั่ ง ทำบุ ญ ให้ ท านรั ก ษาศี ล ทำสมาธิภาวนาอยู่ในกองฟืนกองฟอนในเตาแห่งเมรุได้ เห็นมีแต่ไฟทำงานแต่ผู้เดียว จนร่างกายเป็นเถ้าเป็นถ่าน ไปถ่ายเดียวเท่านั้น เราเคยเห็นอยู่ต่อหน้าต่อตาด้วยกัน ซึ่งควรสลดสังเวชและน่าฝังใจไปนาน การเดิ น จงกรม นั่ ง สมาธิ ภ าวนา คือการกลั่นกรองหาสิ่งที่เป็นสารคุณ ในตั วเรา ซึ่ ง เป็น งานสำคั ญ และมี ผ ล เกินคาดยิงกว่างานอืนใด จึงไม่ควรยอม ่ ่ ให้ กิ เ ลสตั ณ หาอวิ ช ชามาหลอกเล่ น 1
  • 14. ให้เห็นเป็นงานล่อลวงล่มจมป่นปี้ไม่มี ชิ้นดี ความจริงก็คือตัวกิเลสเสียเองนั่นแลเป็นผู้ทำคน และสั ต ว์ ใ ห้ ฉิ บ หายป่ น ปี้ เ รื่ อ ยมา ถ้ า หลงกลอุ บ ายมั น จนไม่สำนึกตัวบ้าง การกลันกรองจิตด้วยสมาธิภาวนาก็คอ ่ ื การกลั่นกรองตัวเราออกเป็นสัดเป็นส่วน เพื่อทราบว่า อั น ไหนจริ ง อั น ไหนปลอม อั น ไหนจะพาให้ เ กิ ด ทุ ก ข์ อันไหนจะพาให้เกิดสุข อันไหนจะพาไปนรก อันไหนจะพา ไปสวรรค์ และอันไหนจะพาไปนิพพาน สิ้นทุกข์ทั้งมวล นั่นเอง ความจำเป็นที่เราทุกคนจะต้องเผชิญนี้มิใช่งานของ พระพุทธเจ้า มิใช่งานของพระสาวกองค์ใด และมิใช่งาน ของศาสนาจะพึงโฆษณาให้คนเชื่อและนับถือเพื่อหวังผล จากการนั้น ธรรมประเสริฐสามดวงที่กล่าวถึงนั้น เป็น ความสมบูรณ์ตลอดกาลอยู่แล้ว ไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย จากใครและอะไรแม้แต่นอย งานนันจึงตกเป็นงานของเรา ้ ้ ของท่ า น ผู้ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความจำเป็ น อยู่ เ ฉพาะหน้ า 1
  • 15. 1
  • 16. จะพึ ง แสวงหาทางหลบหลี ก ปลี ก ตั ว เต็ ม สติ ก ำลั ง ความสามารถของแต่ ล ะราย เพื่ อ แคล้ ว คลาดไปได้ เป็นพักๆ มิใช่จะนั่งนอนคอยสิ่งน่ากลัวทั้งหลายอยู่โดย ไม่ คิ ด อ่ า นอะไรบ้ า งเลย ราวกั บ หมู ค อยขึ้ น เขี ย งด้ ว ย ความเพลิดเพลินในแกลบรำเพราะเห็นแก่ปากแก่ท้อง เพียงเท่านั้น เพราะชาติมนุษย์กับชาติสัตว์ตัวไม่รู้จักคิด อ่านไตร่ตรองอะไรเลยนั้น ผิดกันลิบลับราวกับฟ้ากับดิน ไม่ควรอย่างยิ่งที่จะปล่อยให้ร่างกายจิตใจ ไปทำหน้าที่ ระคนคละเคล้ากันกับสัตว์ที่ไม่มีความหมายในสารคุณ อะไร นอกจากกระเทียมและหัวหอมที่เป็นของคู่ควรกัน กับสัตว์เหล่านั้นเท่านั้น การกล่าวทั้งนี้มิได้มุ่งติเตียนทำลายท่านสุภาพชน ทั้งหลาย ด้วยอรรถธรรมที่กล่าวมา แต่กล่าวมาเพื่อช่วย พยุงส่งเสริมจิตใจกายวาจาที่กำลังถูกสิ่งลามกตกโคลน มาทำหน้าทีเ่ ป็นนายเขียงสับยำเป็นอาหารอันอร่อยของมัน ต่างหาก เพื่ อ สติ ปั ญญาจะได้สะดุดตัวทราบว่าเวลานี้ เราตกอยู่ในสภาพเช่นไร จึงพยายามด้วยอุบายที่เห็นว่า 1
  • 17. จะพอเป็ น เครื่ อ งช่ ว ยให้ พ้ น ภั ย จากมั น บ้ า ง สมเป็ น พุทธศาสนิกชน ทางทีพอจะทราบได้กคอ การหัดอ่าน ่ ็ื ตัวเองด้วยสมาธิภาวนา ซึ่งเป็นอุบายที่ควร ทราบได้ ง่ า ยกว่ า วิ ธี อื่ น เพราะกิ จ นี้ อ ยู่ กั บ ตั ว ทำหน้ า ที่ อยู่ในตัว และคิดอ่านเรื่องของสัตว์โลกไปในตัวโดยตรง ผิดกับถูก ดีกบชัว สุขกับทุกข์กมอยูกบตัว เมืออ่านบ่อยๆ ั ่ ็ี ่ั ่ ก็ค่อยทราบไปเอง เมื่อทราบตัวเองก็ต้องทราบเรื่องทุกข์ ที่ เ กิ ด กั บ ตั ว จิ ต ใจก็ นั บ วั น จะเด่ น ดวงและมี คุ ณ ค่ า ขึ้ น ราวกับสินค้าขึ้นราคานั่นแล ใครหัดคิดหัดอ่านตัวเองมากๆ ผูนนจะทราบหนทาง ้ ั้ หลบหลีกปลีกทุกข์ ไม่เหมากันไปตลอดกาล ดังที่เคย เป็นมา ความเห็นภัยในทุกข์ที่มีอยู่กับตัวก็นับวันจะเห็น ไปโดยสม่ำเสมอ มีหนทางหลบหลีกภัยไปเรือยๆ พ้นไปได้ ่ โดยลำดับ การเห็นทุกข์ก็เห็นอยู่กับตัวไปทุกระยะที่ทุกข์ เกิดขึ้น แม้การพ้นทุกข์ก็ทราบว่าพ้นอยู่กับตัวด้วยกำลัง สมาธิสติปัญญา พูดถึงความทุกข์ ความเป็นความตาย และภพชาติที่จะเผชิญกันมากน้อยเพียงไรก็ไม่วิตกกังวล 1
