SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
กาเนิดระบบสุริยะ
ครู สุขุมาล เอกะโยธิน
ม.3
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลาง ปั จจุบัน
มีดาวเคราะห์ 8 ดวง มีดวงจันทร์เป็ นบริวารของดาวเคราะห์
แต่ละดวง ดาวเคราะห์น้อยดาวหาง อุกาบาตร และกลุ่มฝุ่ น
และแก๊ส ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจรภายใต้แรงดึงดูดของดวง
อาทิตย์
ระบบสุริยะ
ทฤษฎีการกาเนิดระบบสุริยะ
1.ทฤษฎีของลาปาส (Peirre.S Laplace) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้
เสนอทฤษฎีไว้ว่า
มวลของฝุ่ นและแก๊สขนาดมหิมามีรูปร่างเป็ นจานแบนๆหมุนรอบ
ตัวเองตัวเองและเกิดการหดตัวลงเพราะแรงดึงดูดของมวลแก๊สทาให้
หมุนรอบตัวเองเร็วขึ้นและหนีศูนย์กลางที่ขอบของกลุ่มแก๊สมีมากกว่า
แรงดึงดูด ทาให้เกิดเป็ นวงแหวนของกลุ่มแก๊สแยกตัวเป็ นชั้นๆ บริเวณ
ที่มีความหนาแน่นมากจะดึงวัตถุในวงแหวนมารวมกัน กลายเป็ นดาว
เคราะห์ วงแหวนใดมีแก๊สหลุดออกไปกลายเป็ น ดวงจันทร์ ส่วนดาว
หางและสะเก็ดดาวเกิดจากเศษเหลือระหว่างการเกิดดาวเคราะห์
ทฤษฎีการกาเนิดระบบสุริยะ
2.จีนส์ (Jeans,J.H.) นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ตั้งทฤษฎีว่า ดวง
อาทิตย์เกิดมาแต่เดิม ต่อมามีดาวฤกษ์ดวงหนึ่งเคลื่อนที่มาเฉียดดวง
อาทิตย์ ทาให้เกิดแรงดึงดูดอย่างแรง ทาให้ชิ้นส่วนของดาวฤกษ์และ
ดวงอาทิตย์หลุดออกมาวนรอบดวงอาทิตย์กลายเป็นดาวเคราะห์ต่างๆ
รวมทั้งโลกและสิ่งอื่นๆ
ทฤษฎีการกาเนิดระบบสุริยะ
3.ฮอยส์ (Hoyle,F.) นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ให้ข้อคิดว่า ระบบ
สุริยะเป็นระบบดาวคู่ คือ มีดวงอาทิตย์กับดาวฤกษ์อีกดวงหนึ่ง
เคลื่อนที่รอบซึ่งกันและกัน ต่อมาดาวฤกษ์เกิดระเบิด ชิ้นส่วนจากการ
ระเบิดของดาวฤกษ์รวมกันกลายเป็นดาวเคราะห์
การแบ่งประเภทดาวเคราะห์
นักดาราศาสตร์แบ่งดาวเคราะห์ตามวงโคจรหลักของ
โลกเป็ นหลัก ได้ 2พวก คือ
1.ดาวเคราะห์วงใน หมายถึง ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรอยู่
ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์
2.ดาวเคราะห์วงนอก หมายถึง ดาวเคราะห์ที่อยู่ถัดจาก
โลกออกไป ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาว
เนปจูน และพลูโต
ดาวเคราะห์วงใน
ดาวเคราะห์วงนอก
การแบ่งดาวเคราะห์โดยกาหนดจากวงโคจรของดาวเคราะห์น้อย
แบ่งได้ 2 ทาง คือ
1.ดาวเคราะห์ชั้นใน เป็ นดาวเคราะห์ที่อยู่ระหว่างดวง
อาทิตย์กับดาวเคราะห์น้อย ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์
ดาวอังคาร โลก
2.ดาวเคราะห์ชั้นนอก เป็ นดาวเคราะห์ที่อยู่ถัดจากวง
โคจรของดาวเคราะห์น้อยออกไป เช่น ดาวพฤหัสบดี
ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และพลูโต
การแบ่งดาวเคราะห์ตามลักษณะพื้นผิว หรือส่วนประกอบ
แบ่งได้ 2 พวก คือ
1.ดาวเคราะห์หิน หมายถึงดาวเคราะห์ที่มีพื้นผิวแข็งเป็ น
หิน มีขนาดเล็ก ไม่ใหญ่มาก มีความหนาแน่น 5 เท่าของน้า
พื้นผิวดาวเป็ นหินแข็งประกอบด้วยโลหะ เช่น เหล็ก หรือนิกเกิล
เป็ นส่วนใหญ่ มีบรรยากาศบางๆ ห่อหุ้ม
