SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  340
พื้นฐานชีวิต 41
ผู้เรียบเรียงรุ่นหลัง65
07/01/2566
10.01น.
ปี นักษัตร ธาตุ
ชวด ธาตุน้า
ฉลู ธาตุดิน
ขาล ธาตุไม ้
เถาะ ธาตุไม ้
มะโรง ธาตุดิน
มะเส็ง ธาตุไฟ
มะเมีย ธาตุไฟ
มะแม ธาตุดิน
วอก ธาตุทอง
ระกา ธาตุทอง
จอ ธาตุดิน
กุน ธาตุน้า
#ในเล่ม 41
๔ ฤดู คนธาตุไม้ การนอนหลับ
กินธาตุ เสริม
ธาตุ
คนธาตุไฟ ไต
ศานาไทย คนธาตุดิน หัวใจ
ทอง คนธาตุทอง ห้องนอน
โลหะ กวนอู ห้องน้า
ดิถี คนธาตุน้า ไฟหัวเตียง
ธาตุประจาตัว เว่ยชี่ ฝ
้ าหลุม
อาชีพ ลมปราณยิน ปฏิทิน
สารบัญ
ฤดูกาลกับการปฏิบัติตัว เพื่อให้เกิดสมดุล 8
ดูดวงจีน ซินแซหลัว
นิทานแสหลัว : กินธาตุ เสริมธาตุ
36
ความสัมพันธ์ระหว่างปีนักษัตรและธาตุตามหลักฮวงจุ้ย 63
ดนตรีสาหรับลูกในท ้อง-เด็ก
/ การทาบุญออนไลน์ที่แห ้งแล ้ง
73
ทองคือโลหะ โลหะ (ธาตุ) ไม่ใช่แค่ทอง 160
คุณคือคนธาตุใด ทางานอะไรแล้วรวยเฮง! 177
คนธาตุไม้ 180
คนธาตุไฟ 198
คนธาตุดิน 208
คนธาตุทอง 218
คนธาตุน้า 225
สารบัญ
ปัญหาการนอนหลับ ในทัศนะแพทย์
แผนจีน
(睡觉问题在中医的观点) ตอนที่ ๑
234
ทาไมจึงต้องนอนหลับ 237
การแพทย์แผนจีนมองการนอนหลับ
อย่างไร
237
ปัญหาการนอนไม่หลับเกิดจากอะไร 243
สรุป 264
ปฏิกิริยา 5 ธาตุกับทิศ 273
ฮวงจุ้ยดี เริ่มต้นที่ห้องนอน 289
ภาคพยากรณ์ 323
ฤดูกาลกับการปฏิบัติตัว
เพื่อให ้เกิดสมดุล
• ธรรมชาติ มีผลกระทบต่อสุขภาพ
• คนที่จะมีสุขภาพดี ต ้องเรียนรู้ธรรมชาติ
และดาเนินชีวิตให ้สอดคล ้องกับการเปลี่ยนแปลงของ
ธรรมชาติ
• คนจีนโบราณ
เขามีหลักในการปฏิบัติตัวให ้สอดคล ้องกับฤดูกาล
อย่างไร?