  • 18. เพราะได้ประมวลมารู้เห็นในขันธ์เฉพาะหน้าที่รวมรับรู้อยู่ กับดวงใจเดียวทีกำลังฝึกซ้อมตัวอยูขณะนีแล้ว ยังเป็นอยู่ ่ ่ ้ ก็เย็นใจเพราะคุณธรรมอยู่กับตัว แม้ตายไปก็มีสุคโตเป็น ที่อยู่เสวย นี่คือผลของการทำสมาธิเดินจงกรมภาวนา สามารถยังผูบำเพ็ญให้เกิดความรืนเริงอาจหาญได้ผดคาด ้ ่ ิ ผิดหมาย จึงเป็นกิจทีควรทำเพือตัวเราเอง ไม่ควรประมาท ่ ่ ซึ่งอาจเป็นภัยอย่างคาดไม่ถึง การกำหนดจิตตั้งสติในเวลาเดินจงกรมกรุณาทำ เป็ น ล่ ำ เป็ น สั น สมที่ เ จตนามุ่ ง หน้ า หาของดี การเดิ น จงกรมภาวนาเป็นการแสวงหาของดีที่ถูกทาง ไม่มีข้อ ควรตำหนิ นักปราชญ์ชมเชยกันทั่วโลก ควรพยายามทำ จิตใจให้สงบในเวลานั้นจนได้ อย่าสักแต่ว่าทำ จะเห็น ความประเสริฐอัศจรรย์ของตัวเอง คือจิตที่ถูกห่อหุ้มด้วย ของเศษเดนทังหลาย จนขาดความสนใจว่าสิงทีถกหุมห่อ ้ ่ ู่ ้ นั้นไม่สำคัญ ยิ่งกว่าสิ่งเศษเดนที่หุ้มห่อ จึงมักพากันหลง ไปกับสิ่งนั้นจนลืมสำนึกตัว 1
  • 19. ความจริง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ทีกระเดืองเลืองลือ ่ ่ ่ ในไตรภพตลอดมานั้น ก็ออกจากใจที่เป็นทั้งเหตุและผล อัศจรรย์ดังกล่าวมา คือใจดวงหลุดลอยจากของเศษเดน ทั้งหลายออกมาแล้วนั่นแล ที่มีพระนามว่าพระพุทธบ้าง พระสงฆ์บาง ตามอาการของผูทรง เมือปราศจากผูทรงแล้ว ้ ้ ่ ้ ก็เป็นธรรมล้วนๆ ไม่มีคำว่าจิต ว่าพระพุทธเจ้า อันเป็น สมมุติขั้นสูงสุดอยู่ในนั้นอีกเลย เหลือแต่คำว่า “ธรรม” พระนามนีกเ็ ป็นสมมุตขนสูงสุดอีกพระนามหนึง แต่จำต้อง ้ ิ ั้ ่ ทรงพระนามนี้ไว้เป็นหลักใหญ่ของโลกผู้หวังพึ่งธรรม จนกว่าได้บรรลุถงความไม่หวังพึงสิงใดแล้ว คำว่าธรรมกับ ึ ่ ่ ผู้นั้นก็ทราบกันเองไม่มีทางสงสัยแม้ไม่เคยทราบมาก่อน ดังนั้นคำว่า “จิต” ทั้งจิตท่าน จิตเรา ย่อมเป็น เช่ น เดี ย วกั น ทั้ ง โลก แต่ สิ่ ง ที่ ท ำให้ จิ ต ผิ ด กั น ไปต่ า งๆ จนคาดไม่ อ อกบอกไม่ ถู ก มองไม่ เ ห็ น พิ สู จ น์ ไ ม่ ไ ด้ ในสั ง คมสามั ญ ของคนมี กิ เ ลสนั้ น เพราะสิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง หลาย ซึ่ ง มี ม ากและต่ า งๆ กั น จนพรรณนาไม่ จ บ เข้าเกี่ยวข้องพัวพัน จิตที่ถูกสิ่งเหล่านั้นปกคลุมคละเคล้า 20
  • 20. จนเป็ น อั น เดี ย วกั น จึ ง เป็ น จิ ต ที่ ผิ ด กั น มาก จนไม่ อ าจ ทราบได้วาจิตนันมีความหนาบางจากสิงดังกล่าวมากน้อย ่ ้ ่ เพียงไร และพิสจน์ไม่ได้วาจิตของผูนนเดิมมาจากภพชาติ ู ่ ้ ั้ อะไรบ้าง มีอะไรปกคลุมหุ้มห่อมากที่สุด บรรดาที่มีนาม ว่ากิเลสหรือของเศษเดนแห่งท่านผู้วิเศษทั้งหลาย ท่ า นผู้ ใ ดพยายามชำระแก้ ไ ขสิ่ ง ดั ง กล่ า วออกได้ มากน้อยเพียงไร ย่อมได้รับความสุขมากน้อยตามเหตุที่ ชำระได้ ถึงขั้นบริสุทธิ์ก็เป็นผู้สิ้นทุกข์ทางใจในท่ามกลาง แห่งขันธ์ที่กำลังครองอยู่ ดังพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ ท่านที่ตรัสรู้และบรรลุธรรมแล้ว ย่อมทรงเสวยและเสวย วิมุตติสุขในขณะนั้นโดยไม่อ้างกาลสถานที่เลย ขอแต่ กิเลสที่เป็นตัวข้าศึกแก่จิตใจได้สิ้นสูญไปก็พอแล้ว ฉะนั้น จึงมีเพียงกิเลสอย่างเดียวกั้นกางมรรคผลนิพพานไม่ให้ จิตบรรลุถงได้ นอกนันไม่มอะไรหรือผูใดมีอำนาจกันกางได้ ึ ้ ี ้ ้ การสอนธรรมจึงสอนลงที่จิตซึ่งเป็นที่ซ่องสุมของกิเลส ทั้งมวล ด้วยธรรมปฏิบัติ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา อันเป็น หลักใหญ่ในบรรดาธรรมแก้ไขบุกเบิก 21
  • 21. การเดินจงกรม จึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะสามารถทำกิเลส ให้หลุดลอยออกจากใจได้เช่นวิธีทั้งหลาย มีการนั่งสมาธิ ภาวนา เป็นต้น จึงควรสนใจฝึกหัดทำแต่บัดนี้เป็นต้นไป เช่นเดียวกับงานทางโลกอันเป็นงานอาชีพ และงานเพื่อ เกียรติแห่งสังคมมนุษย์ที่นิยมกัน ส่วนงานคือการทำ ความดีมการเดินจงกรมเป็นต้นดังกล่าวมา เป็นงานพยุงตน ี ทั้งภายในและภายนอก และเป็นงานพยุงเพื่อนมนุษย์และ สัตว์ในโลกอีกด้วย ตามแต่กำลังความดีของแต่ละท่านละ คนจะแผ่ ค วามสุ ข ให้ โ ลกได้ รั บ มากน้ อ ยเพี ย งไร เช่ น พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ทรงทำความร่มเย็นแก่โลก ทั้งสามได้มากมหามาก ไม่มีท่านผู้ใดกล้าเป็นคู่แข่งได้ พระอรหันต์แต่ละองค์ทำความร่มเย็นให้แก่โลกได้มาก พอประมาณรองพระพุทธเจ้าทั้งหลายลงมา และมากกว่า สามัญชนทำต่อกัน สุภาพชนถ้าเป็นผู้ใหญ่มีอำนาจวาสนามาก ก็ทำ ประโยชน์แก่ประชาชนราษฎรได้มาก ราษฎรเคารพนับถือ และยกย่องเป็นพ่อพระแม่พระผู้หนึ่ง และรักมากราวกับ 22