2.ดาวเคราะห์แก๊ส หมายถึง ดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ มี
องค์ประกอบเป็ นแก๊สอีเลียมและไฮโดรเจนปกคลุม อาจมีแกนกิน
อยู่ในดาวเคราะห์ มีความหนาแน่นต่า มีลักษณะคล้ายกับดวง
อาทิตย์มากกว่าดาวเคราะห์ชั้นนอก
ดาวเคราะห์น้อย
เป็ นวัตถุขนาดเล็กจานวนมากในระบบสุริยะ โคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์
แถบวงโคจรอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี โคจรห่างจากดวง
อาทิตย์ราว 2.8 หน่วยดาราศาสตร์ จึงเรียกว่า เข็มขัดดาวเคราะห์น้อย เชื่อ
ว่าในระบบสุริยะมีดาวเคราะห์น้อยประมาณกว่า1 แสนดวง ดาวเคราะห์น้อยมี
รูปร่างแปลกประหลาด ขรุขระจานวนมาก ขนาดต่างกัน และต้องดูด้วย
กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่จึงจะมองเห็นได้ ดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุด คือ
ซีเรส มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1,025 กิโลเมตร หลังจากนั้นก็พบอีกหลายๆดวง
ดาวเคราะห์น้อย
อุกาบาต
เป็ นวัตถุนอกโลก ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง เมื่อโคจรเข้าใกล้จะถูก
ดึงดูด และเคลื่อนที่เข้ามาในชั้นบรรยากาศและเสียดสีกับของโลก
ทาให้เกิดแสงสว่าง และลุกไหม้ เรียกว่า ดาวตก อุกาบาตรชิ้นใหญ่
การเผาไหม้เป็ นเวลานาน ทาให้แสงสว่างจ้า เรียกว่า ผีพุ่งใต้ ถ้ามี
ขนาดใหญ่เผาไหม้ไม่หมดจะเหลือชิ้นส่วน ตกลงมาบนพื้นโลก
เรียกว่า ลูกอุกาบาต เมื่อตกลงมาทาให้เกิดหลุม เรียกว่า หลุมอุกา
บาต
อุกาบาต ดาวตก ผีพุ่งใต้
หลุมอุกาบาต
ดาวหาง
ประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ
1.ใจกลางหัว หรือนิวเคลียส เป็ นส่วนที่สาคัญที่ มีขนาดเล็ก ประกอบด้วย
น้าแข็ง แก๊ส CO2 มีเทน แอมโมเนีย และมีเปลือกแข็งที่มีเศษฝุ่ นปะปนอยู่
กับนาแข็ง
2.หัว หรือโคมา มีขนาดใหญ่กว่านิวเคลียส มีลักษณะกลม เป็ นดวงฝ้ าที่
ไม่มีขอบชัดเจน มีความหนาแน่นต่า และแผ่รังสีออกมาด้วย
3.ส่วนหาง มีความยาวนับล้านกิโลเมตร มีลักษณะของหาง คือ
หางฝุ่ น เกิดจากอนุภาคของฝุ่ นขนาดเล็กหลุดออกจากนิวเคลียส
หางไอออนหรือหางแก๊ส มีความยาวกว่าหางฝุ่ น สว่างน้อยกว่าหาง
ฝุ่ น เกิดจากแก๊สบริเวณหัวของดาวหางเรืองแสง
ประเภทดาวหาง
1.ดาวหางไม่เป็ นคาบ มีวงโคจรใหญ่โตมาก ใช้เวลานานหลายปี ในการ
วนรอบดวงอาทิตย์ เช่น ดาวหางเดลาจาน
2.ดาวหางคาบยาว เป็ นดาวหางที่ไม่ใช้เวลาวนรอบดวงอาทิตย์นาน
กว่า 200 ปี บางครั้งอาจนานเป็ นพันๆปี เช่น ดาวหางคอปพ์
3.ดาวหางคาบสั้น ถูกจับด้วยความความโน้มถ่วงของดาวเคราะห์
โดยเฉพาะดาวพฤหัสบดี วงโคจรของดาวหางประเภทนี้ใช้เวลาไม่
นานนัก เช่น ดาวหางเองเค ดาวหางฮัลเล่ย์ ดาวหางคลีโมลา
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ คือ ศูนย์กลางของ
ระบบสุริยะจักวาล เป็ นดาวฤกษ์ที่
ใกล้โลกมากที่สุด มีอายุประมาณ
5,000 ล้านปี อยู่ห่างจากโลก 150
ล้านกิโลเมตร พลังงานของดวง
อาทิตย์ได้มาจาก ปฏิกิริยา
นิวเคลียร์ฟิชชันที่เปลี่ยนไฮโดรเจน
เป็ นฮีเลียม
วิวัฒนาการของดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์มีอายุถึง 5,000 ล้านปี และถึงจุดจบในอีกราว 5,000 ล้านปีข้างหน้า เมื่อ
ไอโดรเจนที่เป็นเชื้อเพลิงหมดไป แรงโน้มถ่วงจะมากกว่าแรงดัน ทาให้ดวงอาทิตย์ยุบตัว
ส่งผลให้แก่นกลางอุณหภูมิสูงขึ้นเป็น 100 ล้านเคลวิน จึงเกิดปฏิกิริยาเทอร์โม
นิวเคลียร์หลอมฮีเลียมเป็นคาร์บอนที่แก่นกลาง ส่วนชั้นรอบนอกเกิดจากการหลอม
ไฮโดรเจนเป็นอีเลียม จึงเกิดพลังงานมหาศาล และดันให้มีการขยายตัวออกมาขนาด
ใหญ่ขึ้นเป็น 100 เท่าของปัจจุบัน เรียกว่า ดาวยักษ์แดง ซี่งเป็นวาระสุดท้ายของดวง
อาทิตย์ที่มีอีเลียมเป็นเชื้อเพลิง อุณหภูมิแก่นกลางลดลง แรงโน้มถ่วงทาให้แก่นกลาง
ของดาวยักษ์แดงยุบตัวกลายเป็นดาวแคระขาว ส่วนมวลของแก๊สที่อยู่รอบนอก
กลายเป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ เคลื่อนห่างจากดาวแคระขาวไปสูอวกาศ ในที่สุดดาว
แคระขาวหยุดสว่างเพราะไม่มีปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ กลายเป็น ดาวเคราะห์ดา
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
1.ชั้นแก่นกลางของดวงอาทิตย์ เป็ น
ชั้นที่ลึกที่สุด มีรัสมี 1 แสน
กิโลเมตร อาจเรียกว่า แก่นกลาง
ไฮโดรเจน มีอุณหภูมิ 10 -15 ล้าน
เคลวิน เป็ นชั้นทีเกิดปฏิกิริยา
นิวเคลียร์ แล้วแผ่รังสีออกมาสู่
ส่วนนอกของดวงอาทิตย์
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
2.ชั้นแผ่รังสี มีความหนา 4
แสนกิโลเมตร เป็ นชั้นที่กาเนิด
จากแก่นกลางของดวงอาทิตย์
ถูกส่งอกมาอย่างรวดเร็ว และ
ปริมาณมาก สสารทุกอย่างใน
ชั้นนี้ร้อนจนกลายเป็ นไอและ
กลายเป็ นประจุไฟฟ้ า
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
3.ชั้นพาความร้อนหรือชั้นแก๊ส
หมุนวน มีความหนา 2 แสน
กิโลเมตร มีแก๊สทาหน้าที่เป็ นตัว
พาความร้อน จากระดับล่างขึ้นสู่
ผิวและตกกลับลงมาใหม่ โดย
การหมุนวน การถ่ายเทพลังงาน
ในชั้นนี้ใช้เวลานานมากประมาณ
1-5 แสนปี จึงจะเดินทางมาถึงผิว
ดวงอาทิตย์
ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์
1.ชั้นโฟโตสเฟียร์ เป็ นชั้นที่สว่างออกจาก
ดวงอาทิตย์ มีความหนาราว 500 –
850 กิโลเมตร ประกอบกอบด้วยอะตอม
ของนิวเคลียสของไฮโดรเจน เป็ นชั้นที่
แผ่พลังงานออกสู่อากาศ เป็ นชั้นที่
เกดเหตุการณ์สาคัญ คือ จุดบนดวง
อาทิตย์ การลุกจ้าหรือระเบิดจ้าบน
ดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์ดอกดวง
บนดวงอาทิตย์
ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์
2.ชั้นโครโมสเฟี ยร์ เป็ นชั้นที่มีความหนา
2,000-3,000 กิโลเมตร เป็ นชั้นที่ค่อนข้าง
โปร่งแสง บรรยากาศชั้นนี้จะมีแก๊สอยู่ทั่วไป
ซึ่งจะปรากฏเป็ นแสงสีแดงเรื่อๆ อุณหภูมิจะ
เคลื่อนที่ตามระยะห่างออกไป ตั้งแต่ 4,500
– 10,000 เคลวิน เป็ นชั้นที่เกิดปรากฏการณ์
สาคัญ คือ เปลวสุริยะ ซึ่งเป็ นการระเบิด
ของแก๊สร้อน แผ่กระจายจากพื้นผิวดวง
อาทิตย์และลอยค้างในอวกาศ
ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์
3.ชั้นโคโรนา มีความสูงตั้งแต่ 5,000
กิโลเมตร และแผ่ออกไปมากกว่า
1,000,000 กิโลเมตรจากผิวดวงอาทิตย์
จะสังเกตชั้นโคโรนาจากการเกิด