ลองติดตามดูซิครับ
เนื้อหา
https://www.doctor.or.th/article/detail/2786
ประเทศจีนนั้น
โดยทั่วไปจะมีฤดูกาลอยู่ ๔ ฤดู
• โดยแต่ละฤดู มีระยะเวลา ๓ เดือน
• แต่ละฤดู
มีลักษณะแปรเปลี่ยนของอากาศ
คือ ฤดูใบไม ้ผลิ อากาศอบอุ่น,
ฤดูร ้อน อากาศร ้อนอบอ ้าว,
ฤดูใบไม ้ร่วง อากาศเย็น,
ฤดูหนาว อากาศหนาวเย็นยะเยือก
เนื้อหา
การเปลี่ยนแปลงของอากาศ
มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสารใน
ร่างกาย
และมีผลต่อจิตใจ
• การแพทย์จีน
เชื่อว่าการตระเตรียมร่างกายและจิตใจ
ให ้สอดคล ้องกับการเปลี่ยนแปลง
ทาให ้โรคภัยไข ้เจ็บไม่เบียดเบียน
เช่น
เนื้อหา
ฤดูใบไม้ผลิ
• มีระยะเวลา ๓ เดือน
• ธรรมชาติเริ่มต ้นเคลื่อนไหว
ต ้นไม ้ใบหญ ้า เริ่มแตกหน่อ
สรรพสิ่งเริ่มงอกงาม
พลังผลักดันของธรรมชาติสูง
เนื้อหา
ฤดูใบไม้ผลิ
• ควรนอนหลับตั้งแต่หัวค่า
ตื่นนอนแต่เช ้า
• การนอนหัวค่า
เพื่อดูดซับพลังยินแก่อวัยวะภายใน
• ตื่นนอนแต่เช ้า
เดินเล่นหรือออกกาลังกาย
เพื่ออาศัยพลังหยาง
เนื้อหา
ในฤดูกาลนี้
หย่อนคลายกล ้ามเนื้อ
และผ่อนคลายจิตใจ
เนื้อหา
• เมื่อถึง..ฤดูร้อน
ก็จะมีพลัง
ไปสอดรับกับ
ภาวะความร้อนอบอ้าว
นอกจากนี้
ฤดูใบไม ้ผลิ
คนมักเป็นหวัดบ่อย
เนื้อหา
• ต ้องระวังเรื่องเสื้อผ ้า
การเปลี่ยนแปลงของอากาศ
และการกินอาหาร
• มีข ้อแนะนา
คือ ให ้ใช ้นิ้วหัวแม่มือ
นวดบริเวณ ๒ ข ้างของปีกจมูก
จุดอิ๋งเซียง
(วันละ ๑ ครั้ง
ครั้งละ ๑๐-๑๕ นาที ทุกเช ้า)
ฤดูร้อน
เนื้อหา
• ในช่วง ๓ เดือนของคิมหันตฤดู
เป็นฤดูกาลที่สรรพสิ่ง
ต ้นไม ้ใบหญ ้าเจริญเติบโตงอกงาม
• พลังหยางของธรรมชาติแกร่ง
มีผลต่อหัวใจ
(ธาตุไฟ อันรวมกับภาวะทางจิตใจ)
ข ้อแนะนา
เนื้อหา
• ควรนอนแต่หัวค่า
เพื่อสะสมพลังยินให ้มาก
• ขณะเดียวกัน
ให ้ตื่นเช ้า
เดินเล่นออกกาลังกาย
เพื่อปรับร่างกายให ้รับพลังหยาง
• เป็นการอุ่นเครื่อง
เตรียมรับอากาศร ้อน
อากาศร ้อน
จะกระตุ้นธาตุไฟ
(หัวใจ-อารมณ์)
เนื้อหา
อากาศร ้อน
จะกระตุ้นธาตุไฟ
(หัวใจ-อารมณ์)
เนื้อหา
• จึงต ้องควบคุมจิตใจ
ไม่ให ้หงุดหงิดหรือมีโทสะง่าย
มิฉะนั้น
จะทาให ้พลังหัวใจ
ได ้รับผลกระทบ
เนื้อหา
• ซึ่งจะไปแสดงผล
ในช่วงฤดูใบไม้ร่วงหรือ
ฤดูหนาว
ซึ่งจะทาให ้ร่างกายกลัว
