SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  301
ชีวา
ณ เคหาสน์
ณ อาศรม
ณ อารมณ์
ณ อาลัย
เรียบเรียงโดย เมทนี แสงธรรม
Complied by: Martin Chan
编制者: 马丁 陈
29/01/2566
10.27AM.
๑
2
เคหาสน์
คาว่า คฤหาสน์
แปลว่า บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย
เป็นคาสนธิภาษาสันสกฤต
จากคาว่า คฤห+อาสน
ส่วนภาษาบาลีนั้น
จะใช้ เคห+อาสน = เคหาสน์ มี
ความหมายว่า บ้านเรือน
หรือที่อยู่อาศัย เช่นเดียวกัน
(บางคน เคยชินกับคาว่า เคหะ
ในคาว่า เคหสถาน
ที่แปลความหมายเช่นเดียวกัน
มากกว่า )
ซึ่งมีหลายคนมักใช้ตัวการันต์ผิด
เพราะคงเคยผ่านตากับคาว่า คฤหัสถ์
3
ที่แปลว่า ผู้ครองเรือน มาบ้าง
จนจาสับสน
คาว่า คฤหัสถ์ แปลว่า ผู้ครองเรือน
มีความหมายเช่นเดียวกับ ฆราวาส
ใช้เรียกบุคคลทั่วไป
ที่ไม่ได้ดารงเพศสมณะ หรือเป็นสงฆ์
*ข้อควรจา*
คฤหัสถ์ ใช้ ถ์
เพราะ"ถือ"ครองความเป็นเจ้าเรือน
คฤหาสน์ ใช้ น์
เพราะสนธิกับคาว่า อาสน ซึ่งเป็น
ที่"นั่ง"
https://www.facebook.com/Ruk.pasa/posts/414682928601424/
อาศรม
อาศรม ในศาสนาฮินดู
หมายถึง ระยะของชีวิต 4 ระยะ
4
ซึ่งมีระบุไว้ในเอกสารยุคโบราณและยุค
กลางของฮินดู
อาศรมทั้งสี่ระยะ
ได้แก่ พรหมจรรยะ (ผู้เรียน),
คฤหัสถะ (ผู้ครองเรือน),
วานปรัสถะ (ผู้ออกจาริก) และ
สันยาสะ (ผู้ละทิ้งทางโลก)
อาศรมสี่
เป็นหนทางหนึ่งของแนวคิด ธรรมะ
ในศาสนาฮินดู
และเป็นส่วนหนึ่งของประเด็นทางจริยศ
าสตร์ของปรัชญาอินเดีย
5
ที่ซึ่งถูกรวม
เข้ากับเป้ าหมายสี่ประการของชีวิตมนุษ
ย์
(ปุรุษสรรถะ) เพื่อการเติมเต็ม,
ความสุข และการบรรลุทางจิตวิญญาณ
แนวคิดอาศรมสี่
ยังมีอิทธิพล
ต่อการวางแผนดารงชีวิตของผู้คน
โดยเฉพาะในอินเดีย
http://bit.ly/3HCgc6K
อารมณ์
6
อารมณ์
ส่งผลกระทบทั้งด้านร่างกาย จิตใจ
และพฤติกรรมของตนเอง
รวมทั้งส่งผลต่อผู้อื่นด้วย
การจัดการกับอารมณ์
เป็นทักษะ ที่สามารถพัฒนาได้
ด้วย วิธีการและเทคนิคต่างๆ
7
เช่น การควบคุมอารมณ์ทางลบ
ให้มีการแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะ
สม
ถือเป็นการพัฒนาตนเอง
ให้มีความสามารถทางอารมณ์
ที่มีความจาเป็นในการใช้ชีวิต
และส่งผลต่อความสาเร็จในชีวิตด้วย
เทคนิคที่จะช่วยในการฝึกมีดังนี้
8
1.
ทบทวนการแสดงออกทางอารมณ์ของตั
วเราเอง
2.เตรียมการในการแสดงอารมณ์
3. ฝึกสติ
4. ฝึกการผ่อนคลายตนเอง
5. ประเมินสถานการณ์และอารมณ์
อาลัย
คาว่า “อาลัย”
ถ้าได้ยินคาว่า “อาลัย”
หลายคน
คงคิดถึงความหมาย
ประมาณว่า ความห่วงใย, ความพัวพัน,
ความระลึกถึงด้วยความเสียดาย
แน่นอน
9
แต่คาว่า “อาลัย”
ยังมีอีกความหมาย คือ ที่อยู่, ที่พัก
คาว่า “อาลัย” ในความหมายนี้
จะใช้ประกอบกับคาอื่น
ด้วยการสมาสแบบสนธิ
คาว่า “หิมาลัย” มาจาก หิมะ + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งหิมะ”
คาว่า “ชลาลัย” มาจาก ชล + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งน้า”
คาว่า “วิทยาลัย” มาจาก วิทยา + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งความรู้”
คาว่า “เทวาลัย” มาจาก เทวะ + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งเทวดา”
คาว่า “สุราลัย” มาจาก สุร + อาลัย
10
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งเทวดา”
คาว่า “ศิวาลัย” มาจาก ศิวะ + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งพระศิวะ”
https://www.facebook.com/kumthai.th/photos/a.1502532273398314/2353947471590
119/?type=3
11
13 ฮวงจุ้ยห้องนอน ทิศหัวนอนไหน สุขภาพดี
25 การนอนหลับ
40 วิธีการเสริมสร้างพลังหยางที่ง่ายและประหยัด
43 ตาแหน่งทิศทางดาวโคจรทั้ง 9 ดวงประจาปีพ.ศ.
2566
> ดาวบิน “สี่เขียว” (ซี้เล็ก) “บุ่งเข็ก”
สารบัญ
12
56 การเลือกสีใช้สีภายนอก > ธาตุของอาคารบ้านเรือน >
บ้านธาตุไม้
60 พลังเบญจธาตุสัมพันธ์กับคุณได้อย่างไร
71 ถอดรหัสปฎิทินจีน ตอน ฤดูกาลยิบย่อย
96 ประวัติการแพทย์จีน ตอน ซางหางลุ่น
111 ปรัชญาการแพทย์ ตะวันออก – ตะวันตก
137 โหราศาสตร์จีน12 นักษัตร
– วันเปลี่ยนปีนักษัตร ปีขาล ตามคติจีน-ไทย ปี 2565
159 เทพปกรณัม– ไท้ส่วยเอี๊ย
เทพคุ้มครองดวงชาตาประจาปี กุ่ยเบ้า
หรือปี พ.ศ. 2446, 2506, 2566
172 เบ้า (เถาะ) ธาตุไม้ มีราศีแฝง คือ 乙
196 戌 สุก (จอ) ธาตุดิน มีราศีแฝง คือ 戊丁辛
213 ไฉ่โข่วเปิด
217 ฮะแล้วเฮง หรือ ฮะแล้วเจ๊ง
246ลักษณะดาวจับซิ้งแข็งแรงหรืออ่อนแอ (十神)
ตามวงจรธาตุ
261‘จอห์น เดวิดสัน ร็อกกี้เฟลเลอร์’ เจ้าของ ‘Esso’
ราชาน้ามันที่ (เคย) รวยที่สุดในโลก
ฮวงจุ้ยห้องนอน ทิศหัวนอนไหน
สุขภาพดี
https://architectfengshui.com/feng-shui-the-bedroom-the-direction-of-the-head-which-is-healthy/
13
ฮวงจุ้ยหัวนอน เป็นเรื่องสาคัญมาก
ซึ่งก็มีหลักในการเลือกจัดฮวงจุ้ยห้องนอ
น
และทิศหัวนอนที่ดี
โดยในแต่ละตารา
ก็อาจจะไม่มีความแตกต่างกันมากนัก
ส่วนใหญ่
มักจะแนะนาให้หลีกเลี่ยง
14
การหันหัวนอนไปทางทิศตะวันตก
ด้วยเหตุผลด้านความเชื่อ
และวิทยาศาสตร์ผสมผสานกันด้วย
ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
 ฮวงจุ้ยห้องนอน ทิศหัวนอน
 ฮวงจุ้ยห้องนอน
ตาแหน่งเตียงที่แนะนา
ฮวงจุ้ยห้องนอน ทิศหัวนอน
เราควรเลือกจัดทิศหัวนอนยังไง
ที่เชื่อกันว่าทาให้สุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย
แนวคิดเรื่องการหันหัวนอน
ไปทางทิศที่ดีต่อสุขภาพ
15
ตามหลักฮวงจุ้ยคือ
ทิศเหนือและทิศตะวันออก
ซึ่งเชื่อว่าเป็นทิศที่ดีที่สุดสาหรับการวาง
หัวเตียงนอน
เนื่องจากมีความเชื่อว่า
การหันหัวนอนไปยังทิศที่ว่านั้น
จะช่วยส่งเสริมและสร้างความเป็นสิริมง
คลให้กับชีวิต ช่วยให้มีสุขภาพแข็งแรง
มีความเจริญก้าวหน้า
ปราศจากโรคภัยต่างๆ
ในแง่วิทยาศาสตร์
การจัดหัวนอนไปยังทิศทางทั้งสอง
ยังเป็นการช่วยปลุกเจ้าของห้องตอนเช้า
เนื่องจากทิศหัวนอน
ทางทิศเหนือ หรือ ตะวันออก
16
ก็จะช่วยให้แสงแดดยามเช้า
ส่องเข้ามากระทบผู้นอนอยู่ด้วย