  • 22. พ่อแม่ของตนจริงๆ ยิงมีผใหญ่เป็นคนดีจำนวนมากเพียงไร ่ ู้ ก็เป็นการแสดงออกแห่งความเจริญรุ่งเรืองของหมู่ชน มากเพียงนัน ศาสนาและผูประกาศสอนธรรมการสงเคราะห์ ้ ้ โลกด้วยวิธีต่างๆ โดยไม่คิดค่าตอบแทนในทางอามิสและ สินจ้างรางวัลใดๆ ชื่อว่าผู้สร้างความกระหยิ่มปริ่มด้วย ความเมตตาวิหารธรรม และจงรักภักดีแก่ประชาชนได้รับ ไม่มีวันจืดจางอิ่มพอ หลับและตื่นเขาย่อมระลึกบูชาเป็น ขวัญตาขวัญใจอยู่ตลอดเวลา ไปที่ไหนไม่เป็นภัยแก่โลก นอกจากสร้ า งบุ ญ สร้ า งคุ ณ แก่ ผู้ อื่ น ให้ เ ต็ ม ตื้ น ไปด้ ว ย ความปีติยินดีโดยทั่วกันถ่ายเดียวเท่านั้น ศาสนากั บ ผู้ ส งเคราะห์ โ ลกด้ ว ยธรรมและอามิ ส จึ ง เป็ น เหมื อ นนายแพทย์ แ ละนางพยาบาลที่ มี ค วาม สงสารเมตตาเที่ ย วแจกยา และรั ก ษาโรคให้ ห มู่ ช น ผู้ จ ำเป็ น ที่ ชี วิ ต อยู่ กั บ ยาและหมอ แม้ เ ขาหายโรคแล้ ว แต่บุญคุณที่เขาระลึกต่อหมอผู้มีคุณนั้นจะไม่มีวันลืมเลย นี่แลอำนาจของความดี ไม่เลือกชาติชั้นวรรณะ ย่อมมี ความปรารถนาทั่วหน้ากัน ความดีและศาสนาจึงมิได้เป็น 2
  • 23. ของล้าสมัยดังทีบางคนเข้าใจ ทังทีเ่ ขาก็ยงหวังพึงผูอนอยู่ ่ ้ ั ่ ้ ื่ ด้วยความกระหายต่อความเมตตาอารีของท่านผู้ใจบุญ ทั้งหลาย อันมีศาสนาเป็นแหล่งผลิตคนดี เพราะศาสนา เป็นแหล่งแห่งความดีทั้งมวล ถ้ามิใช่คนดีจะนำศาสนา ออกสอนโลกไม่ได้แน่นอน หลักศาสนาอย่างน้อยก็คือ หั ว ใจของคนดี นั่ น แล ยิ่ ง กว่ า นั้ น ก็ คื อ หั ว ใจของท่ า นที่ บริสุทธิ์วิมุตติธรรมทั้งดวง ดังศาสดาของศาสนาพุทธ เป็นต้น จะเป็ น ใครอื่ น มาจากที่ ไ หนที่ จ ะมี แ ก่ ใ จและ ความสามารถ ใครบ้ า งที่ มี แ ก่ ใ จเสี ย สละเพื่ อ หมู่ ช น เหมือนหัวใจของเจ้าของศาสนาผู้นำธรรมออกสอนโลก ดังพระพุทธเจ้าทั้งหลายที่ทรงเสียสละเต็มพระทัยแล้ว และพระสาวกอรหันต์ของพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ ที่ทำประโยชน์แก่หมู่ชน ถ้าไม่ ใช่ท่านผู้มี ใจขาวสะอาด ปราศจากความเห็นแก่ตัวแล้ว จะยอมเสียสละทุกอย่าง เพื่อโลกไม่ได้เลย ข้อนี้น่าเชื่อเหลือเกิน แม้ไม่มีใครเชื่อ ด้วยก็ยอมโง่เชื่อคนเดียว เพราะเราท่านเกิดมาในโลกนี้ 2
  • 24. ก็นานพอจะทราบความคับแคบ ความกว้างขวาง ความ เห็นแก่ตว ความเห็นแก่ผอน เพือนฝูงทีเ่ ป็นมนุษย์ดวยกัน ั ู้ ื่ ่ ้ ได้ดี เพราะต่างก็อยู่โลกอันเดียวกัน ความทุกข์สุกดิบ เกี่ยวเนื่องกันอยู่ทุกวันเวลาอย่างแยกไม่ออก จะไม่ทราบ เรื่องของกันนั้นเป็นไปไม่ได้ ต้องทราบแน่นอน คนทีเ่ บือหน่ายเกลียดชังกันก็เพราะทราบเรืองของกัน ่ ่ คนที่รักชอบขอบใจตายใจเชื่อสนิทต่อกันก็เพราะทราบ เรืองของกัน การแสดงออกแห่งศาสนาของศาสดาแต่ละองค์ ่ ซึ่งเป็นการสะเทือนโลกธาตุ เพราะการปลุกปลอบใจสัตว์ ทังหลายให้ตนจากหลับ ทีเ่ คยจมอยูในกองกิเลสทังหลาย ้ ื่ ่ ้ ให้ฟื้นตื่นตัวด้วยธรรมจักร ที่หมุนไปด้วยอริยสัจของจริง อั น ประเสริ ฐ ทำไมจะทราบไม่ ไ ด้ ว่ า บุ ค คลเช่ น ไรเป็ น ผู้ประกาศ และประกาศด้วยอัธยาศัยที่สัมปยุตด้วยอะไร ถ้ า ไม่ สั ม ปยุ ต ด้ ว ยพระเมตตาตามหาคุ ณ ล้ น โลกแล้ ว ผูเ้ ขียนก็ไม่ทราบจะเรียนอย่างไรจึงจะสมใจของท่านผูอาน ้่ ทั้งหลาย ถ้าท่านเป็นเสมือนเราๆ ท่านๆ ที่ขุดค้นดูในตัว ในใจเห็นแต่ความคับแคบตีบตัน ความเห็นแก่ตัวแบบ 2