หนาว
(ทนความหนาวไม่ได ้)
มีไข้สูง
อากาศร ้อน
เนื้อหา
• มักทาให ้นอนหลับไม่สนิท
กินอาหารได ้น้อย เหงื่อออกมาก
น้าหนักตัวจะลด
ร่างกายไม่มีความกระตือรือร ้น
• อาหารที่เลือกกิน
ควรเป็นผักและผลไม ้ที่มีคุณสมบัติไปทางยิน
(คุณสมบัติเย็น)
ระวังการติดเชื้อทางเดินอาหาร
เนื้อหา
• การดื่มน้าเย็นหรือเครื่องดื่มที่เย็น
ต ้องระวังในคนที่มีระบบการย่อย
(กระเพาะอาหาร ม ้ามบกพร่อง)
• เพราะจะทาให ้อาเจียน ปวดท ้อง
อากาศร ้อน
เนื้อหา
• การออกกาลังกาย
ควรกระทาก่อนพระอาทิตย์ขึ้น
• หลีกเลี่ยง
การออกกาลังกายที่มากเกินควร
หรือมีการเสียเหงื่อมาก
เพราะจะเป็นการทาลายพลังภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ให ้ระวังบริเวณช่วงท ้อง
อย่าให ้กระทบความเย็น
เนื้อหา
• เพราะจะมีผลต่อระบบการย่อย
ทาให ้การย่อยเสียสมรรถภาพ
ฤดูใบไม้ร่วง
• เป็นฤดูของการเก็บเกี่ยว
• อากาศในช่วงเริ่มต ้นของฤดู
จะมีลักษณะร ้อน
และค่อยๆเปลี่ยนเป็นเย็นสบาย
• อุณหภูมิ
ในเวลากลางวันและกลางคืน
ต่างกันไม่มาก
เนื้อหา
อุณหภูมิเฉลี่ย
เนื้อหา
ฤดูใบไม้ร่วง
• การเข ้านอนและการตื่นนอน
ยังยึดหลักเข ้านอนแต่หัวค่า
• ตื่นนอนแต่เช ้า
เพื่อเก็บรับพลังยิน
(ให ้เกิดสมดุล
จากภาวะพลังหยาง
ที่ต ้องใช ้ในช่วงกลางวัน)
เนื้อหา
ขณะเดียวกันให ้ตื่นนอนเช ้า
เพื่อรับพลังหยาง
เนื้อหา
• ฤดูกาลนี้
พลังปอด
มีความสาคัญ
• ถ้าผิดกฎเกณฑ์
ก็จะทาให้พลังปอดอ่อน
ถึงฤดูหนาว
จะเกิดปัญหาระบบการย่อยอาหาร
เสื่อมถอย
เนื้อหา
• อาหารไม่ย่อย อาเจียนได ้ง่าย
• เป็นบิดท ้องเสีย
และโรคทางเดินอาหารและลาไส ้
รวมถึงระบบทางเดินหายใจด ้วย
ฤดูหนาว
เนื้อหา
• เป็นช่วงเก็บสะสมพืชพันธุ์
ธัญญาหารในธรรมชาติ
• สัตว์และพืช
ก็จะลดการเคลื่อนไหวสู่ความสงบ
• จึงเป็นช่วงของการพัก
และสะสมพลังงานของสรรพสิ่ง
• ต ้องนอนพักผ่อนให ้มากพอ
ร่างกายต ้องให ้มีความอบอุ่น
เนื้อหา
• ระวังการเสียพลังงาน
เช่น เสียเหงื่อมากเกินไป
• ระวังการได ้รับความเย็นเกินขนาด
• ฤดูนี้
เป็ นช่วงจังหวะดีที่สุดในการบารุงร่างกาย
โดยเฉพาะพวกยาบารุง
(ยาโป้ว ซึ่งมีลักษณะร ้อนเป็นส่วนใหญ่)
ฤดูหนาว
เป็นช่วงจังหวะดีที่สุด
ในการบารุงร่างกาย
เนื้อหา
ฤดูหนาว