นอกจากมีทิศหัวนอนที่ควรจัด
ก็มีทิศที่ไม่ควรหรือเป็นข้อห้ามเช่นกัน
โดยเฉพาะการหันหัวนอนไปยังทิศตะวั
นตก
ซึ่งคนโบราณเชื่อว่าเป็นการผิดหลัก
จะทาให้สุขภาพแย่ลง
ทั้งร่างกายและจิตใจ
ซึ่งสาเหตุหนึ่ง
มาจากการที่หันหัวนอนไปทางทิศตะวัน
ตก
จะทาให้ค่อนข้างร้อน
โดยเฉพาะในช่วงที่พระอาทิตย์ใกล้ตกดิ
น
ทาให้อุณหภูมิทางหัวนอน
ร้อนจัดในตอนกลางคืน
17
อาจจะทาให้นอนไม่หลับสนิท
เกิดความหงุดหงิดได้
ฮวงจุ้ยห้องนอน
ตาแหน่งเตียงที่แนะนา
มีคาแนะนา
ตามหลักการฮวงจุ้ยดังนี้
1.ควรตั้งเตียงนอนให้ห่างจากประตู
18
เป็นหลักการฮวงจุ้ย
และความเชื่อโบราณของไทยด้วย
เราจะเห็นว่า
ห้องนอนตามบ้าน โรงแรม คอนโด
ไม่นิยมจัดเตียงนอน
เอาไว้ใกล้กับประตูมากเกินไป
นอกจากนี้
การที่เตียงนอนของเรา
ไปตั้งอยู่ใกล้ประตูมากเกินไป
มีผลในแง่ของเสียงรบกวน
และอาจจะทาให้นอนหลับไม่สนิท
ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพตามมาด้วย
19
2.อย่าตั้งเตียงนอนขวางประตู
เป็นข้อห้ามสาคัญสาหรับหลักฮวงจุ้ยเล
ยครับ เนื่องจากตามหลักฮวงจุ้ยแล้ว
เชื่อว่านี่เป็นตาแหน่งเตียงอับโชคสุดๆ
ถ้าตั้งแล้ว
คนที่นอนอยู่ก็อาจจะเกิดอาการเจ็บป่วย
ง่าย
นอนไมค่อยหลับ ไม่สบายตัว
20
โดยความเชื่อ
ถือว่าการตั้งขวางประตู
เป็นการไปขวางเส้นทาง
ที่อาจจะทาให้มีสิ่งไม่ดีผ่านเข้ามา
อธิบายง่ายๆ
คือ เมื่อเปิดประตูห้องเข้ามา
ก็ไม่ควรเจอเตียงนอนทันที
หรือหากห้องนอน มีขนาดเล็กมาก
ก็จะตั้งตาแหน่งเยื้องจากประตู
ไม่ให้ตรงโดยเด็ดขาด
เนื่องจากนี่เป็นตาแหน่งอัปมงคลนั่นเอง
21
3.อย่าหันเตียงนอนไปทางห้องน้า
ในกรณีที่ห้องน้าอยู่ในห้องนอน
เช่น เป็นห้องนอนในบ้าน
คอนโด หรืออพาร์ทเมนต์ขนาดเล็ก
ที่มีห้องน้าอยู่ข้างใน
คาแนะนา
คือ
ไม่ควรเอาเตียงนอนหันไปทางห้องน้า
หรือให้สังเกตดูว่า
ตามโรงแรม คอนโด ที่ออกแบบกันมา
จะไม่นิยมให้ประตูห้องน้า
เปิดออกมาเจอเตียงนอนทันที
22
ซึ่งไม่เหมาะกับการอยู่อาศัยในระยะยา
ว
สาเหตุ
เพราะเชื่อว่าการตั้งเตียงนอนหันไปทาง
ห้องน้า
จะเป็นการทาให้สิ่งชั่วร้ายต่างๆ
พุ่งเข้ามาให้เราได้โดยตรง
ในแง่หนึ่ง
ยังมีเรื่องของเชื้อโรคต่างๆจากในห้อง
น้า
ที่ทาให้สุขภาพของเราแย่ลงด้วย
23
4.ไม่ควรตั้งเตียงนอน
หันหน้าเข้าหามุมใดของห้อง
กรณีนี้
หมายถึง การตั้งเตียงนอนในมุมเฉียง
เอียง มุมทแยง
ซึ่งจะเป็นการหันเข้ามุมห้อง
เป็นเรื่องที่ไม่ควรกระทาอย่างยิ่ง
เพราะ มุมห้อง
ในหลักฮวงจุ้ย
เชื่อว่าเป็นจุดอัปมงคล ทาให้โชคร้าย
เนื่องจากเป็นบริเวณที่ไม่มีพลังงานไหล
เวียนอยู่
24
ดังนั้นจึงส่งผลให้คนที่นอนอยู่
เกิดเจ็บป่วย
มีปัญหาสุขภาพ หรือเกิดความเครียด
และอื่นๆ
ที่จริงแล้ว
ยังมีเรื่องการตั้งหัวนอนตามปีนักกษัตร
ของผู้อาศัย
หรือตาแหน่งที่เชื่อว่าเข้ากับผู้นอนอยู่ใ
นห้องนั้นด้วย
แต่เป็นการดูรายละเอียดที่ลึกลงไปอีกขั้
น
25
การนอนหลับ
https://www.doctor.or.th/article/detail/11261
การนอนหลับ
วิธีบารุงรักษาพลังหยางที่ดีที่สุด
(睡觉是养护阳气最好的办法)
26
พลังหยาง (阳气) คือพลังของชีวิต
ในวัยเด็ก
พลังหยางค่อยๆ สะสมตัว
เด็กเจริญเติบโต
มีพละกาลังคล่องแคล่วว่องไว
ไม่เหนื่อยง่าย
จนพลังหยางสูงสุดในวัยหนุ่มสาว
และเข้าสู่วัยกลางคน
พลังหยางก็เริ่มถดถอยลดน้อยลง
ร่างกายก็ไม่กระฉับกระเฉง
ความคิดอ่าน ความจา
ความว่องไวทางประสาท สมอง
ก็ลดลงเรื่อยๆ
ถึงวัยชราภาพ
พลังหยางน้อยลงไปอีก
และหมดไปในที่สุดพร้อมกับการดับลง
ของชีวิต เป็นวัฏจักรของการเกิด
27
พัฒนา
เสื่อมถอย และการตาย
การบารุงพลังหยางจึงมีความสาคัญต่อชี
วิต
เพราะเป็นตัวกาหนดการเกิด
พัฒนาและการเสื่อมถอยของร่างกาย
ยังรวมถึง
โอกาสการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
ของร่างกายและจิตใจด้วย
ก่อนจะไปศึกษาค้นคว้า
หาสิ่งภายนอก
มาบารุงรักษาพลังหยาง
ควรกลับมาพิจารณาวิธีการที่เป็นธรรม
ชาติและประหยัดที่สุด
28
ที่เราสามารถกาหนดและปฏิบัติได้เอง
คือ การนอนหลับช่วงเวลาจื่อสือ (子时
觉) ระหว่างเวลา ๒๓.๐๐-๐๑.๐๐ น.
การเกิดของพลังหยาง
เริ่มต้นที่เวลา ๒๓.๐๐-๐๑.๐๐ น.
ช่วงพลังลมปราณ
ไหลผ่านเส้นลมปราณถุงน้าดี
29
กลางคืนพลังยินมากขึ้นเรื่อยๆ
จนถึงเที่ยงคืน
ระหว่างเวลา ๒๓.๐๐-๐๑.๐๐ น.
คือช่วงเปลี่ยนผ่านจากพลังยินสูงสุด
และการก่อเกิดพลังหยาง
30
พลังหยาง
จะเก็บสะสมได้มาก
ในภาวะที่สงบที่สุด
การตื่นนอนหรือยังไม่หลับ
เป็นการใช้พลังหยาง
ทาให้การเกิดสะสมตัวของพลังหยางถูก
รบกวน
ไม่สามารถสะสมได้อย่างเต็มที่
ซึ่งหมายถึง
สต็อกพลังหยางที่จะถูกนาไปใช้ในวันใ
หม่จะน้อยลง
ส่งผลเสียต่อการทางานในช่วงกลางวัน
ของวันใหม่
ทาให้เหนื่อยง่าย ง่วงนอน หมดพลังเร็ว
ทางานไม่มีประสิทธิภาพ
31
การนอนตื่นสาย
จนไปถึง ๑๐.๐๐ น. หรือเที่ยงวัน
จะเป็นการทาลายร่างกายซ้าเติมอีกทาง
หนึ่ง
เพราะช่วงที่พลังหยางของธรรมชาติ
กาลังโตเต็มที่
พลังหยางของร่างกาย
ก็ออกสู่ภายนอกของร่างกาย
แต่การนอนหลับ
เป็นความพยายามเก็บหยางไว้ในตัวต่อ
ไป
ภาวะเช่นนี้
จึงฝืนกับกฎของธรรมชาติ
จะทาให้เกิดโรคระยะยาว
32
พลังหยางพร่อง
ถูกทาลายด้วยหลายปัจจัย
- การดื่มเครื่องดื่มเย็นๆ น้าแข็ง
- การหยุดนิ่งมากเกินไป
ไม่เคลื่อนไหว
-
การถูกความเย็นจากเครื่องปรับความเย็
นนานเกินไป
- การนอนบนพื้นปูนที่เย็น
-
การทางานที่ตรากตราเหนื่อยล้าเกินไป
- ความเครียดสะสม
- การนอนไม่หลับตอนกลางคืน
นอนดึก ทางานตอนกลางคืน
33
การนอนหลับ
ในช่วงพลังหยางเริ่มเกิด (๒๓.๐๐-
๐๑.๐๐ น.)
จะทาให้ไม่รบกวนการเกิดและสะสมตัว
ของพลังหยาง
คนที่นอนดึก
เลยเวลาช่วงนี้นานๆ
จะเกิดความเคยชิน
รู้สึกไม่ค่อยง่วงนอน
และการนอนหลับจะยากขึ้น
เพราะพลังหยาง
เริ่มเกิดมากขึ้นแล้ว
ในที่สุด
จะเกิดโรคนอนไม่หลับ ตามมา
34
นอนดึกเกิดโรคอ้วน
นอนดึกเลย ๒๓.๐๐ น. จะทาให้รู้สึกหิว
(พลังหยางเริ่มเกิด) อยากอาหาร
ถ้ากินอาหารมื้อหนักเข้าไปอีก
จะยิ่งทาให้พลังหยางไม่สามารถสะสม
ต้องถูกนามาใช้ในการย่อยอาหาร
35