  • 25. เข้ากับใครไม่ได้นี้แล้ว ศาสนาและศาสดาจะไม่มีวันอุบัติ ขึ้นมาให้โลกได้กราบไหว้บูชาเป็นขวัญตาขวัญใจได้เลย เท่าที่โลกยังเป็นโลกและมีคนดีคนชั่วสับปนกันอยู่ ไม่สญปราชญ์ราชบัณฑิตไปจากพันธุมนุษย์ ก็เพราะอาศัย ู ์ ร่มเงาแห่งใจที่ขาวสะอาดของท่านผู้ไม่เห็นแก่ตัวกลัว คนอื่นจะดีกว่า มาชุบเลี้ยงชโลมไว้ด้วยด้วยศาสนธรรม นั่นเอง จึงพอมีคนดีไว้ประดับโลก การเกิดมาเป็นมนุษย์ จึงไม่ควรคิดเอาง่ายๆ ว่าเป็นภพที่เกิดได้ง่ายและตาย ยาก แต่อาจเป็นภพที่เกิดง่ายตายง่าย และเกิดยากตาย ง่ายเช่นเดียวกับสัตว์ทั่วไป เพราะชีวิตเป็นอยู่กับธาตุขันธ์ เหมือนกัน ลมหายใจหยุดหมดความสืบต่อก็คือคนตาย สัตว์ตายนั่นแล จะเรียกอย่างไรให้ยิ่งกว่านั้นไปอีกได้ จะมี ค วามเที่ ย งทนถาวรที่ ไ หนพอจะประมาทนอนใจ ไม่คิดอ่านเรื่องของตัว พอเป็นสุคตินิสัยสืบไปในอนาคต 2
  • 26. ารกล่ า ววิ ธี เ ดิ น จงกรมมาก็ ม ากพอควร จึงขอเริ่มอธิบายวิธีนั่งสมาธิภาวนาต่อไป พอเป็นหลักฐานของผูเ้ ริมฝึกหัด เพราะงาน ่ ทุกแขนง ทุกชนิด ย่อมมีแบบฉบับเป็นเครื่องดำเนิน งานสมาธิ ภ าวนาก็ จ ำต้ อ งมี แ บบฉบั บ เป็ น หลั ก เกณฑ์ วิ ธี นั่ ง สมาธิ ภ าวนาท่ า นสอนไว้ ว่ า พึ ง นั่ ง ขั ด สมาธิ คื อ นั่งขัดสมาธิตามแบบพระพุทธรูปองค์แทนศาสดา เอาขา ขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย วางมือทั้งสองไว้บนตัก หรือบนสมาธิ ตังกายให้ตรงธรรมดา อย่าให้กมนักเงยนัก ้ ้ อย่าให้เอียงซ้ายเอียงขวาจนผิดธรรมดา ไม่กดหรือเกร็ง อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งอันเป็นการบังคับกายให้ลำบาก ปล่อยวางอวัยวะทุกส่วนไว้ตามปกติธรรมดา 2
  • 27. แต่เวลาทำหน้าที่ภาวนาต่อไปแล้ว กรุณาทำความ สนใจกับหน้าทีนนอย่างเดียว ไม่พงกลับมาทำความกังวล ่ ั้ ึ รั ก ษาท่ า สมาธิ ที่ ก ำหนดไว้ เ ดิ ม โดยเกรงท่ า นั่ ง นั้ น จะ เคลื่อนจากอาการเดิม เป็นการก้มเกินไปหรือเงยเกินไป เอียงซ้ายเกินไป เอียงขวาเกินไป ซึ่งเป็นการกังวลกับ อาการทางกายมากกว่าทางจิต สมาธิภาวนาจะดำเนินไป ไม่สะดวก ดังนัน พอเริมต้นทางจิตตภาวนาแล้ว จึงไม่ควร ้ ่ เป็นกังวลกับทางกาย ตั้งหน้าทำงานทางจิตต่อไปจนถึง วาระสุดท้ายแห่งการออกจากที่สมาธิภาวนา การเริ่ ม ต้ น ทางจิ ต ตภาวนาพึ ง ตั้ ง ความรู้ สึ ก คื อ จิตลงเฉพาะหน้าที่เรียกว่าปัจจุบันธรรม อันเป็นทางรู้ ความเคลื่อนไหวของจิตของธรรมารมณ์ต่างๆ ดีชั่วได้ดี ในเวลานั้นมากกว่าเวลาอื่นๆ คือ ตั้งจิตลงเฉพาะหน้า มีสติ คือ ความระลึกรู้อยู่กับใจอันเป็นการเตือนตนให้รู้ ว่าจะเริ่มทำงานในขณะนั้น กรุณาระวังไม่ให้จิตส่งออกไป สู่อารมณ์ต่างๆ ทั้งอดีต อนาคต ทั้งดีและชั่ว ที่นอกจาก งานบริกรรมภาวนาซึ่งกำลังทำอยู่ในเวลานั้น 2
  • 28. วิธีตั้งสติเฉพาะหน้า จิตเป็นผู้รู้โดยธรรมชาติเท่านั้น ไม่มีความแยบคายใคร่ครวญในตัวเอง เป็นเพียงรู้คิด รู้นึก รู้เย็น รู้ร้อน จากสิ่งสัมผัสต่างๆ เท่านั้น ไม่มีความ แยบคายใคร่ครวญ ไม่รู้การพินิจพิจารณา และตัดสินว่า อะไรถูกอะไรผิดลงไปได้ คือ ไม่รู้จักผิดถูกชั่วดีโดยลำพัง ตนเอง จึงต้องอาศัยสติและปัญญาตัวรู้ ตัววินิจฉัยใคร่ครวญกำกับรักษา เพราะ สติปัญญามีอำนาจเหนือจิต สามารถรู้เท่าทันจิตที่คิดไป ในอารมณ์ต่างๆ ได้ดี ฉะนั้น พึงกำหนดเอาสติ คือความ ระลึกรู้ชนิดหนึ่งที่มีอำนาจเหนือจิตนั้นมาไว้เฉพาะหน้า ทำหน้าที่กำหนดรู้และรักษาจิตไม่ให้ส่งไปอื่นจากอารมณ์ ทีภาวนา การมีสติรกษาจิตอยูทกระยะนัน สติสมปชัญญะ ่ ั ่ ุ ้ ั จะพึงเป็นสมบัติที่ควรได้รับในวาระนั้นหรือวาระต่อไป แน่นอน การภาวนาด้วยบริกรรมกับธรรมบทใดบทหนึงนัน ่ ้ พึงให้เป็นไปตามจริตไม่ควรฝืน ธรรมบทใดเป็นทีสบายใจ ่ ในเวลานั้น พึงนำธรรมบทนั้นมาบริกรรมภาวนาสืบต่อไป ดังที่เคยอธิบายมาแล้ว 2