เนื้อหา
• เป็นช่วงของการสะสมพลังของร่างกาย
เพื่อให ้มีภาวะที่สมบูรณ์ที่สุด
สาหรับการเริ่มต ้นฤดูใบไม ้ผลิ
ปีต่อไป
ฤดูหนาว
มีการเปลี่ยนแปลงของอากาศที่
รุนแรง
เนื้อหา
• ในช่วงแรก
อากาศหนาวมาก (พลังยินแกร่ง)
• ในช่วงหลัง
พลังหยางเริ่มสูงขึ้น
อากาศหนาวน้อยลง
• จึงต ้องระมัดระวังเรื่องไข ้หวัด
และโรคระบบทางเดินหายใจ
การแพทย์จีน
ให ้ความสาคัญของการเกิดโรค
เนื้อหา
• อยู่ที่การเข้าใจภาวะของธรรมชาติ
และเสนอวิธีการปฏิบัติตัว
ในชีวิตประจาวัน
ตั้งแต่การหลับ การตื่นนอน อาหาร
การนุ่งห่มเสื้อผ ้า
การควบคุมอารมณ์
การออกกาลังกาย ฯลฯ
• เพื่อให ้มีการสมดุลกับการเปลี่ยนแปลง
รวมทั้งป้องกันและทั้งส่งเสริมร่างกาย
ให้สอดคล้องกับฤดูกาลใหม่ที่จะตามมาด้วย
ปรัชญาการแพทย์และสุขภาพ
จึงเป็นปรัชญาของการดาเนินชีวิต
เนื้อหา
ดูดวงจีน ซินแซหลัว
นิทานแสหลัว : กินธาตุ เสริมธาตุ
เนื้อหา
• เรื่องการเสริมดวง
เติมธาตุตามหลักปรัชญาจีน
ปกติก็จะเน้นกันไปที่สิ่งของ
หรือภาพ หรือสี
• ผมพูดมาราวๆ 5 ปีแล ้วว่า
วิธีเสริมธาตุของจีนที่ได ้ผลอย่างยิ่งอีกวิธีหนึ่ง คือ
การกินธาตุ
https://bit.ly/3vLDRec
คุณจะเห็นการจัดของไหว ้เจ ้าจีน
โดยเฉพาะเรื่องผลไม ้
ที่เน้นกันไปทางมีชื่อเป็นมงคล
เช่น
องุ่นแปลว่า ให ้มีลูกหลาน
ท ้อ ว่าอายุยืนยาว
ส ้มแปลว่าโชคดีมีสุข
สับปะรด แปลว่า เงินทองมั่งคั่ง
สาลี่ แปลว่าความมีบารมี ความก ้าวหน้า
เนื้อหา
ทั้งหมดก็เป็นความเชื่อ
ที่ทาให ้เวลาไหว ้เจ ้า
รู้สึกราวกับได ้รับพรอันเป็นมงคล
• แต่อาหารมีไว ้ใส่ปาก
ไม่ใช่มีไว ้เรียกชื่อเพราะๆ
แค่ได ้ยินเข ้าหู
เนื้อหา
การเสริมธาตุด ้วยการกินแบบง่าย
ที่สุด
จนดูเหมือนว่าไม่มีหลักตามตารา
เนื้อหา
• แต่จริงๆ
คือหลักการที่เป็ นเหตุเป็ นผล
และมีการบันทึกแน่ชัด
คือ สี ครับ
เนื้อหา
– สีแดง สีม่วง เน้นเสริมธาตุไฟ
เช่น แตงโม แอปเปิ้ล องุ่นแดง ทับทิม
– สีขาว เสริมธาตุทอง
เช่น กล ้วย สาลี่
สีดา สีน้าตาลเข ้ม ม่วงเข ้ม
เนื้อหา
เช่น มะเกี๋ยง เผือก มันม่วง ลูกไหน
องุ่นดา หัวบีทรูท ถั่วดา
( จะสังเกตว่า ผลไม ้ สีดา หรือม่วงเข ้ม หายาก
เนื่องมาจากว่า ผลไม้
เมื่อเปรียบกับพืชพรรณอื่น
เราถือเป็ นธาตุทอง ค่อนไปทางน้าอยู่แล้ว