ซึ่งการย่อย
ก็จะไม่มีประสิทธิภาพ
เพราะพลังสารองยังน้อย
และการหลั่งน้าดี
ถูกปิดกั้น (ทางานน้อย)
อาหารจึงไม่ถูกย่อย
ทาให้เกิดโรคอ้วน
ขณะเดียวกัน
การสะสมพลังสาหรับวันรุ่งขึ้น
ก็น้อยลงไปด้วย
นอนดึก
สมองไม่ปลอดโปร่ง
36
พลังของถุงน้าดีที่ดี
มีผลต่อการตัดสินใจ
ประสิทธิภาพของสมอง
(胆为中正之官,主决断)
หมายความว่า
ถ้าช่วงเวลาจื่อสือ
พลังของถุงน้าดีเสริมสร้างได้ดี
ตื่นนอนขึ้นมาสมองจะสดใส
(胆有多清,脑有多清)
การทางาน การเรียนรู้
การตัดสินใจจะฉับไว ปลอดโปร่ง
นอนดึก
ทาให้ระบบการย่อยไม่ปกติ
37
“การทางานของอวัยวะภายในชี้ขาดที่ถุ
งน้าดี”
(凡十一脏,取诀于胆也)
ระบบย่อยอาหาร
(ม้ามหรือกระเพาะอาหาร)
ก็หนีไม่พ้นกฎเกณฑ์ข้อนี้
ตับเป็นโรงงานสร้างน้าดี
ถุงน้าดีเป็นคลังเก็บน้าดี
การย่อยอาหารที่ดี
ต้องอาศัยพลังของถุงน้าดี
ในการขับเคลื่อนน้าดีสู่ลาไส้เล็ก
ถ้าพลังถุงน้าดี ไม่สมบูรณ์
หรือคนที่ถูกตัดถุงน้าดี
38
การสารองน้าดีและขับน้าดีไม่ดี
น้าดีจะถูกไหลทิ้ง
เมื่อเวลากินอาหารเข้าไป
จานวนน้าดีที่ขับออกมาช่วยการย่อยก็น้
อย
ทาให้ระบบการย่อยดูดซึมอาหารมีปัญ
หา
การหลีกเลี่ยงการกินอาหารตอนดึก
และนอนให้หลับสนิทในช่วงเวลา
๒๓.๐๐-๐๑.๐๐ น.
จึงเป็นการเสริมสร้างพลังของถุงน้าดี
วิธีการเสริมสร้างพลังหยางที่ง่ายและปร
ะหยัด
39
๑. เตรียมตัวนอนก่อน ๒๓.๐๐ น.
คนที่หลับยากหน่อยอาจเข้านอน
๒๒.๓๐ น.
คนที่หลับง่ายอาจนอนเวลา ๒๒.๕๐ น.
พยายามให้หลับในช่วงประมาณ
๒๓.๐๐ น.
และหลับสนิทในช่วง ๐๑.๐๐-๐๓.๐๐
น.
๒. ไม่ควรกินอาหารหลัง ๒๓.๐๐ น.
เพราะถุงน้าดีจะไม่ทางาน
ในการขับน้าดี
โดยเฉพาะหลัง ๒๓.๐๐ น.ไปแล้ว
และมักจะเกิดอาการหิว (หยางเริ่มเกิด)
และคนมักจะตาสว่างไม่ค่อยง่วงนอน
40
๓. ถ้ามีงานมาก
ควรหลับก่อน ๒๓.๐๐ น.
แล้วตื่นเช้า ตี ๔-๕ มาทาต่อ
จะได้งานที่มีประสิทธิภาพ
มากกว่าการนอนตี ๑ ตี ๒
๔. ตื่นนอนแต่เช้า
มารับพลังแสงด้วยอาทิตย์
สรรพสิ่งในโลกนี้เติบโต
และดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยพลังหยาง
ใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างรับพลังแสงอาทิตย์เ
ข้าสู่ร่างกาย
ไม่ควรนอนตื่นสาย
เพราะจะไปกดพลังหยางที่จะเคลื่อนไห
วอยู่ภายนอก
และไปกดการทางานของอวัยวะต่างๆ
ที่กาลังเริ่มทางาน
41
๕. ควรกระตุ้นระบบย่อยอาหาร
ด้วยการดื่มน้า ๑-๒ แก้ว
ตอนตื่นนอน ๐๕.๐๐-๐๗.๐๐ นาฬิกา
เพื่อให้ลาไส้เริ่มทางาน
ถุงน้าดีเริ่มอุ่นเครื่อง
และต้องกินอาหารมื้อเช้า
เพียงเท่านี้
ก็ทาให้สุขภาพเราดีขึ้นแบบไม่น่าเชื่อ
ลองกลับพิจารณาดูชีวิตจริงของคนทั่วไ
ป
ในสังคมปัจจุบัน
ก็จะพบความจริงว่า
สุขภาพของคนจานวนมากน่าเป็นห่วงจ
ริงๆ ครับ
42
ตาแหน่งทิศทางดาวโคจรทั้ง
9 ดวง
ประจาปีพ.ศ. 2566
http://bit.ly/3WMwCOd
43
ตาแหน่งทิศที่เป็นมงคลและอัปมงคล
แบ่งออกได้ดังนี้
ทิศมหามงคล : ทิศใต้ (8)
ทิศมงคล : ทิศเหนือ(9)
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ (1)
ทิศปานกลาง : จุดศูนย์กลาง (4)
ทิศตะวันตก (6)
ทิศอัปมงคล : ทิศตะวันออก(2)
ทิศตะวันออกฉียงใต้(3)
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (5)
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ(7)
3 8 1
2 4 6
7 9 5
วิธีใช้เข็มทิศวัดทิศทาง
44
1.ยืนถือเข็มทิศอยู่ ณ. จุดกึ่งกลางห้อง
หรือกึ่งกลางบ้าน (ขึ้นอยู่กับจุด
ประสงค์ของท่านว่าต้องการทราบตาแห
น่งทิศที่ตั้งของวัตถุหรือ
เฟอร์นิเจอร์ชิ้นใด)
2.โดยปกติแล้ว
ปลายลูกศรในเข็มทิศ
จะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ
ตามแรงดึงดูดของขั้วแม่เหล็กโลกทางทิ
ศเหนือ
ดังนั้นท่านจึงต้องหมุน เข็มทิศ
โดยพยายามจัดให้ปลายลูกศร
ชี้ไปที่ตัว N (NORTH - ทิศเหนือ)
หรือตัวเลข 360 องศา บนตัวเข็มทิศ
3.เมื่อเข็มทิศนิ่งสนิทแล้ว
(โดยมีลูกศรชี้ไปทางทิศเหนือ)
ให้อ่านในตัว เข็มทิศ
45
ดูว่า วัตถุหรือเฟอร์นิเจอร์
ที่ท่านต้องการวัดนั้น ตกอยู่ในมุม
ของทิศใด
โดยอาจคะเนดูคร่าวๆ ด้วยตาเปล่า
หรือหากต้องการ องศาที่ละเอียดลึกซึ้ง
ท่านสามารถเทียบได้จากข้อมูลดังนี้
N NORTH ทิศเหนือ
มีองศาอยู่ระหว่าง 337.5 - 22.49
NE NORTH EAST ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
มีองศาอยู่ระหว่าง 22.5 - 67.49
E EAST ทิศตะวันออก
มีองศาอยู่ระหว่าง 67.5 - 112.49
SE SOUTH EAST ทิศตะวันออกเฉียงใต้
มีองศาอยู่ระหว่าง 112.5 - 157.49
S SOUTH ทิศใต้
มีองศาอยู่ระหว่าง 157.5 - 202.49
SW SOUTH WEST
ทิศตะวันตกเฉียงใต ้ มีองศาอยู่ระหว่าง 202.5 – 247.49
46
W WEST ทิศตะวันตก
มีองศาอยู่ระหว่าง 247.5 – 292.49
NW NORTH WEST
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีองศาอยู่ระหว่าง 292.5 – 337.49
4.ในขณะที่ท่านใช้เข็มทิศอยู่
มีข้อควรระวังคือ อย่าอยู่ใกล้กับสิ่งของ
หรือวัสดุที่เป็นโลหะ เช่น นาฬิกา
รั้วเหล็ก เครื่องใช้ไฟฟ้ าต่างๆ ที่มี
ส่วนประกอบของเหล็ก
เพราะจะทาให้การวัดองศาในเข็มทิศ
คลาดเคลื่อนได้
ในภาควิชาฮวงจุ้ยชั้นสูง
คือ ทิศทางประจาปี
สัมพันธ์สอดคล้อง
47
กับตาแหน่งของดวงดาว
หรือ “ฮวงจุ้ยหลุ่งหลิ่วจ้วง”
คือ
การโคจรของดวงดาวหมุนเวียนสลับสับ
เปลี่ยนกันทาหน้าที่ส่งผลดีและร้ายต่อม
นุษย์
ประจาอยู่ในแปดทิศหลักใหญ่
เรียกว่า “หลิ่งนี้ฮวงจุ้ย”
หากท่านผู้อ่าน
สามารถทราบล่วงหน้า
ว่าตาแหน่งทิศทางใด
ที่เมื่อตั้งโต๊ะทางานหรือเตียงนอนแล้ว
จะบังเกิดความเป็นมงคลความเจริญรุ่งเ
48
รือง
ก็จะได้ขยับขยายเคลื่อนย้ายจุดต่างๆ
ในบ้าน
เพื่อเปิดรับโชคลาภโภคทรัพย์
ณ ตาแหน่งทิศทางนั้น
อย่างเต็มที่
แต่หากไม่สามารถขยับขยายได้
ก็จะได้หาสิ่งของอันเป็นสิริมงคล
เพื่อกระตุ้นโชคลาภ
และหลีกเลี่ยงเคราะห์ภัยต่างๆ ต่อไป
โดยกลุ่มดาวเหนือ
ที่โคจรเข้ามาส่งผลจะมีอยู่ 9 ดวง
เมื่อหมุนเวียนไปประจาหน้าที่ใน 8
ทิศใหญ่แล้ว
จะมีอีกหนึ่งดวง
49
ที่ประจาอยู่ ณ
จุดกึ่งกลางที่บ้านของท่านทุกหลัง
ฉะนั้นในปีเถาะ 2566 นี้
ดาวบินที่โคจรเข้ามา
ณ