  • 29. วิธนกคำบริกรรมภาวนา การนึกคำบริกรรมภาวนานัน ีึ ้ จะนึกกับธรรมบทใดบทหนึ่งตามนิสัยชอบดังกล่าวแล้ว ก็ได้ เช่น พุทโธ ธัมโม สังโฆๆๆ ๓ จบ แล้วกำหนด เอาเพี ย งบทเดี ย วติ ด ต่ อ กั น ไปด้ ว ยความมี ส ติ แต่ จ ะ กำหนดธรรมบทใดก็ตามนอกจากสามบทนี้ ก่อนจะเจริญ ธรรมบทนั้ น ๆ ทุ ก ครั้ ง ควรเจริ ญ รำลึ ก ธรรมสามบท คือ พุทโธ ธัมโม สังโฆ ๓ ครั้ง อันเป็นองค์พระรัตนตรัย ก่อน จากนั้นค่อยบริกรรมบทที่ตนต้องการต่อไป เช่น อานาปานสติ หรืออัฐิ หรือตโจ เป็นต้น การที่ท่านให้มี คำบริกรรมภาวนาเป็นบทๆ กำกับใจในเวลานันหรือเวลาอืน ้ ่ ก็เพื่อเป็นอารมณ์เครื่องยึดของใจในเวลาต้องการความ สงบ เพราะใจเป็ น ของละเอี ย ดตามธรรมชาติ ทั้ ง ยั ง ไม่สามารถพึ่งตัวเองได้ เนื่องจากจิตยังไม่เป็นตัวของตัว โดยสมบูรณ์ ดังพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ท่าน จำต้อง มีบทเป็นคำบริกรรมเพือผูกใจหรือเพือเป็นอารมณ์ของใจ ่ ่ เวลานั้น การบริกรรมภาวนาในธรรมบทใดก็ตาม กรุณา อย่าคาดหมายผลทีจะพึงเกิดขึนในเวลานัน เช่น ความสงบ ่ ้ ้ 0
  • 30. จะเกิดขึ้นในลักษณะนั้น นิมิตต่างๆ จะเกิดขึ้นในเวลานั้น หรืออาจจะเห็นนรกสวรรค์ขุมใดหรือชั้นใดในเวลานั้น เป็นต้น นั้นเป็นการคาดคะเนหรือด้นเดาซึ่งเป็นการก่อ ความไม่สงบให้แก่ใจเปล่าๆ ไม่เกิดประโยชน์อะไรจาก การวาดภาพนันเลย และอาจทำใจให้ทอถอยหรือหวาดกลัว ้ ้ ไปต่างๆ ซึ่งผิดจากความมุ่งหมายของการภาวนาโดย ถูกทางที่ท่านสอนไว้ ที่ถูกควรตั้งจิตกับสติไว้เฉพาะหน้า มีคำบริกรรมเป็นอารมณ์ของใจเพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยมี ใจกับสติสืบต่ออยู่กับคำบริกรรม เช่น พุทโธๆ สืบเนื่องกันไปด้วยความมีสติ และพยายามทำความรู้สึก ตัวอยูกบคำบริกรรมนันๆ อย่าให้จตเผลอตัวไปสูอารมณ์อน ่ั ้ ิ ่ ื่ ระหว่างจิตสติกับคำบริกรรมมีความสืบต่อกลมกลืนกัน ได้เพียงไร ยิ่งเป็นความมุ่งหมายของการภาวนาเพียงนั้น ผลคือความสงบเย็นหรืออืนๆ ทีแปลกประหลาดไม่เคยพบ ่ ่ เคยเห็น อันจะพึงเกิดขึ้นให้ชมตามนิสัยวาสนาในเวลานั้น จะเกิดขึนเอง เพราะอำนาจของการรักษาจิตกับคำบริกรรม ้ ไว้ได้ด้วยสตินั่นแล จะมีอะไรมาบันดาลให้เป็นขึ้นไม่ได้ 1
  • 31. ข้อควรสังเกตและระวังในขณะภาวนา โดยมากมัก คิดและพูดกันเสมอว่าภาวนาดูนรกสวรรค์ ดูกรรมดูเวร ของตนและผู้อื่น ข้อนี้ท่านที่มุ่งต่ออรรถธรรมสำหรับตัว จริงๆ กรุณาสังเกตขณะภาวนาว่า จิตได้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผูกพันกับเรื่องดังกล่าวเหล่านี้บ้างหรือไม่ ถ้ามีควรระวัง อย่าให้มีขึ้นได้สำหรับผู้ภาวนาเพื่อความสงบเย็นเห็นผล เป็นความสุขแก่ใจโดยถูกทางจริงๆ เพราะสิ่งดังกล่าว เหล่านั้นมิใช่ของดีดังที่เข้าใจ แต่เป็นความคิดที่ริเริ่ม จะไปทางผิด เพราะจิตเป็นสิ่งที่น้อมนึกเอาสิ่งต่างๆ ที่ตน ชอบได้แม้ไม่เป็นความจริง นานไปสิ่งที่น้อมนึกนั้นอาจ ปรากฏเป็ น ภาพขึ้ น มาราวกับเป็นของจริงก็ ได้ นี่รู้สึก แก้ยาก แม้ผู้สนใจในทางนั้นอยู่แล้วจนปรากฏสิ่งที่ตน เข้าใจว่าใช่และชอบขึ้นมาด้วยแล้ว ก็ยิ่งทำความมั่นใจ หนักแน่นขึนไม่มทางลดละ จะไม่ยอมลงกับใครง่ายๆ เลย ้ ี จึงได้เรียนเผดียงไว้ก่อนว่าควรสังเกตระวังอย่าให้จิตนึก น้อมไปในทางนั้น จะกลายเป็น นั ก ภาวนาที่ น่ า ทุเรศเวทนา ทั้งที่ผู้นั้นยังทะนงถือความรู้ความเห็น 2
  • 32. ของตัวว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องอยู่ และพร้อมจะสั่งสอนผู้อื่น ให้ เ ป็ น ไปในแนวของตนอี ก ด้ ว ย จิ ต ถ้ า ได้ นึ ก น้ อ มไป ในสิ่ ง ใดแล้ ว แม้ สิ่ ง นั้ น จะผิ ด ก็ ยั ง เห็ น ว่ า ถู ก อยู่ นั่ น เอง จึ ง เป็ น การลำบากและหนั ก ใจแก่ ก ารแก้ ไ ขอยู่ ไ ม่ น้ อ ย เพราะจิตเป็นของละเอียดมากยากที่จะทราบได้กับบรรดา อารมณ์ ที่ จิ ต เข้ า เกาะเกี่ ย ว ว่ า เป็ น อารมณ์ ดี ห รื อ ชั่ ว ประการใด นอกจากท่ า นที่ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า นภาวนา ซึ่งเคยผ่านเหตุการณ์ต่างๆ มาแล้วอย่างโชกโชน เช่น อาจารย์ มั่ น เป็ น ต้ น นั้ น ท่ า นพอตั ว เสี ย ทุ ก อย่ า งไม่ ว่ า ภายในภายนอก ท่านคลี่คลายดูโดยละเอียดทั่วถึงไม่มี ทางสงสัย จึงสมนามที่ท่านเป็นอาจารย์หรือครูชั้นเอก ในการสอนธรรมกรรมฐานแก่บรรดาศิษย์ ท่านผู้ใดจะมีความรู้ความเห็นในด้านภาวนามาก น้อย ทั้งภายในภายนอกมาเพียงไร เวลาเล่าถวายท่าน จบลงแล้ว จะได้ยินเสียงท่านแสดงออกด้วยความเข้มข้น มั่นใจในความรู้ความเห็นของท่านเองอย่างจับใจและหาย สงสัย ทั้งท่านที่มาเล่าถวายและบรรดาศิษย์ที่แอบฟังอยู่