เมื่อมีความเป็นธาตุน้าสูง
เลยหาสีดาจากผลไม ้ยาก
จะมีแต่ส่วนเมล็ด หัวเหง ้า
เสียส่วนใหญ่ )
มีคาถามว่า มังคุด
จะนับว่าธาตุอะไร
เนื้อหา
• เมื่อเปลือกสุกนั้นดา
แต่เนื้อในสีขาว
ก็ย่อมนับเป็นธาตุน้าครับ
เนื้อหา
– สีเขียว
เช่นพุทรา องุ่นเขียว สาลี่หอม กีวี่ มะม่วงดิบ
ฝรั่ง ส ้มโอ ส ้มเขียวหวาน เมลลอน อะโวคาโด
พวกนี้เสริมธาตุไม ้
– สีเหลือง
เช่น มะละกอ มะม่วงสุข สัปปะรด กล ้วยสุก
เสริมธาตุดิน
ธาตุดินคือกระเพาะ ระบบการย่อย
ผลไม ้พวกนี้ ก็มาเสริมการย่อย
สีอื่นๆ ข ้างต ้น
ก็นาไปเทียบกับ..อวัยวะ
เนื้อหา
เช่น
• สีแดง ระบบเลือด
• สีธาตุทอง ระบบหายใจ
• สีธาตุน้า สมอง ระบบประสาท
การขับเคลื่อนของเหลว ถ่ายของเสีย
เบอร ์รี่ทั้งหลาย
เลยเสริมสร ้างเกี่ยวกับ อารมณ์ สมองสติปัญญา
ซึ่งแลดูไทยหายากมากนะ ผลไม ้สีดา
เสริม
ผมขอบอกว่า มันหาง่าย
จนคุณลืมต่างหาก
คือ ข ้าวเหนียวดา กับน้อยหน่าสุกครับ
เนื้อหา
ทั้งหมดที่พูดมา
เนื้อหา
• เมื่อเรา ทานธาตุพวกนี้
ตามธาตุที่เราขาดที่ควรเสริม
ก็ช่วยให ้ร่างกาย จิตใจเรา
ผ่อนคลายเป็นสุข
เลือดดี สมองดี หัวแล่น
• นี่ยังไม่เรียกการเสริมธาตุที่ดีมาก
และไวมากอีกหรือ
เมื่อดูดวงแล ้ว หรือการแพทย์จีน
แล ้ว
ทราบธาตุที่ตนขาด
เนื้อหา
• ไม่จาต ้องไปจัดฮวงจุ้ยแบบแพงๆ
หรือการหาของมงคล
หรือของมีค่าราคาแพงมาเลย
• หากคุณเป็นคนมีรายได ้ไม่ฟู่ ฟ่ าอาเสี่ย
ดวงจีน/ปาจื้อ
เสริ
ม
แถวที่ 1 อ่านจากขวามือคือหลักปี
年柱 หนี่เถียว
เสริ
ม
เสริ
ม
หลักเดือน เป็นตัวแทนของฤดู
เสริ
ม
เสริ
ม
เสริ
ม
ฐานวัน
เสริ
ม
หลักยาม
เสริ
ม
เสริ
ม
เสริ
ม
ในทานองเดียวกันแต่ละระดับ
(แถว)
ก็สามารถวิเคราะห์ได ้เป็น
เสริ
ม
เราก็จะสามารถบอกได ้ว่า บุคคลนี้
เหมาะจะทางานกับ งานขาย + บริษัท
ใหญ่ หรือ งานตลาด + บริษัทข ้าม
ชาติ ฯลฯ เป็นต ้น
เสริ
ม
สรุป
• ถ ้าเข ้าใจหลักการและที่มา
ต่อไปก็ขึ้นอยู่กับการนาไปประยุกต์เรื่องต่าง ๆ ตามที่
เราต ้องการ
โดยต ้องไม่ลืมว่า มันไม่ใช่หลักตายตัว เปลี่ยนแปลง
ได ้
• ขึ้นอยู่กับ คนผู้นั้น หรือ ขึ้นอยู่กับจุดอ้างอิง (ไท่จี๋ของ
เจ ้าของดวง)
เช่น หลักปี ปกติจะแปลว่าต่างประเทศ
ก็อาจจะเหมาะกับเฉพาะคนที่มีฐานะ