ตาแหน่งจุดศูนย์กลางของบ้านท่านทุกห
ลัง
คือ ดาวบิน “สี่เขียว” (ซี้เล็ก) “บุ่งเข็ก”
โคจรเข้ามาสถิตอยู่
ดาวดวงนี้
จัดเป็นดาวดี
ดาวแห่งนักปราชญ์
เจ้าแห่งความรู้และสติปัญญา
เปี่ยมด้วยความสามารถด้านวิชาการ
ฉะนั้นจึงส่งผลให้ท่านที่นั่งทางาน
หรือบุตรหลานที่มีโต๊ะทาการบ้าน
50
ที่ตั้งอยู่ ณ ตาแหน่งตรงกลางห้อง
หรือตรงกลางของบ้าน
หรือตาแหน่งตรงกลางของร้านค้า
หรือสานักงาน
ในปีเถาะ 2566 นี้
จะเกิดการพัฒนาที่ก้าวหน้า
มีประสิทธิผลความเจริญรุ่งเรืองเป็นพิเ
ศษ
เงินทองไหลมาเทมา
มีหัวคิดสติปัญญาที่ดี
บังเกิดความคิดสร้างสรรค์
มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสรรพวิชา
มีชื่อเสียงโด่งดัง
ทั้งมีโอกาสเลื่อนขั้นเลื่อนตาแหน่ง
หรือก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าที่การงาน
ที่สูงขึ้น
เนื่องจากดาวสี่เขียวนี้
อีกนัยหนึ่ง
51
แฝงพลังแห่ง
“ดาวถ่อฮวย”(ดาวเจ้าเสน่ห์) เอาไว้ด้วย
จึงยิ่งส่งผลดีเป็นพิเศษ
สาหรับท่านที่ทาการค้าหรือประกอบธุร
กิจส่วนตัว
จะช่วยเสริมให้มีลูกค้าอุดหนุนเนืองแน่
น
มีฝีปากในการเจรจาค้าขายดี
ทาให้ธุรกิจการค้าของท่านโดดเด่นเป็น
พิเศษ
เห็นตัวเลขรายรับเพิ่มพูนเป็นกอบเป็น
กา
ฉะนั้นหากท่านต้องการกระตุ้นเสริม
เพิ่มพลังมงคลของดาวบิน“สี่เขียว”นี้
ให้มีกาลังอานาจปรากฏชัดยิ่งๆ ขึ้นแล้ว
52
ท่านควรแขวน
“โมบายป้ ายไม้ไท้เสียงเล่ากุง”
ไว้เหนือตาแหน่งโต๊ะเก็บเงิน
โต๊ะทางาน,
โต๊ะทาการบ้านของบุตรหลานในบ้านท่
าน
ณ ตาแหน่งจุดกึ่งกลางของห้องนั้นๆ
พอดี
การแขวน
“โมบายป้ ายไม้ไท้เสียงเล่ากุง” ไว้
ก็จะช่วยเสริมให้กิจการงานทุกอย่าง
รวมถึงการศึกษาเล่าเรียน
สามารถสาเร็จผลเห็นความก้าวหน้าพัฒ
นาไปด้วยดี
ทั้งจะได้รับแรงส่งเสริมสนับสนุนจากลู
กค้า
และบุคคลรอบข้างมากยิ่งขึ้น
53
“โมบายป้ ายไม้ไท้เสียงเล่ากุง” นี้
ช่วยกระตุ้นดาวบินสี่เขียว
ให้มีกาลังแข็งแกร่ง
ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าเป็
นพิเศษ
54
ความอ่อนไหวของโมบายส่วนล่าง
แสดงถึงกาลังของธาตุน้า
ที่ไปช่วยส่งเสริมธาตุไม้ของดาวสี่เขียว
ให้มีพลังที่ชัดเจน
และเป็นนัยมงคล
เรื่องเงินทองที่หลั่งไหลพรั่งพรูประดุจก
ระแสน้า
และช่วยจัดสมดุลขจัดเคราะห์ภัยอีกทาง
หนึ่งด้วย
55
การเลือกสีใช้สีภายนอก
> ธาตุของอาคารบ้านเรือน
> บ้านธาตุไม้
วิชาฮวงจุ้ย
กาหนดสีของตัวบ้าน
56
ตามทิศที่บ้านหันประจัน
ควรเลือกใช้สีในกลุ่มธาตุเดียวกับตัว
บ้าน หรือในกลุ่มที่ส่งเสริมกัน
เพราะฉะนั้น
ต้องดูว่าบ้านของท่าน
ตั้งอยู่ตรงทิศอะไร
บ้านธาตุไม้
หมายถึง บ้านที่ตั้งอยู่ในทิศตะวันออก
(หันหลังให้ทิศตะวันออก)
57
หรืออาจตั้งอยู่ในโซนใดๆ ก็ได้
ยกเว้น ทิศตะวันตก (ธาตุโลหะ)
ซึ่งเป็นทิศพิฆาตกับธาตุไม้
บ้านธาตุไม้
ต้องปลูกต้นไม้ หรือทาสวนหย่อม
และควรมีอ่างน้า
หรือบ่อเล็กๆตั้งประกอบ
เพราะถือว่า น้าช่วยหล่อเลี้ยง
เสริมสร้างไม้ให้เจริญเติบโต
58
สีที่ควรใช้ตกแต่ง
ควรเป็นสีเขียว หรือสีน้าตาล
ซึ่งเป็นสีของธาตุไม้เอง
หรืออาจจะใช้สีฟ้ า สีเทา หรือสีดา
ซึ่งเป็นสีของธาตุน้าก็ได้
สีที่ไม่ควรใช้ตกแต่ง
สีขาว สีทอง สีเงิน
59
พลังเบญจธาตุ
สัมพันธ์กับคุณได้อย่างไร
http://www.fengshuibizdesigner.com/request.php?id=15&&sub=content
เนื่องจากฮวงจุ้ย
เป็นศาสตร์แห่งวิชาที่ได้ถูกรวบรวมขึ้น
จากการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ
ที่มีความสัมพันธ์อย่างลงตัว
60
กับหลักความสมดุลแห่งธรรมชาติ
ไม่มากหรือไม่น้อยจนเกินไป
โดยจะส่งผลกระทบระหว่างกันและกันอ
ย่างกลมกลืน
และยังคงเป็นเอกลักษณ์ในตัวเอง
ดังเช่นตัวอย่าง
ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติน้าขึ้น-
น้าลง
ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงห้วงแห่งเวลาใด
ไม่ว่าจากอดีตสู่ปัจจุบันตลอดจนไปอนา
คตก็ตาม
ปรากฏการณ์ธรรมชาติดังกล่าว
ล้วนย่อมเกิดจากความสัมพันธ์
ระหว่างแรงดึงดูดโลกกับดวงจันทร์
ที่มีผลกระทาต่อกันและกันทั้งสิ้น
61
มนุษย์ก็เป็นเพียงเศษเสี้ยวหนึ่งของธรร
มชาติ
ที่มีความสัมพันธ์ต่อสรรพสิ่งในโลกใบ
นี้เช่นกัน
ด้วยการส่งอิทธิพลของกระแสพลังต่อกั
นและกัน
อย่างเป็นระบบวงจร
เหตุเพราะความสาเร็จ
ในการคิดค้นพัฒนาวิทยาการใหม่ๆ
แล้วนามาประยุกต์ใช้
ทาให้เกิดความเจริญรุดหน้าอย่างมากม
าย
จึงส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมดั่งที่เป็น
อยู่ในทุกวันนี้
การเผาผลาญน้ามันจานวนมหาศาล
จนเกิดปฏิกิริยาเรือนกระจก
62
อุณหภูมิบนโลกใบนี้ร้อนขึ้น
ที่ขั้วโลกน้าแข็งละลายมากขึ้น
ผลิตภัณฑ์ทางเคมี
ส่งผลกระทบต่อระดับโอโซนในชั้นบรร
ยากาศ
แสงอัลตราไวโอเลตที่ส่องมายังพื้นโลกเ
กินระดับ
การพัฒนาทางชีวภาพย่อมเปลี่ยนไป
เกิดอันตรายต่อสรรพสิ่งมีชีวิต
อย่างยากที่จะคาดเดาได้ในปัจจุบันและ
อนาคต
จะเห็นได้ว่า มนุษย์ สิ่งแวดล้อม
และสรรพสิ่งในธรรมชาติ
ล้วนมีความสัมพันธ์ต่อกัน
ส่งผลและมีอิทธิพลถึงกันและกัน
ในรูปแบบของระบบเบญจธาตุ
63
ในทางกลับกัน
บรรดาสรรพสิ่งธรรมชาติในโลกใบนี้
อีกทั้งดวงดาวต่างๆในระบบสุริยจักรวา
ล
อิทธิพลของกระแสพลังเบญจธาตุ
ก็ย่อมส่งผลกระทบต่อมนุษย์ได้ด้วยเช่น
กัน
64
ดังนั้นมนุษย์เรา
จึงย่อมหนีไม่พ้นระบบเบญจธาตุ
ที่เป็นหลักกระแสพลังธรรมชาติทั้งสิ้น
สัมพันธภาพ
ระหว่างการก่อเกิดกับการทาลาย
ในระบบกระแสพลังเบญจธาตุ
ทุกสรรพสิ่งทั้งหลายย่อมอาศัยดิน
ซึ่งนับว่าธาตุดินนั้นยิ่งใหญ่ที่สุดก็ว่าได้
แต่เมื่อพลังดิน
เกิดการสั่งสมเป็นเวลานานๆเข้า
จากกระแสพลังธาตุดิน
จะก่อเกิดเป็นกระแสพลังธาตุทอง
(เหล็ก โลหะ แร่ธาตุ)
เมื่ออัดแน่นเนิ่นนานเข้าก็
65
จะถูกปลดปล่อยเป็นลาวาออกมา
ก่อเกิดเป็นของเหลวต่างๆ
ที่เป็นกระแสพลังธาตุน้า
เมื่อมีน้าก็ก่อเกิดพืชและต้นไม้
เพราะน้าย่อมหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆของต้
นไม้
จึงเกิดเป็นกระแสพลังธาตุไม้
จากต้นไม้เมื่อแห้งกรอบเกิดการสันดา