สุริยุปราคาเต็มดวงโดยจะมองเห็นเป็ น
รัศมีของไข่มุกหุ้มดวงอาทิตย์ เป็ นชั้นที่มี
ความหนาแน่นน้อย และบรรยากาศมี
อุณหภูมิสูงมากถึง 2 ล้านเคลวิน เป็ น
ผลทาให้เกิดการระเหยของแก๊สออกไป
อย่างต่อเนื่องทาให้ลมสุริยะแพร่ออกไป
ข้างนอก
จุดบนดวงอาทิตย์
จุดบนดวงอาทิตย์เป็ นสีคล้าบนดวง
อาทิตย์ที่ชั้นโฟโตสเฟียร์ เป็ นบริเวณ
ที่มีอุณหภูมิต่ากว่าบริเวณข้างเคียง
แต่ก็ยังมีอุณหภูมิสูงมากเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กที่
พื้นผิวดวงอาทิตย์และจุดนี้จะมี
จานวนเพิ่มขึ้นมากสูงสุดทุก 11 ปี
ซึ่งสัมพันธ์กับการประทุจ้าหรือระเบิด
จ้าที่พื้นผิงดวงอาทิตย์
ปรากฏการณ์ดอกดวงบนดวงอาทิตย์
เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นที่ชั้นโตส
เฟียร์ เกิดจากการหมุนวนของแก๊ส
ร้อนจากภายในดวงอาทิตย์ เมื่อขยาย
ภาพดอกดวงบนดวงอาทิตย์จะพบ
ตรงกลางมีความสว่างมากว่าตรง
ขอบเนื่องจากแก๊สร้อนที่ลอยตัวขึ้นมา
คล้ายการเดือดของแก๊ส ตรงกลาง
คายความร้อนเมื่อเย็นลงก็จะตก
กลับไป
เปลวสุริยะ
เป็ นการระเบิดของดวงอาทิตย์
ที่ทาให้มวลสารกระเด็นขึ้นมาสูง
มากจากผิวของดวงอาทิตย์
เกิดขึ้นในบริเวณที่มีเส้นแรง
แม่เหล็กพุ่งขึ้นเหนือผิวดวง
อาทิตย์ มวลสารที่มีประจุจึงพุ่ง
ขึ้นตามเส้นแรงแม่เหล็ก
ลมสุริยะ
ลมสุริยะ คือ อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าพลังงานสูง แพร่กระจายออกจากชั้นโค
โรนา ส่วนโปรตอนและอิเล็กตรอนจะแผ่รังสี เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 300 –
1,000 กิโลเมตรต่อนาที
ปรากฏการณ์ลุกจ้าของดวงอาทิตย์
เกิดขึ้นจากกลุ่มแก๊สบนดวงอาทิตย์บริเวณรอบๆจุดบนดวง
อาทิตย์ เป็ นการคายพลังงานมหาศาลออกมาในเวลาสั้นๆ โดยมี
ความสว่างและรังสีหลายชนิด เช่น รังสีแกมมา รังสีเอ็กซ์ จนถึง
วิทยุคลื่นยาวและมีอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูง
ออกมามาก ทาให้อนุภาคมีความเร็วสูงพอที่จะหลุดออกจากผิว
ดวงอาทิตย์ เรียกว่า พายุสุริยะ ซึ่งจะเกิดทุกๆ 11 ปี และจะมีผลไป
รบกวนสนามแม่เหล็ก ทาให้เกิดพายุแม่เหล็ก รบกวนการสื่อสาร
ด้วยวิทยุคลื่นสั้นทั่วโลก เกิดไฟฟ้ าพลังงานสูงดับในประเทศที่อยู่
ใกล้ขั้วโลก และเกิดแสงเหนือใต้
พายุสุริยะ
กระแสของอนุภาคพลังงานสูงที่พัดมาจาก
ดวงอาทิตย์ด้วยปริมาณและความเร็วสูง
กว่าระดับปกติ อนุภาคนี้มีทั้งอิเล็กตรอนและ
โปรตรอน เป็ นตัวการทาให้เกิดแสงเหนือใต้
และพายุแม่เหล็ก ซึ่งจะไม่ส่งผลโดยตรงต่อ
โลกและสิ่งมีชีวิตบนโลก เนื่องจากโลกมี
บรรยากาศและสนามแม่เหล็กคุ้มกัน แต่จะ
ส่งผลต่อดาวเทียม และระบบสายส่งบนโลก

Contenu connexe

Tendances

ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

Tendances (20)

ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 

Similaire à กำเนิดสุริยะ ม.3

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2557
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 

Similaire à กำเนิดสุริยะ ม.3 (20)

Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 

กำเนิดสุริยะ ม.3