  • 33. ที่นั้น ทั้งเกิดความรื่นเริงในธรรมนั้นสุดจะกล่าว แม้ผู้นั้น จะยั ง สงสั ย ในบางแขนง ขณะท่ า นอธิ บ ายจบลงแล้ ว ได้แยกแยะเรียนความรู้ความเห็นของตนให้ท่านฟังซ้ำอีก ท่านจะชี้แจงเหตุผลของสิ่งนั้นๆ ให้ฟังทันทีด้วยความ มั่นใจที่ท่านเคยผ่านมาแล้ว ท่านจะว่าท่านองค์นั้นว่าท่านลงไปงมกองมูตรกอง คูถอยู่ทำไม ผมเคยงมมาก่อนท่านแล้ว และล้างมือด้วย สิ่งซักฟอกต่างๆ ตั้งสามวันก็ยังไม่หายกลิ่น และท่านยัง ขยั น นำสิ่ ง นั้ น มาทาตั ว ชโลมศี ร ษะโดยเข้ า ใจว่ า เป็ น น้ ำ หอมอยู่ ห รื อ นั่ น คื อ กองมู ต รคู ถ ที่ เ ขาถ่ า ยมาได้ สองสามวั น แล้ ว ซึ่ ง กำลั ง ส่ ง กลิ่ น ฉุ น เต็ ม ที่ ท่ า นอย่ า กล้ า หาญอวดเก่ ง ไปสู ด ดมเล่ น เดี๋ ย วน้ ำ ในบ่ อ จะหมด แต่ สิ่ ง ที่ ท่ า นนึ ก ว่ า หอมนั้ น จะยั ง ไม่ ห ายกลิ่ น จะว่ า ผม ไม่ บ อก ผมเคยโดนมาแล้ ว จึ ง ได้ เ ข็ ด และรี บ บอก กลัวท่านจะโดนเข้าไปอีก ถ้าไม่มีน้ำล้างอาจร้ายกว่าผม ที่เคยโดนมา ทั้ ง ที่ มี น้ ำล้างยังแย่และเข็ดอยู่จนป่านนี้ ดั ง นี้ ซึ่ ง เป็ น คำที่ อ อกรสอย่ า งยิ่ ง สำหรั บ ผู้ เ ขี ย นซึ่ ง มี
  • 34. นิสัยหยาบ ท่านผู้มีนิสัยละเอียดอาจเกิดความขยะแขยง ไม่น่าฟัง แต่การที่ท่านแสดงเช่นนั้นเป็นคำยืนยันอย่าง หนักแน่นแม่นยำในใจ ทั้งทางผิดและทางถูกที่ท่านเคย ผ่านมาให้ผู้มาศึกษาฟัง และหายสงสัยในสิ่งที่ตนยังเห็น ว่าถูกว่าดีนั้น แล้วพยายามติดตามท่านด้วยความแน่ใจ จะไม่โดนกองมูตรกองคูถอีก ซึ่งร้ายกว่าคำที่ท่านชี้แจง ให้ฟังที่คิดว่าเป็นคำหยาบเสียอีก การยกธรรมท่านมาแทรกบ้าง ก็เพื่อท่านนักอบรม ทังหลายจะได้นำไปเป็นข้อคิดว่า ความรูทางด้านภาวนานี้ ้ ้ ไม่ สิ้ น สุ ด อยู่ กั บ ผู้ ใ ดที่ พ อจะยื น ยั น ได้ ที เ ดี ย ว โดยมิ ไ ด้ ไตร่ตรองหรือไต่ถามผู้รู้มาก่อนเสียก่อน นอกจากท่าน ที่ชำนิชำนาญมาอย่างเต็มภูมิแล้ว นั่นไม่นับเข้าในจำพวก ที่ ก ำลั ง เห็ น กองมู ต รคู ถ ที่ ท่ า นตำหนิ ว่ า เป็ น ของดี แล้ ว ชื่ น ชมในความรู้ ค วามเห็ น ของตน แม้ ผู้ เ ขี ย นเอง ก็เคยอวดเก่งในความหางอึ่งของตนและถกเถียงท่าน แบบตาแดงมาแล้ว จนไม่อาจนับได้ว่ากี่ครั้งกี่หนเพราะ ทำอยู่เสมอ รู้ขึ้นมาอยู่เสมอ และสำคัญตัวว่าถูกอยู่เสมอ
  • 35. คำถกเถียงท่านทุกประโยคที่ตนเข้าใจว่าถูกต้องดีแล้ว เหมือนยื่นไม้แต่ละชิ้นให้ท่านตีเอาๆ จนแทบศีรษะไม่มี ผมเหลือค้างอยู่นั่นแล จึงจะได้ความฉลาดอันแหลมคม และความดีจากปัญหาขุยไม้ไผ่ (ปัญหาฆ่าตัวเอง) ของตน ที่ถือว่าถูกว่าดีมาจากที่ไหน นอกจากท่านตีเอาอย่างถนัด มื อ แล้ ว ก็ ยื่ น ยาใส่ แ ผลที่ ถู ก ตี ม าให้ ไ ปใส่ แ ผลเอาเอง เท่านั้น จะได้ดีกรีอะไรมาจากความฉลาดหางอึ่งนั้นเล่า ที่ว่าท่านยื่นยามาให้ไปใส่แผลเอาเองนั้น ได้แก่ท่าน แก้ความรู้ความเห็นทางด้านภาวนาที่ตนสำคัญผิดไปนั้น แล้วเรากลับยอมเห็นตามท่าน กว่าจะยอมลงได้ด้วยเหตุ และผล ก็ถูกท่านเข่นเอาเจ็บพอเข็ดหลาบที่เรียกว่าถูกตี นั่นแล ฉะนั้นจึงเรียนไว้เพื่อทราบว่าคนที่รู้แล้วกับ คนที่ยังหลงอยู่ในกองกิเลสนั้นผิดกัน อยู่ ม าก ถ้าไม่ใช่ผู้รู้มาแก้ความรู้ความเห็นผิดนั้น ปล่อยให้เฉพาะพวกที่เก่งๆ แก้กันเอง ที่นั้นจะต้องกลาย เป็นเวทีมวยฝีปากที่ไม่ยอมลงกันได้ แบบไม่มีใครกล้า