ปเป็นไฟ
ก่อเกิดเป็นกระแสพลังธาตุไฟ
จึงเป็นที่มาที่ไปในระบบวัฏจักรก่อเกิด
ของกระแสพลังเบญจธาตุ
66
ทางกลับกัน
เมื่อมีการก่อเกิดย่อมมีการทาลายได้ด้ว
ยเช่นกัน
อาทิเช่น
ต้นไม้มีรากเป็นเครื่องชอนไชทาลายดิ
น
ดินจะทาให้น้าใสกลับกลายเป็นน้าขุ่น
น้าสามารถดับไฟได้
ไฟหลอมทองให้ทองเป็นรูปเป็นร่าง
ทองคือโลหะที่ตัดต้นไม้ให้เป็นชิ้นเล็กชิ้
นน้อย
นับว่าเป็นวัฏจักรแห่งการทาลายล้าง
ในระบบเบญจธาตุนั่นเอง
67
หลักกระแสพลังเบญจธาตุ
ที่ใช้ประกอบในการวิเคราะห์พื้นชะตา
ชีวิต
ตามแบบต้นฉบับโหราศาสตร์จีนโบรา
ณ
ที่เรียกกันว่า
“八字四柱”
(โป๊ ยหยี่ซี๊เถียว)
สี่เสาแปดตัวอักษร
คือ หลักการบริหารความสมดุล
ของพื้นชะตาของแต่ละบุคคล
ว่าธาตุสาคัญที่ต้องการนั้น
คือธาตุใด
เพื่อจะได้นาธาตุสาคัญดังกล่าว
มาปรับเสริมเพิ่ม
หรือปรับลดธาตุในพื้นชะตา
ให้เกิดความสมดุลยิ่งๆขึ้นไป
68
อาทิ เช่น
ต้องการเสริมธาตุไม้
oควรทางานทางภาคตะวันออก
หรือตะวันออกเฉียงใต้
oหาทาเลร้านค้าที่เปิดประตูทางทิศต
ะวันออก
หรือตะวันออกเฉียงใต้
oทาอาชีพเกี่ยวกับสมุนไพรใบหญ้า
เสื้อผ้า เฟอร์นิเจอร์
oเสริมด้วยสีเขียว
วิชาดวงจีน
สี่เสาแปดตัวอักษร
“八字四柱” (โป๊ ยหยี่ซี๊เถียว)
จึงสามารถช่วยให้ผู้ที่ศึกษาวิชาดังกล่าว
สามารถทราบถึงธาตุสาคัญ
ที่มีผลผูกพันธ์กับพื้นชะตาชีวิต
69
เมื่อตั้งดวงจีนขึ้นมา
ก็จะรู้ว่าบุคคลคนนั้น
เป็นธาตุใด และต้องการเสริมธาตุใด
เพื่อช่วยกาหนด
ค้นหาอัตลักษณ์
ความเป็นหนึ่งในตัวตน
จะด้วยสีสัน ทิศทาง อาชีพ โลโก้ ฯลฯ
หรือแม้แต่ไลฟ
์ สไตล์
และที่ใกล้ตัวที่สุด
ก็คือ การตั้งชื่อ
ด้วยธาตุที่ต้องการจะเสริม
ก็สามารถกระทาได้ด้วยเช่นกัน
โดยการวางรากฐานธุรกิจอย่างมั่นคง
ด้วยความมั่นใจ
เพราะฮวงจุ้ยออกแบบได้จริง
ถอดรหัสปฎิทินจีน
ตอน ฤดูกาลยิบย่อย
https://www.facebook.com/MandarinTheory/posts/1736044329906954
70
ปฎิทินจีน เป็นจันทรคติหรือสุริยคติ❓
ปีนักษัตรคืออะไร❓
เปลี่ยนที่วันไหน❓
ทาไมรอบนักษัตรใหญ่ถึงเท่ากับ 60
ปี❓
เดือนเล็ก เดือนใหญ่คืออะไร❓
ทาไมบางปีมีเดือนซ้า❓
และคาถามอื่นๆเกี่ยวกับปฎิทินจีน
อันแสนยุ่งเหยิงและซับซ้อน❓
... มาหาคาตอบ
ในซีรี่ส์ “ถอดรหัสปฎิทินจีน”
ที่เพจ #MandarinTherory กันค่า
ก่อนสิ่งอื่นใด
หากใครยังชอบเรียก “ปฎิทินจีน”
ว่า “ปฎิทินจันทรคติจีน”
71
ผู้เขียน
ขอแนะนาว่า
ให้ตัดคาว่า จันทรคติ..นั้น..ทิ้งไป
เหลือไว้แค่ ปฎิทินจีน ก็พอค่ะ
เพราะว่าจริงๆแล้ว
“ปฎิทินจีน”
หรือ 🔸 农历 nong2-li4
(แปลตรงตัวว่า ปฏิทินเกษตรกรรม)
ไม่ใช่ปฎิทินจันทรคติ 100%
แต่เป็นปฎิทิน
ที่เรียกว่า 🔸 阴阳历
yin1-yang2-li4
= Lunisolar calendar
หรือปฎิทินแบบ “สุริยจันทรคติ”
ซึ่ง
๑.ใช้จันทรคติ
72
เป็นหลักในการนับวันกับดือน
๒.ใช้สุริยคติ
เป็นหลักในการนับปี
๓.และใช้การเพิ่ม “อธิกมาส”
(เหมือนของไทย)
เพื่อให้ปีทางจันทรคติกับสุริยคติ
ไม่เคลื่อนออกห่างกันมากเกินไป
อาจจะดูซับซ้อนกว่า
ที่เคยรู้ขึ้นมาเล็กน้อย
แต่จริงๆแล้ว
ตรงนี้ไม่มีอะไรที่น่าตื่นเต้นค่ะทุกคน
เพราะการนับวันเดือนปี
ในลักษณะนี้
ไม่ใช่เอกลักษณ์ของปฎิทินจีน
แต่อย่างใด
73
เป็นแนวทางปฏิบัติที่ใช้กัน
ในหลายๆวัฒนธรรม
คาว่า “อธิกมาส”
ก็เป็นคาไทยบาลีของเรา
นี่แหละค่ะ
📌 สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ของ ปฎิทินจีน
และทาให้ “ปฎิทินจีน”
ถูกเรียกว่า “ปฎิทินเกษตรกรรม” (农
历)
คือ สิ่งที่เรียกว่า
🔸 二十四节气
er4-shi2-si4-jie2-qi4
หรือ 24 เทศกาล / ฤดูกาลย่อย / ฯลฯ /
หรือ ถ้าแปลตามภาษาอังกฤษ
(Solar term)
74
อาจจะต้องเรียกว่า
“ช่วง(เวลา)ทางสุริยคติ”
75
ทุกคนคุ้นเคยกับฤดูกาล(ใหญ่) ทั้ง 4
ฤดู
คือ 🔸 春夏秋冬
chun1-xia4-qiu1-dong1
หรือ ใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ใบไม้ร่วง
และฤดูหนาว
แต่ประเทศ “จีน”
ซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมนั้น
เนื่องจากผลผลิตและชีวิตความเป็นอยู่
มีความสัมพันธ์กับดินฟ้ าอากาศ
แน่นแฟ้ นเป็นพิเศษ
จึงมีการแบ่งฤดูกาลลงไปยิบย่อยกว่านั้
น
โดยแบ่ง 1 ฤดูกาลใหญ่ (🔸 季 ji4
หรือ 时 shi2) ออกเป็น 6 ฤดูกาลย่อย
(🔸 气 qi4)
76
คนโบราณเรียกว่า..
📌 三候为气,六气为时,
四时为岁
San1-hou4-wei2-qi4,
liu4-qi4-wei2-shi2, si4-shi2-wei2-
sui4
3 候 (โฮ่ว/hou4 = ช่วงสภาพอากาศ ;
1 โฮ่ว มี 5 วัน) = 1 ฤดูกาลย่อย (气
qi4) ;
6 ฤดูกาลย่อย (气)
= 1 ฤดูกาลใหญ่ (时 shi2) ;
4 ฤดูกาลใหญ่ (时) = 1 ปี (岁 sui4) ;
77
📌 1 ฤดูกาลใหญ่ (季 ji4 หรือ 时
shi1)
จึงเท่ากับ 3 เดือน (ทางสุริยคติ)
78
ดังนั้น 1 เดือน
จึงประกอบด้วย 2 ฤดูกาลย่อย (节气
jie2-qi4) และฤดูกาลย่อยนี้
ถ้าแบ่งลงไปอีกและเรียกด้วยศัพท์ที่เคร่
งครัดจริงๆ
🔸 วันเริ่มต้นของฤดูกาลย่อยที่ 1
จะเรียกว่า 节气 jie-qi4 หรือ 节 jie2
ซึ่งนับเป็นวันเริ่มต้นของเดือนทางสุริย
คติด้วย
🔸 วันเริ่มต้นฤดูกาลย่อยที่ 2
เรียกว่า 中气 zhong1-qi4
หรือ 中 zhong1 (เนื่องจากเป็นกลางเดือน)
หรือ 气 qi4
อยู่ประมาณวันที่ 14-15
ของเดือน(สุริยคติ)นั้นๆ
🔸 (เลขคี่ = 节 ; เลขคู่ = 气 / 中气)
79
🔸 แต่ทั้ง 24 ฤดูกาลนี้
สามารถเรียกอย่างรวมๆ ทั้งหมด
ได้ว่า 节气 jie2-qi4
80
📌 และน่าจะเพราะว่า
ทุกๆ 节/气/节气 มักจะมีพิธีเซ่นไหว้
หรือกิจกรรมต่างๆที่ทาให้ผู้คนมารวมก
ลุ่มกัน
มีความคึกคัก
เกิดเป็นการเฉลิมฉลองหรือเทียบเท่า
ต่อมาคาว่า 🔸 节 jie2 หรือ "เจี๋ย"
จึงถูกใช้มากกว่า
ในความหมาย
ที่ตรงกับคาว่า “เทศกาล” ในภาษาไทย
โดยไม่แบ่งว่าจะเป็นทางสุริยะ
จันทรคติ หรืออื่นๆ
ที่คนแต้จิ๋วรู้
จักกันในนาม “โจ่ย” (เทศกาลจีน)
ต่างๆ นั่นเอง
81
82
📌 ต่อมา
ความรู้ทางดาราศาสตร์สมัยใหม่
พบว่า วันเปลี่ยนฤดูกาลย่อยเหล่านี้
ก็คือวันที่โลกเคลื่อนที่
ไปตามวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ทุกๆ 15
องศา
และหลายๆวัน
ก็ตรงกับวันสาคัญทางดาราศาสตร์สากล
โดยไม่ได้นัดหมาย เช่น
📌 二分二至 er4-fen1-er4-zhi4
83
🔸 春分 chun1-fen1
= Vernal equinox = วสันตวิษุวัต