แต่คนทั่วไปอาจจะแปลแค่ต่างจังหวัด เป็นต ้น
(หรือแปลว่าเดินทางไกลไปเลย
https://medium.com/@QiMenAlchemy/bazi-8-palace-62a02bb9a063
เสริ
ม
ปรัชญาจีน
เน้นความเรียบง่าย
เนื้อหา
• ทาไมพวกท่าน
ต้องทาให้มันแพง
ยิ่งแพงยิ่งห่างไกลปรมัตถ์ของปรัชญาจีน
เพราะมันยิ่งห่างไกลธรรมชาติ
ออกไปเรื่อยๆ
ความสัมพันธ์
ระหว่างปีนักษัตรและธาตุตาม
หลักฮวงจุ้ย
https://bit.ly/2TbfYsZ
เนื้อหา
ในชีวิตประจาวัน
• ย่อมต ้องมีเหตุการณ์ต่างๆเกิดขึ้นมากมาย
จากคนรอบข ้างที่เข ้ามาในชีวิตของเรา
• ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อค ้าขาย การทักทาย การทางาน
เป็นต ้น
• ซึ่งบางคน
เมื่อเราคุยแล ้ว ช่างฟังรื่นเสนาะหู
• แต่บางคนฟังแล ้ว
รู้สึกน่าราคาญ
อยากหนีไปให ้พ ้นๆ
ก็ไม่ปาน
เนื้อหา
ทั้งนี้ นอกจากลักษณะนิสัยส่วน
บุคคล
ที่มีผลกับความรู้สึกแล ้ว
เนื้อหา
• ธาตุประจาปี เกิด
ก็นับว่ามีผลส่วนหนึ่งด ้วยเหมือนกัน
• แต่ก่อนที่จะไปดูว่า..ปีเกิดใด..เป็นธาตุใดบ ้าง
เรามาทาความเข ้าใจ
เรื่องธาตุ
ในตาราฮวงจุ้ยกันก่อนดีกว่า
ในตาราฮวงจุ้ย
เนื้อหา
• มีธาตุที่ไว ้ใช ้อ ้างอิงอยู่ทั้งหมด 5 ธาตุ
ได ้แก่ ธาตุน้า ธาตุไม ้ธาตุไฟ ธาตุดิน และธาตุทอง
• ซึ่งแต่ละธาตุ
ก็จะมีคุณสมบัติส่งเสริมหรือหักล ้างกัน
เป็นวัฏจักร
เนื้อหา
และจากรูป
วิธีการดูความสัมพันธ์
ให ้ลองสังเกตที่ลูกศรชั้นในสุดก่อน
ซึ่งจะได ้ความสัมพันธ์ตามนี้
“น้าชนะไฟ ไฟชนะทอง ทองชนะไม ้ไม ้ชนะดิน ดิน
ชนะน้า”
หรือถ ้าเราสังเกตที่ลูกศรชั้นนอก
ความสัมพันธ์ก็จะเป็นอีกอย่างตามนี้
“น้าทาให ้เกิดไม ้ไม ้ทาให ้เกิดไฟ ไฟทาให ้เกิดดิน
ดินทาให ้เกิดทอง ทองทาให ้เกิดน้า”
เนื้อหา
และเมื่อเรารู้ว่าธาตุไหนส่งเสริม
ธาตุไหนหักล ้างกันแล ้ว
• คราวนี้
เราจะมาเช็คกันว่า
ปีนักษัตรประจาปีเกิดของเรานั้น
เป็นธาตุอะไรกันบ ้าง
• แล ้วปีนักษัตรอะไรส่งเสริมกัน
หรือเป็นอริกัน
• มาดูกันเลย
เนื้อหา
ปี นักษัตร ธาตุ
ชวด ธาตุน้า
ฉลู ธาตุดิน
ขาล ธาตุไม ้
เถาะ ธาตุไม ้
มะโรง ธาตุดิน
มะเส็ง ธาตุไฟ
มะเมีย ธาตุไฟ
มะแม ธาตุดิน
วอก ธาตุทอง
ระกา ธาตุทอง
จอ ธาตุดิน
กุน ธาตุน้า
เนื้อหา
ทีนี้ ทุกท่านก็รู้แล ้วว่า
ตัวท่านนั้นมีธาตุอะไร