  • 36. จองตั๋วเข้าฟังด้วยได้แน่นอน เพราะกลัวจะไปเหยียบ น้ำลายของนักมวยฝีปากบนเวทีเสียจนลื่น และเลอะไป ทั้งตัวโดยไม่มีผลดีอะไรติดตัวมาบ้างเลย ทั้งนี้ เพราะความรู้ภายในจากการภาวนาเป็นความ สลับซับซ้อนมาก ยากจะกำหนดได้วาอันไหนถูกอันไหนผิด ่ ผู้ปฏิบัติที่ไม่มีครูอาจารย์คอยอบรมสั่งสอนต้องลูบคลำ ผิดก็คลำ ถูกก็คลำ คลำทั้งน้ำทั้งเนื้อ ทั้งเปลือกทั้งกระพี้ ทั้งรากแก้วรากฝอย ทั้งกิ่งทั้งใบเอาไปทำบ้านเรือน คือ เครื่องอยู่ของจิตที่ภาคภูมิใจด้วยไม้ทั้งต้น แล้วก็ชมว่า สวยงามเอาเองทั้งที่คนอื่นดูไม่ได้ การปฏิบัติภาวนาที่ไม่ ใช้วิจารณญาณก็เป็นทำนองนี้เหมือนกัน อะไรๆ ก็จะ เหมาเอาเสียว่าถูกไปหมด เวลาระบายออกมาให้ผู้อื่นฟัง กับปากกับหูตัวเองซึ่งอยู่ใกล้ๆ แทบติดกัน ก็ไม่ยอมฟัง ว่าที่พูดไปนั้นถูกหรือผิดประการใดบ้าง แต่จะเข้าใจว่าถูก และพูดฟุ้งไปทีเดียว ความเสียหายจึงไม่เปื้อนเฉพาะผู้ไม่ พิจารณาสำรวมให้รอบคอบและรูจกประมาณเพียงเท่านัน ้ั ้
  • 37. ยังมีส่วนแปดเปื้อนเลอะเลือนแก่วงพระศาสนาอันเป็น จุดส่วนรวมอีกด้วยจึงควรสำรวมระวั ง ไว้ให้มาก เป็นการดี ขณะนึกคำบริกรรมภาวนาที่เป็นความถูกต้อง ท่าน นักภาวนาควรสนใจกับคำบริกรรมของตน โดยเฉพาะ ในขณะนั่ ง บริ ก รรมภาวนาไม่ ค วรเป็ น กั ง วลกั บ ท่ า นั่ ง ที่กำหนดไว้ถูกต้องแต่ต้นแล้ว คือขณะภาวนาที่กำลัง ทำความกำหนดจดจ่อกับงานที่ทำนั้น กายอาจเอียงหน้า เอียงหลังเอียงซ้ายเอียงขวาไปบ้าง เพราะขาดความสนใจ กับกาย เวลานั้นมีความสนใจกับการภาวนาโดยเฉพาะ ดังนั้น แม้กายจะเอียงไปบ้างก็ตาม แต่จิตขออย่าให้เอียง ไปจากอารมณ์ภาวนาเป็นการดี เพราะจุดสำคัญทีตองการ่้ จริงๆ อยู่กับภาวนา ถ้าจิตมากังวลกับกายอยู่เรื่อยๆ กลัวจะเอนหน้าเอียงหลัง ทำให้จิตเผลอตัวจากคำภาวนา ไม่อาจเข้าสู่ความละเอียดเท่าที่ควรได้ตามกำลังของตน เพือให้จตได้ทำหน้าทีเ่ ต็มความสามารถของตนในเวลานัน ่ ิ ้
  • 38. จึงไม่ควรกังวลกับกายภายนอก แต่ควรทำความจดจ่อ ต่อคำภาวนาอย่างเดียว จนจิตสงบ และรู้เหตุรู้ผลของ ตนได้ตามความมุ่งหมาย แม้ขณะที่จิตสงบรวมลงสู่ภวังค์ คือที่พักผ่อน ตัวหมดความรู้สึกกับสิ่งภายนอกมีกาย เป็นต้น ก็ตาม เวลาจิตถอนขึ้นมาแล้วเห็นกายเอนเอียง ไปในลั ก ษณะต่ า งๆ ก็ ไ ม่ ค วรสงสั ย ข้ อ งใจว่ า กายนั่ น ไม่เที่ยงตรงตามที่กำหนดไว้ การกังวลทางกายและกังวล ทางใจ นอกจากก่ อ ความวุ่นวายให้แก่จิตที่ ไม่รู้หน้า ที่ ของตนแล้ว ผลที่จะพึงได้รับเวลานั้นจึงไม่มีอะไรปรากฏ ยิงไปกว่า กายกับใจเกิดยุงกันในเวลาภาวนาโดยไม่รสกตัว ่ ่ ู้ ึ จึงควรทำความเข้าใจไว้แต่ขณะเริ่มลงมือภาวนา ที่ตั้งฐานสูงต่ำแห่งอารมณ์ของจิต กรรมฐานบาง ประเภทอันเป็นอารมณ์ของจิตย่อมมีฐานเป็นตัวอยู่แล้ว เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน มีฐานเป็นของตัวอยู่โดยเฉพาะ ส่วนหนังบางส่วนที่ถูกกำหนดเป็นฐาน ย่อมทราบว่าอยู่ ในที่ เ ช่ น ไร สิ่ ง ที่ ถู ก กำหนดนั้ น ๆ พึ ง ทราบไว้ ว่ า มี อ ยู่ อารมณ์แห่งกรรมฐานในที่เช่นนั้นๆ สูงหรือต่ำประการใด
  • 39. สิ่งนั้นๆ มีฐานของตนที่เป็นอยู่ตายตัว เช่น ฟันมีอยู่ใน มุขทวาร ผมตั้งอยู่บนศีรษะมีส่วนสูงเป็นที่อยู่ นอกนั้น เช่น หนัง ผม ขน เอ็น กระดูก มีอยู่ในที่ทั่วไปตามแต่จะ กำหนดเอาอาการใดเป็นอารมณ์แห่งกรรมฐาน และอาการ นั้นๆ ตั้งอยู่ในที่เช่นไร เวลากำหนดสิ่งนั้นๆ เป็นอารมณ์ ตามฐานของตนที่ ตั้ ง อยู่ สู ง หรื อ ต่ ำ ประการใด กรุ ณ า ทราบไว้ ต ามฐานของสิ่ ง นั้ น ๆ เวลากำหนดอาการใด อาการหนึ่ ง ที่ ก ล่ า วมาเป็ น อารมณ์ ใ นขณะภาวนา พึงกำหนดเฉพาะอาการนั้นเป็นสำคัญกว่าความสูงหรือ ต่ำที่กำหนดไว้เดิม เช่นเดียวกับท่านั่งสมาธิที่เอนเอียง ไปบ้ า งไม่ ส ำคั ญ ความสู ง หรื อ ต่ ำ ที่ เ รากำหนดไว้ เ ดิ ม อย่างไร ก็ปล่อยตามสภาพเดิม อย่ายกกรรมฐานที่เคย กำหนดแล้วว่าอยู่ในที่เช่นนั้นมาตั้งใหม่เรื่อยๆ โดยเข้าใจ ว่าเคลื่อนจากที่เดิม ถ้ายกมาตั้งใหม่ตามความสำคัญ ของใจ จะทำให้ เ ป็ น กั ง วลไปกั บ ฐานนั้ น ๆ ไม่ เ ป็ น อั น กำหนดภาวนากับกรรมฐานบทนั้นได้อย่างถนัดชัดเจน เช่ น กำหนดกระดู ก ศี ร ษะและเพ่ ง สิ่ ง นั้ น เป็ น อารมณ์ 0