(หรือที่คนแต้จิ๋ว
น่าจะรู้จักดีในนาม “ชุงฮุง”)
🔸 秋分 qiu1-fen1
= Autumn equinox
= ศารทวิษุวัต (“ชิวฮุง”)
🔸 夏至 xia4-zhi4
= Summer solstice
= ครีษมายัน ("แห่จี่")
🔸 冬至 dong1-zhi4
= Winter solstice
84
= เหมายัน
(“ตังโจ่ย” = 冬节
ซึ่งหมายถึง เทศกาลฤดูหนาว
หรือ "ตังจี่" = 冬至)
วัน 至 zhi4
ซึ่งแปลว่า “ถึงที่สุด”
ก็คือวันที่ กลางคืนหรือกลางวัน
“นานที่สุด”
85
(วันครีษมายัน 夏至 กลางวันนานที่สุด
หลังจากวันนี้
เวลากลางคืนจะเริ่มยาวขึ้น ;
วันเหมายัน 冬至 กลางคืนนานที่สุด
หลังจากวันนี้
กลางคืนจะค่อยๆสั้นลง)
📌 วัน 分 fen1 ซึ่งแปลว่า “แบ่ง”
ก็คือวันที่
กลางวันกับกลางคืนยาวเท่ากัน
86
โดยหลังจาก 分 ในฤดูใบไม้ผลิ
(春分 วสันตวิษุวัต)
กลางวันจะเริ่มยาวกว่ากลางคืน
จนยาวสุดในวัน 夏至 (ครีษมายัน) ;
หลังจาก 分 ในฤดูใบไม้ร่วง (秋分
ศารทวิษุวัต)
กลางคืนจะเริ่มยาวกว่ากลางวัน
จนยาวที่สุดในวัน 冬至 (เหมายัน)
นั่นเอง
📌 ฤดูกาลย่อยเหล่านี้
ทาให้สามารถคาดคะเนสภาพอากาศ
87
(โดยเฉพาะแถบลุ่มแม่น้าฮวงโห
ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของอารยธรรม)
ได้อย่างละเอียด
และแม่นยา
เอื้ออานวยอย่างมากต่อเกษตรกรรม
เช่น
การประมาณช่วงฝน 雨水 yu2-shui4
;
谷雨 gu2-yu3
หรือหิมะ 小雪 xiao2-xue3 ;
大雪 da4-xue4 เป็นต้น
88
แม้ว่าเวลาจะผ่านไปหลายพันปี
วิถีชีวิตของผู้คนจะเปลี่ยนไปจากเดิมอย่
างไร้เงาแล้ว
แต่ความสาคัญ
ของข้อมูลต่างๆบนปฏิทินจีน
ก็ยังคงไม่เลือนหายไป
เห็นได้ง่ายๆจากคนจีนโพ้นทะเล
หลายหมื่น แสน ล้านคนที่ยังคงมี
“ปฎิทินจีน”
ที่บางคนเรียก 农历
บางคนเรียก 黄历
บางคนเรียก 万年历
บางคนเรียก 通胜
บางคนเรียก “น่าเอี๊ยง” ฯลฯ
ประดับอยู่ที่บ้านเพื่อความสวยงามบ้าง
89
เพื่อการใช้งานบ้าง
เพื่อขอโชคขอลาภ (อ่านหวย 😅) บ้าง
ต่างๆกันไป
ในปัจจุบันที่ประเทศจีน
วัน “เทศกาล” ต่างๆเหล่านี้
ก็ยังมีความสาคัญอยู่ไม่น้อย
90
โดยเฉพาะวันเริ่มต้นของฤดูกาลทั้ง 4
ที่เรียกว่า 🔸 四立 si4-li4
(立春 li4-chun1、立夏 li4-xia4、
立秋 li4-qiu1、立冬 li4-dong1)
ซึ่งสภาพอากาศ
มักจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างรู้สึกได้
หรือวันที่คนไทยทุกคนต้องรู้จักดี
ในฐานะวันไหว้บรรพบุรุษใหญ่ของคน
จีน
ก็คือ วัน 清明
qing1-ming2
หรือ “เชงเม้ง” นั่นเอง
📌 สาหรับรายละเอียดของเทศกาล (节
气) ต่างๆ
เอาไว้ผู้เขียนอาจจะรวมมาเล่าให้ฟัง
91
หรือมาเล่าในวันที่ตรงกับเทศกาลนั้นๆ
อีกทีนะคะ..
และวันเทศกาล หรือ "เจี๋ย" หรือ "โจ่ย"
(节) ต่อไป
ที่กาลังจะมาถึง
ก็คือ เทศกาล 大雪 (หิมะหนัก)
ซึ่งปีนี้ตรงกับวันที่ 7 ธันวาคม
นับเป็นวันเริ่มต้น
ของเดือน 戊子 ปี 庚子
ถ้ายังไม่รู้ว่าคืออะไร
ต้องติดตามตอนต่อไป
ของซีรี่ส์ “ถอดรหัสปฎิทินจีน”
ที่จะมาพูดถึง “ต้นฟ้ า-กิ่งดิน”
อันแสนลึกลับและลึกซึ้ง ? 😉
92
93
94
ประวัติการแพทย์จีน
ตอน ซางหางลุ่น
https://www.doctor.or.th/article/detail/4882
ท่านผู้อ่านที่ติดตาม
“การแพทย์ตะวันออก”
ตอนที่แล้ว
คงจะจากันได้ถึง..จางจงจิ่ง
แพทย์จีนที่มีชื่อเสียงสมัย..ตงฮั่น
ท่านเป็นคนแรกที่ได้ทาการรวบรวมทฤ
ษฎีและประสบการณ์ทางการแพทย์
ก่อนสมัยฮั่นตะวันออก
มาใช้ในการเขียนหนังสือ..ซางหางจ๋าปิ้
งลุ่น
ซึ่งต่อมาได้มีผู้รวบรวมเขียนเพิ่มเติม
และจัดหมวดหมู่ใหม่ โดยใช้ชื่อว่า
ซางหางลุ่น
95
ซางหางลุ่น
เป็นหนังสือที่อธิบายถึงโรคติดต่อ
ซึ่งเกิดจากปัจจัยภายนอก
นอกจากนั้น
ยังได้รวบรวมเอาหลักทฤษฎี วิธีการ
ตารับยา และตัวยาสมุนไพร
มาประสานกับการรักษาอย่างเป็นกฎเก
ณฑ์
ได้มีการใช้กฎการวิเคราะห์โรคอย่างรอ
บด้าน
แล้วดาเนินการรักษาอย่างพลิกแพลง
ในการปฏิบัติทางคลินิกอีกด้วย
รายละเอียดที่น่าสนใจ
เกี่ยวกับ..ซางหางลุ่น
ยังมีอีกมาก
ครั้งนี้จึงขอนามาเสนอให้อ่านกันต่อ
96
ซางหางลุ่น
ได้ใช้คาว่า ซางหาง ไปเรียกชื่อ
ชนิดของโรค
ซางหาง
ในทรรศนะของการแพทย์จีน
มีความหมายอยู่ 2 ประการ คือ
1. ความหมายของ...ซางหาง
ในทรรศนะกว้าง
ได้กล่าวไว้ใน...เน่ยจิง
ว่า
“โรคติดต่อทุกชนิดล้วนจัดอยู่ในซางหา
ง”
และใน...หนานจิง
ได้เขียนไว้ว่า “ซางหางมี 5 ชนิด คือ
จ่งเฟิง ซางหาง สือเวิน เวินปิ้ง
และเย่อปิ้ง”
97
2. ความหมายของ...ซางหาง
ในทรรศนะแคบ
เป็นการชี้เฉพาะลงไปถึงโรคที่เกิดขึ้น
เนื่องจากมนุษย์ได้รับผลกระทบจากคว
ามเย็น
เมื่ออากาศเปลี่ยนแปลง
และร่างกายไม่สามารถปรับตัว
ให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้
อมรอบข้างได้
แม้หนังสือ...ซางหางลุ่น
จะใช้...ซางหาง
มาเป็นชื่อหนังสือก็ตาม
แต่ในบท..ไท่หยาง
ได้แบ่ง...ซางหาง
ออกเป็น จ่งเฟิง ซางหาง เวินปิ้ง
เป็นต้น
98
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า หนังสือซางหางลุ่น
นอกจากจะกล่าวถึง...ซางหาง
ในทรรศนะกว้างแล้ว
ยังได้กล่าวถึง
ซางหาง...ในทรรศนะแคบ...ด้วย
และได้แบ่งซางหางในทรรศนะแคบ
ออกเป็นตอนๆ อย่างละเอียด
โดยนาเอา...ลิ่วจิง (เส้นลมปราณทั้ง 6)
อันได้แก่ ไท่หยาง ซ่าวหยาง หยางหมิง
ไท่ยิน ซ่าวยิน และเจี๋ยยิน
มาอธิบายถึงขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงข
องโรค
99
คาว่า ลิ่วจิง นั้น
มาจาก...หนังสือ...เน่ยจิง
ใน...บท...เย่อลุ่น
ซึ่งได้กล่าวไว้เฉพาะไท่หยาง หยางหมิง
และซ่าวหยาง เท่านั้น
แต่ใน...ซางหางลุ่น
ได้เพิ่ม ไท่ยิน ซ่าวยิน และเจี๋ยยิน
เข้าไปด้วย
นอกจากนี้
ซางหางลุ่น
100
ยังได้กาหนดกฎเกณฑ์ทั่วๆ ไป
ในการวินิจฉัยโรค
ไว้ดังนี้
คือ ยิน หยาง นอก ใน เย็น ร้อน
พร่อง1 และแกร่ง2 ทั้งหมดนี้
เรียกว่า ปากัง
(หลัก 8 ประการในการวินิจฉัยโรค)
ซางหางลุ่น
ได้สรุปอาการต่างๆของ โรคติดต่อ
ซึ่งเกิดจากปัจจัยภายนอก
101
โดยอาศัย
ความแข็งแรงและความอ่อนแอของร่าง
กาย
ในการต้านทานโรค
เป็นหลัก
แล้วนามาอธิบาย
อาการของโรคที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
หรือเรื้อรัง
ด้วยการแบ่งอาการของโรคที่เกิดขึ้นเป็
น 2 ขั้นตอน ซึ่งมีทั้งหมด 6 ระยะดังนี้
คือ