• คราวนี้ ท่านก็สามารถประยุกต์ความรู้เหล่านี้
ไปใช ้ในชีวิตประจาวันได ้แล ้ว
• แต่ที่สาคัญคือ ธาตุประจาปีนักษัตรนี้
เป็นเพียงส่วนประกอบในการตัดสินใจอย่างหนึ่ง
• เพราะสุดท ้ายแล ้ว
คนที่จะเลือกทางเดินของชีวิต
ว่าจะไปทางไหนนั้น
ก็คือตัวท่านเอง
เนื้อหา
เนื้อหา
ดนตรีสาหรับลูกในท ้อง-เด็ก
/ การทาบุญออนไลน์ที่แห ้งแล ้ง
เนื้อหา
https://bit.ly/3ZlHLI8
เนื้อหาในบทความ
1. ปรัชญาจีน และพุทธ ว่าด ้วย ดนตรีที่เหมาะกับลูก
น้อย
2. ดนตรีสาหรับเด็ก ลูกในท ้อง
3. ลูกแก่แดดแก ้อย่างไร
4. อยากให ้ลูกดีทาอย่างไร
5. การทาบุญออนไลน์แห ้งแล ้งอย่างไร
เนื้อหา
ตั้งแต่เด็ก
เป็นคนชอบฟังดนตรีจีนและดนตรี
ล ้านนาโบราณมากๆ
ไม่รู้เพราะอะไรนะครับ
• ในสมัยที่เพื่อนๆผมเค ้าชอบฟังเพลงสากล
หรือเพลงฝรั่งไปตามยุค
• ผมกลับมีสองภาค คือ
ภาคหนึ่ง คือ ดนตรีไทยโบราณ หรือล ้านนา ก็ได ้
แค่ ค่าว ซอ ขับเสภา ปี่พาทย์
ดนตรีบรรเลงต่างๆ
โดยเฉพาะ ซึง สะล ้อ ฯ
หนักเข ้าขึ้นก็หัดเล่นด ้วยตนเองเสียเลย
เนื้อหา
เคยได ้บุญวาสนาอันดี
มีโอกาสศึกษากับศิลปิ นล้านนา ด้าน
ดนตรี
ผู้มีชื่อ คือ ท่านอาจารย์วิเทพ กันทิมา
• แล ้วมารับทราบความจริง
ในภายหลังว่า ระบบการเรียนดนตรีของล้านนา
ไม่ได้เรียนด้วยตัวโน๊ต
แต่เรียนด ้วยการท่องจา
จาอะไร
จาเสียงที่ครู ซึ่งคนล ้านนาเรียก พ่อครู
ดีด หรือ สี ให ้เราฟัง
เนื้อหา
เนื้อหา
• ดนตรีล ้านนาพื้นบ ้าน
จึงมักจะได ้ยินกันตาม วัด ท ้องทุ่งนา
• หรือไม่ก็ที่สาธารณะ
คล ้ายดนตรีวนิพกก็ไม่ปาน
• และอีกกลุ่มหนึ่ง
ก็คือ สายในวัง หรือในคุ้มหลวงเจ ้านาย
ทั้งนี้ เมื่อยุคสมัยเจริญขึ้น
ก็ได ้มีการเอา โน๊ตดนตรีมาใส่
ทาให ้เรียนรู้ง่าย
• แต่สิ่งที่ต ้องแลกกันไป
คือท่วงทานอง
ความพลิ้วของเสียงโน้ตดนตรีบางตัว
ที่ขาดหาย
• เพราะไม่สามารถจดเสียงนั้น
เป็ นตัวอักษรได้
• ต้องอาศัยฟัง จา และเล่นต่อๆกันเอา
เนื้อหา
คุณพ่อเคยเล่าว่า
เนื้อหา
• นักดนตรีล ้านนาเก่งๆบางท่าน
แค่ได ้ฟัง พ่อครู ดีดซึง หรือสีสะล ้อ
เพียงไม่กี่หน
ก็สามารถใช ้ความสามารถทางการได ้ยิน คือหู
อันพิสดารกว่าชาวบ ้าน
แยกแยะตัวโน๊ตและดีดตามได ้
ในเวลาไม่นาน
ย ้อนกลับมาหาสิ่งที่คู่ขนาน
คือ ดนตรีจีน
• เช่นกัน