  • 40. จนปรากฏเห็นเป็นภาพชัดเจนเหมือนกับดูด้วยตาเนื้อ แต่แล้วเกิดความสำคัญขึ้นว่ากระดูกศีรษะนั้นได้เคลื่อน จากฐานบนมาอยู่ ฐ านล่ า งซึ่ ง ผิ ด กั บ ความจริ ง แล้ ว กำหนดใหม่ ดังนี้เป็นต้น ซึ่งเป็นการสร้างความลูบคลำ สงสัยให้แก่ใจอยู่เสมอ ไม่มีเวลาพิจารณาอาการนั้นๆ ให้แนบสนิทลงได้ ที่ถูกควรกำหนดอาการนั้นๆ ให้อยู่ใน ความรู้สึกหรือความเห็นภาพแห่งอาการนั้นๆ ด้วยความ รู้สึกทางสติไปตลอดสาย แม้ภาพของอาการนั้นๆ จะ แสดงอาการใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง หรือแสดงอาการแตก สลายไป ก็ควรกำหนดรู้ไปตามอาการของมัน โดยไม่ คำนึงถึงความสูงต่ำที่เคยกำหนดไว้เดิม การทำอย่างนี้จะ ทำให้จิตแนบสนิทและเกิดความสลดสังเวชไปกับอาการ ที่กำหนด ซึ่งแสดงอาการแปรสภาพให้เห็นอย่างเต็มใจ การกำหนดลมหายใจและฐานทีตงของลมก็เหมือนกัน ่ ั้ เมือกำหนดลมทีแรกได้กำหนดไว้ในทีเ่ ช่นไร เช่น กำหนด ่ ที่ดั้งจมูก เป็นต้น เวลาดูลมเพลินไปด้วยความสนใจอาจ เกิดความสงสัยขึ้นมาในเวลานั้นได้ว่า ลมได้เคลื่อนจาก 1
  • 41. ดั้งจมูกไปอยู่ในฐานอื่น เป็นต้น แล้วตั้งลมที่ดั้งจมูกใหม่ ดังนี้ เรียกว่าก่อกวนตัวเองด้วยความสำคัญ จะไม่เกิดผล ได้เลย เพราะความสงสัยมาแย่งเอาไปเสียหมด เพื่อ ความถูกต้องและหายกังวลในฐานต่างๆ จึงควรปฏิบัติ ตามที่กล่าวมาในอาการอื่นๆ คือพึงทำความรู้ชัด ในกองลมที่ ผ่ า นเข้ า ผ่ า นออกด้ ว ยสติ ทุกระยะไปจนถึงที่สุดของลม แม้ฐานของ ลมจะปรากฏว่าสูงต่ำ หรือผิดฐานเดิมไปตามความเข้าใจ ก็ตาม จะไม่ทำให้การกำหนดนั้นเสียไปแม้แต่น้อยเลย ยิ่งจะทำให้จิตกับลมสนิทแนบต่อกันไปตลอดที่สุดของ การภาวนาหรือที่สุดของลม ลมหายใจดับไปในความรู้สึก ขณะภาวนาอานาปาน สติในบางครั้ง ที่สุดของลมคือดับไป ที่สุดของใจคือรวม ลงสนิท หมดความรับผิดชอบกับลม ตั้งอยู่เป็นเอกจิต คือมีอารมณ์เดียว เพียงรู้อย่างเดียวไม่เกี่ยวกับสิ่งใด ต่อไปอีก ที่เรียกว่า จิ ต รวมสนิ ท ทางสมาธิ ภาวนา แต่ผภาวนาอานาปานสติ เมือเข้าถึงลมละเอียด ู้ ่ 2
  • 42. และลมดับไปในความรูสกขณะนัน เกิดตกใจด้วยความคิด ้ึ ้ หลอกตัวเองว่า “ลมดับต้องตาย” เพียงเท่านี้ ลมก็กลับ มี ม า และกลายเป็ น ลมหยาบไปตามเดิ ม จิ ต ก็ ห ยาบ สุดท้ายการภาวนาก็ไม่ก้าวไปถึงไหน คงได้เพียงขั้นกลัว ตายแล้ ว ถอยจิ ต ถอยลมขึ้ น มาหาที่ ที่ ต นเข้ า ใจว่ า จะ ไม่ตายนี้เท่านั้น การภาวนาแบบนี้มีมากรายในวงปฏิบัติ จึ ง ได้ เ รี ย นไว้ บ้ า ง เพราะอาจเกิ ด มี แ ก่ ท่ า นที่ ภ าวนา อานาปานสติเป็นบางราย แล้วอาจเสียท่าให้กับความ หลอกลวงนี้ได้ การภาวนาเพื่ อ เห็ น ความจริ ง กั บ ลมในอานาปานสติ กรุณากำหนดลม ด้วยสติจนถึงที่สุดของลม และของจิต จะเห็นความอัศจรรย์อย่างเด่นชัดขณะ ผ่ า นความกลัวตายในระยะที่เข้าใจว่ า ลมดั บ ไปแล้ ว ด้ ว ยความกล้ า หาญ คือ
  • 43. ขณะเจริญอานาปานสติไปถึงลมละเอียดและลมดับไป ในความรูสกขณะนัน โปรดทำความเข้าใจว่า แม้ลมจะดับ ้ึ ้ ไปจริงๆ ก็ตาม เมือความรูสกคือใจยังครองตัวอยูในร่างนี้ ่ ้ึ ่ อย่างไรก็ไม่ตายแน่นอน ลมจะดับก็จงดับไป หรืออะไรๆ ในกายจะดับไปตามลมก็จงดับไปตามธรรมชาติของตน สำหรับใจผู้ไม่ดับไม่ตายไปกับสิ่งเหล่านั้น จะกำหนดดูให้ รู้ทุกอย่างบรรดาที่ผ่านเข้ามาในความรู้สึกขณะนี้ แต่จะ ไม่เป็นกังวลกับอะไรที่เป็นสภาพเกิดๆ ดับๆ เพียงเท่านี้ จิตจะตัดความกลัวและกังวลต่างๆ ที่เคยสั่งสมไว้ออกได้ อย่างไม่คาดฝัน และสงบลงถึงฐานของสมาธิโดยไม่มี อะไรมากีดขวางได้เลย สิ่งที่เป็นอุปสรรคกีดขวางขณะ ลมจะดับ หรื อ ขณะลมดับไป ก็มีเฉพาะความกลัวตาย เท่านั้นเอง พอผ่านอุปสรรคนี้ไปได้ด้วยอุบายดังกล่าว เพียงครังเดียวเท่านัน ครังต่อไปความกลัวหายหน้าไปเลย ้ ้ ้ ไม่อาจกลับมาหลอกได้อีก เราจึงพอมองเห็นเล่ห์เหลี่ยม ของกิเลสได้ชัดตอนนี้แล ครั้นแล้วเราก็ไม่เห็นตายดัง ความคาดคิด ก็ยิ่งทำให้เห็นตัวมารที่แสนปั้นเรื่องขึ้น