ขั้นตอนที่ 1
โรคเกิดขึ้น
ในขณะที่ภูมิต้านทานของร่างกายยังแข็
งแรงอยู่
102
และโรคอยู่ในระยะกาลังพัฒนา
เรียกว่า ซานหยาง
(โรคหยางสามประการ)
ซึ่งหมายถึง
ก. โรคไท่หยาง
ข. โรคหยางหมิง
ค. โรคซ่าวหยาง
ขั้นตอนที่ 2
โรคเกิดขึ้น
ในขณะที่ภูมิต้านทานของร่างกายอ่อน
แอลง
103
และโรคอยู่ในสภาวะที่กาลังเสื่อมถอย
เรียกว่า ซานยิน (โรคยินสามประการ)
ซึ่งหมายถึง
ก. โรคไท่ยิน
ข. โรคซ่าวยิน
ค. โรคเอี๋ยยิน
การแบ่งโรคด้วยวิธีนี้
ทาให้การวินิจฉัยโรค
มีขั้นตอนและมีกฎเกณฑ์ยิ่งขึ้น
นับเป็นพัฒนาการก้าวสาคัญ
104
ของการแพทย์จีน
ในการใช้ทฤษฎี
มาชี้นาการวิเคราะห์โรคในทางคลินิก
และสามารถชี้นาการใช้ยาสมุนไพร
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทฤษฎีจิงลั่ว (เส้นลมปราณ)
เป็นทฤษฎีพื้นฐาน
ที่สอดแทรกอยู่ทั่วไปในทฤษฎีการแพท
ย์จีน
และเป็นทฤษฎีสาคัญในการชี้นาการปัก
เข็ม
105
ทฤษฎีจิงลั่ว
ที่ปรากฏอยู่ในซางหางลุ่นนั้น
ไม่จากัดตัว
อยู่เฉพาะ
ในแวดวงของการปักเข็มเท่านั้น
ซางหางลุ่น
ได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน
ว่า อาการของโรคนั้น
มีความสัมพันธ์กับลิ่วจิง (เส้นลมปราณ
6 เส้น)
อย่างใกล้ชิด
จนไม่สามารถแยกออกจากกันได้
หนังสือที่เขียนขึ้น
เพื่ออรรถาธิบายซางหางลุ่นนั้น
มีมากมาย
จนถึงสมัยชิง
มีทั้งหมดไม่น้อยกว่า 400 เล่ม
106
สรุปแล้ว
เราสามารถแบ่งได้ 2 พวกใหญ่ๆ
คือ พวกแรก
ยกย่องผลงานของซางหางลุ่น
อีกพวกหนึ่งได้แสดงทรรศนะของตนผ
สมเข้าไป
และนาเอาทฤษฎีของซางหางลุ่นเข้าไป
ประยุกต์
ทาให้ทฤษฎีซางหางลุ่น
ได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
หนังสือ...จินกุ่ยเอี้ยวเลี้ย
เป็นผลงานอีกเล่มหนึ่งของ...จางจงจิ่ง
เป็นหนังสือที่กล่าวถึงวิธีการรักษาโรคภ
ายใน
107
โดยอาศัยเน่ยจิงและหนางจิงเป็นพื้นฐา
น
จางจงจิ่ง
ได้รวบรวมข้อคิดเห็นต่างๆ
ในการรักษาโรคของแพทย์รุ่นเก่า
ประสานกับความคิดและประสบการณ์ข
องตน
อย่างเป็นระบบ
หนังสือเล่มนี้
เขียนถึงการรักษาโรคต่างๆ กว่า 40
ชนิด
จุดเด่นของหนังสือเล่มนี้
คือ
ใช้ทรรศนะที่มองสรรพสิ่งอย่างเป็นเอก
ภาพ
108
และนาเอาทฤษฎีวิเคราะห์โรคอย่างรอ
บด้าน
และดาเนินการรักษา
มาอธิบายถึงสาเหตุของโรค
การรักษาและการป้ องกันอย่างเป็นระบ
บ
เป็นพื้นฐานสาคัญ
ในทางทฤษฎีที่แพทย์รุ่นหลัง
ยึดถือสืบต่อกันมา
ปรัชญาการแพทย์
ตะวันออก – ตะวันตก
https://www.doctor.or.th/article/detail/6344
109
ความแตกต่างของปรัชญาตะวันออกแล
ะตะวันตกนั้น
สามารถสะท้อนออกให้เห็นอย่างชัดเจน
ในเรื่องการแพทย์
ทั้งนี้เพราะการแพทย์
เป็นวิชาที่นาเอาความรู้
และความเจริญของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ธร
รมชาติ วิทยาศาสตร์สังคม
และปรัชญามาใช้กับมนุษย์
ดังนั้น
ปรัชญาความคิดทางการแพทย์
ในแต่ละยุคสมัย
จึงเป็นการสะท้อนออก
ของระบบความคิดทั้งหมด
110
อย่างเป็นรูปธรรม
ในแง่ของวิธีมองปัญหา วิธีการศึกษา
ตลอดจนมรรควิธีในการแก้ปัญหาของ
คนในยุคนั้น ๆ ได้อย่างชัดเจน
แหล่งองค์ความรู้ของการแพทย์ทั้งสอง
ระบบ
การแพทย์ตะวันออกนั้น
เป็นการแพทย์ที่เกิด
111
 จากประสบการณ์
ในการต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บ
โดยตัวมนุษย์เอง
 จากการลองผิดลองถูก (trial and
error) ที่มีการปฏิบัติที่ซ้าแล้ว
ซ้าอีก
แล้วค่อย ๆ สะสมเป็นบทเรียน
และสรุปเป็นเกณฑ์ขึ้น
วิธีการศึกษาแบบนี้
เป็นแบบการศึกษาโดยทางตรง
สาหรับการแพทย์ตะวันตกนั้น
เป็นผลจากการทดลองในห้องปฏิบัติกา
ร
จากการทดลองกับสัตว์ เช่น หนู
กระต่าย ลิง เป็นต้น
112
แล้วนาผลสรุป
จากการทดลองในสัตว์มาใช้กับมนุษย์
(ซึ่งมีคุณภาพต่างจากสัตว์)
เป็นการศึกษาโดยทางอ้อม
ปรัชญาการแพทย์ตะวันออก-ตะวันตก
ดังที่เคยกล่าวไว้ในหมอชาวบ้าน ฉบับที่
116 ประจาเดือนธันวาคม 2531 ว่า
ทรรศนะการมองปัญหา
แบบจุลภาค
113
อันเป็นลักษณะเดิม
ของการแพทย์ตะวันตก (สมัยใหม่) นั้น
ใช้วิธีการศึกษาแบบวิเคราะห์
ก่อให้เกิดการแก้ปัญหาเป็นส่วน ๆ
หรือจุด ๆ หรือกลไกขึ้น
การวิเคราะห์
คือ การศึกษา โดยแยกแยะคุณสมบัติ
ส่วนประกอบ หรือปัจจัยต่าง ๆ
ออกจากกัน
วิธีการศึกษาแบบวิเคราะห์
จะเห็นได้ชัด
ในเรื่องยาสมุนไพร
114
ซึ่งจะมีการวิเคราะห์แยกแยะ
สารในสมุนไพรออกมาว่า
มีสารอะไรบ้าง
ตัวไหนเป็นสารออกฤทธิ์ (active
ingredient)
สารออกฤทธิ์
มีกลไกในการออกฤทธิ์อย่างไร เป็นต้น
เมื่อรู้ผลที่แน่นอนว่า
สามารถนาไปใช้ได้
ก็จะทาการสกัดสารตัวนั้น
ออกมา เป็นสารที่บริสุทธิ์
วิธีการศึกษาแบบนี้
ก่อให้เกิดการแก้ปัญหาเป็นส่วน ๆ
หรือจุด ๆ
หรือกลไกขึ้น
115
ซึ่งปรากฏออกมาอย่างเป็นรูปธรรม
ของการใช้ยาสมุนไพรตัวเดียว
หรือสารเดี่ยว ๆ
ดังนั้น
ถ้าเป็นกรณีที่ปัญหาเกิดเฉพาะที่
การแก้ปัญหาแบบนี้
ก็จะสามารถแก้ได้
แต่เนื่องจากร่างกายมนุษย์นั้น
เป็นระบบที่มีความเกี่ยวพันธ์และสัมพัน
ธ์กัน
มีการเคลื่อนไหว
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ถ้าปัญหาเฉพาะที่ที่เกิดขึ้น
เป็นผลเนื่องมาจากความผิดปกติของระ
บบ
116
การแก้ปัญหาแบบกลไก
ก็จะแก้ปัญหาได้ชั่วคราวเท่านั้น
ไม่สามารถแก้ปัญหาให้ถึงที่สุดได้
จาเป็นจะต้องแก้ปัญหาแบบองค์รวม
การมองปัญหาแบบมหภาค
จะต้องใช้วิธีการศึกษาแบบสังเคราะห์
การสังเคราะห์
คือ วิธีการศึกษา
โดยการผสมผสาน (intregrate)
คุณสมบัติ ส่วนประกอบ
หรือปัจจัยของสิ่ง
ในลักษณะขององค์รวม
117
ถ้าเราใช้ทฤษฏีกล่องดา (black box
theory)
มาอธิบายการศึกษาแบบนี้ก็จะได้ดังภา
พที่ 1
เมื่อเราใส่วัตถุ
เข้าไปในกล่องทางด้านเข้า (input)
หลังจากผ่านกระบวนการต่าง ๆ
ในกล่องดา
ก็จะได้วัตถุทางด้านออก (output)
ออกมา
118
การแพทย์ตะวันออก
ได้ใช้วิธีการศึกษาแบบนี้กับมนุษย์
ซ้าแล้ว ซ้าเล่า
แล้วจึงสรุปออกมาเป็นกฎเกณฑ์
โดยสามารถบอกได้ว่า
ถ้าร่างกายผิดปกติ มีอาการอย่างไร
แล้วใส่ข้อมูลหรือวัตถุ
กลุ่มยาหรือตารับยา (input) เข้าไป
ก็จะได้ผลลัพธ์ (output)
ที่แน่นอนออกมา
เป็นการศึกษาโดยสรุปหัวและท้าย
โดยไม่ต้องเปิดกล่อง
(ไม่จาเป็น
ต้องมีความรู้ทางกายวิภาคมากมาย
119
เหมือนแพทย์ตะวันตก)
แต่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของอวัยวะ
ในด้านกว้าง
ไม่ลงในรายละเอียด
สาหรับ การศึกษาสมุนไพร
ก็เช่นกัน
จะไม่วิเคราะห์สาร
แต่จะศึกษายา
เป็นกลุ่มยาหรือตารับยา
แล้วตรวจสอบด้วยการดูความสัมพันธ์
ระหว่าง ข้อมูลป้ อนเข้า (input)
กับ ผลลัพธ์ (output)
120
ดังนั้น
การศึกษายาสมุนไพร
เราควรจะแยกแยะทรรศนะทั้งสองแบบ
ซึ่งมีพื้นฐานความคิดทางปรัชญา
ที่ต่างกันให้ชัดเจน
จึงจะสามารถนาเอาสมุนไพร
ไปรับใช้ปรัชญา
ความคิดของการแพทย์ทั้งสองระบบ
ได้อย่างสมบูรณ์
121
ไม่ควรนาเอาปรัชญา
ความคิดของการแพทย์อย่างใดอย่างห
นึ่ง
ไปครอบงาอีกอย่างหนึ่ง
แต่ควรนาเอาปรัชญาการแพทย์ทั้งสอง
มาผสมผสานกัน (intregrate)
ให้กลายเป็นการแพทย์แบบใหม่
ที่มีคุณภาพใหม่ขึ้น
แต่ก่อนที่จะผสมผสาน
การแพทย์ทั้งสองแบบเข้าด้วยกันนั้น
ควรจัดระบบความคิดของการแพทย์ตะ
วันออก
ให้เป็นระบบการแพทย์ที่มีลักษณะเป็น
ตัวของตัวเอง
และมีเอกลักษณ์เฉพาะของตนก่อน
122
ถ้าการแพทย์ตะวันออก
ยังไม่มีหลักทฤษฎี หลักการวินิจฉัยโรค
หลักการรักษา หลักการใช้ยา
และตารับยาที่เป็นของตนเองแล้ว
การรวมกัน (combine)
ของการแพทย์ทั้งสอง
ก็จะเกิดการพัฒนาในเชิงปริมาณ
(quantity) เท่านั้น
การก้าวกระโดดในเชิงคุณภาพ
(quality)
ก็จะไม่เกิดขึ้น
ขณะเดียวกัน
การแพทย์ตะวันตก
ซึ่งเป็นระบบการแพทย์ที่แข็งกว่า
ก็จะครอบงาการแพทย์ตะวันออก
ทาให้การแพทย์ตะวันออกตกอยู่ในสังกั
123
ด
และจะถูกทาลายไปในที่สุด
เราจะต้องทาความเข้าใจ
กับทัศนะทางปรัชญาที่กล่าวมา
ให้แจ่มชัด
ซึ่งสามารถสืบทอด
และพัฒนาการแพทย์ตะวันออก
ให้กลายเป็นอาวุธอันทรงประสิทธิภาพ
ในการต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บ
เคียงบ่าเคียงไหล่
กับการแพทย์ตะวันตก
สืบต่อไป
124
癸卯 ปีเถาะ พ.ศ. 2566
https://bit.ly/3RhN7jZ
วันที่เป็นวันเปลี่ยนนักษัตรปีใหม่
จะตรงกับวันที่ 4 ก.พ. 2566
เวลา 10.47 น.
ดังนั้น
ผู้ที่ไปไหว้ขอพรจากองค์ไท้ส่วยเอี๊ยะ
125
ในวันตรุษจีน 22 ม.ค.2566 ที่ผ่านมา
หรือ ไปไหว้ก่อนวันที่ 4 ก.พ.2566
จึงเป็นการไหว้องค์ไท้ส่วยเอี๊ยะ
ประจาปีขาล 壬寅
ถ้าจะไหว้ขอพร
จาก องค์ไท้ส่วยเอี๊ยะ
ประจาปีเถาะ 癸卯
จะต้องไปไหว้
ในวันที่ 4 ก.พ.2566
126
เวลา 10.47 น.
เป็นต้นไป
วันตรุษจีน 22 ม.ค.2566
อุปมาเหมือนเป็นวันตรุษจีน
ตามนิตินัย
ตามปฏิทินสุริยคติ
วันที่ 4 ก.พ.2566
เป็นวันเปลี่ยนนักษัตรปีใหม่
127
อุปมาเหมือนเป็นวันตรุษจีน
ตามพฤตินัย
สมัยโบราณฤดูใบไม้ผลิ
เป็นฤดูของการเริ่มต้นแห่งการเพาะปลู
ก
จึงถือฤกษ์นี้เป็นปีใหม่
ปีแห่งการเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ
寅卯辰 ฤดูใบไม้ผลิ
128
วันตรุษจีน
ส่วนใหญ่
จึงเป็นวันที่อยู่ในช่วงต้น เดือน ก.พ.
(寅 คือ เดือนก.พ.)
ไม่ว่าโชคชะตาจะเป็นอย่างไร
ปีนี้ หรือ ปีไหนก็ตาม
เมื่อดวงดี ก็ไม่หลงเพลิดเพลิน
เมื่อดวงไม่ดี ก็ไม่ท้อแท้
ควรดาเนินชีวิตด้วยสติ
และตั้งอยู่บนความไม่ประมาท
ด้วยปัญญา
129
มีสติเป็นตัวปรับสมดุล
ในทุกเรื่องราวของชีวิต
มีปัญญาในการพิจารณาแก้ไขปัญหาต่า
งๆ
และดาเนินชีวิตอยู่ในทางสายกลาง
ไม่ต้องเสียเงินเสียเวลาไปแก้กรรม
สะเดาะเคราะห์
แก้ชง หรือ ทาพิธีกรรมต่างๆ
ควรมาเลี้ยงดูมารดาบิดาที่บ้าน
และ เจริญกุศล
คุณความดีประการต่างๆ
มีการให้ทาน รักษาศีล เป็นต้น
ผู้ที่ประมาทมัวเมาในชีวิต
ไม่สะสมคุณความดีประการต่างๆ
ย่อมเป็นผู้ไม่มีที่พึ่ง เมื่อความตายมาถึง
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx
ชีวา ณ 1.docx

Contenu connexe

Plus de SunnyStrong

How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
SunnyStrong
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
SunnyStrong
 
ฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docx
SunnyStrong
 
ฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docx
SunnyStrong
 
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxพื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptxพื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
SunnyStrong
 

Plus de SunnyStrong (20)

คุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docxคุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docx
 
คุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docxคุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docx
 
Austria.docx
Austria.docxAustria.docx
Austria.docx
 
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
 
7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx
 
คุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docxคุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docx
 
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docxThe Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
 
12 Poems.docx
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
 
12 Poems.docx
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
 
100 words for people.docx
100 words for people.docx100 words for people.docx
100 words for people.docx
 
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
 
ฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docx
 
ฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docx
 
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
 
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxพื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptxพื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
 

ชีวา ณ 1.docx