เมื่อได ้ยินเสียงดนตรีจีน
จะทาให ้รู้สึกมีความสุขมีชีวิตชีวามา
• ตรงกันข ้ามกับคนสมัยใหม่
คือผมค่อนข ้างไม่นิยมฟังดนตรีสากล
ค่อนไปทางรังเกียจเสียด ้วยซ้า
เนื้อหา
เพราะดนตรีสมัยก่อน หรือดนตรี
บรรเลง
มักบรรยายธรรมชาติ ชีวิต ความ
เป็นไปในโลก
เนื้อหา
• แต่ดนตรีสากล เพลงสากล
ณ สมัยผม
ก็คือว่า บรรยายเอาเรื่องรักๆบ ้าง สังคมแย่ๆบ ้าง เป็น
หลัก
• ฟังแล ้วจิตตก
• พูดง่ายๆ ไม่ต ้องมีเนื้อร ้อง
แค่ทานองก็จิตตกแล ้ว
• ทาได ้ดีสุด
คือปิดทุกอย่าง แล ้วไม่ฟังทั้งนั้น
ทีนี้ก็เกิดความติดค ้างใจอันนึง
คือว่า เราชอบเสียง กู่เจิงมาก
เนื้อหา
• ฟังแล ้วเพลินมากครับ
ยิ่งกว่าเปียโน
• ก็เลยมาได ้รู้ความจริงว่า
เครื่องดนตรีชนิดนี้
สามารถดีดเอาตัวโน๊ต
ได้หลากหลายเสียงมากๆ
แม้แต่เสียงที่ไม่อาจจดเป็ นตัวอักษรได้
แต่สุดยอดปนความ งง คืออะไร
ก็คือ กู่ฉิน 古琴
เนื้อหา
• ฟังทีไร
ไม่เคยเกินยี่สิบนาทีหรอก
• เพราะว่า อะไรไม่รู้ ฟังแล ้ว งง แต๊ง แต๊ง
และนานๆ มีต๊อง ขึ้นมา
• มีตะละแล่งแต๊ง และก็ ตึ่งวึ้ด ตึ่งวึ้ด
• สารพัดเสียงแปลกๆ กับทานองที่ดูเหมือนไม่
ต่อเนื่องกัน
• เดี๋ยวหายไปสักพัก เดี๋ยวมาใหม่
เดี๋ยวนอกจากดีด ก็มีเคาะบ ้าง
ปะปนอลหม่าน
ตอนนั้นคิดนะ
• แต่พอตอนนี้..มาฟัง
อ ้อ เข ้าใจละ
มิน่าเขาว่า
นี่มันคือ เครื่องดนตรีชั้นสูง
• คือ คุณต ้องใช ้จิตสงบขั้นนึงในการฟัง
• คือ จะมาฟังเพื่อให ้ผ่อนคลาย
แบบคลายเครียด
เหมือนดนตรีอื่น
• ไม่มีทางครับ
ฟังแล ้วยิ่ง งง
เนื้อหา
แต่ถ ้าฟังกูฉิน ด ้วยใจสงบ
ไม่กระวนกระวาย ไม่เร่งรัด ไม่เร่ง
รีบ
• เสียงดนตรีกู่ฉิน古琴
กลับช่วยทาให ้ใจคลาย มีความสงบลงได ้
เห็นภาพธรรมชาติ
• และบรรยากาศอันงดงาม
แบบปราศจากมลทินใดๆ
นอกจากอารมณ์ทางใจของผู้เล่นที่ใส่ลงไปบ ้าง
ตามสามัญวิสัยของปุถุชนเท่านั้น
แต่ก็เบาบางนัก
เนื้อหา
เพราะคนเล่น กู่ฉินได ้
แต่ละคน
• พอผมฟังอารมณ์ตอนเขาดีด
วงเล็บ ฟังด ้วยจิต
• ปรากฎว่าจะมีความนิ่ง สงบ มากกว่าทั่วไปหน่อย
คือไม่ได ้เน้นเพื่อเอาเสียงเพราะ เอาบันเทิง
เอาใจคึกครื้น เอาสนุกแต่อย่างเดียว
• แต่เหมือนเป็นการวาดภาพ
โดยมีแต่ละเส ้นสายของกู่ฉิน
เป็น พู่กัน
และเสียงนั้น เป็นน้าหมึก แต่งแต ้มออกมาได ้
เนื้อหา
ยังจะได ้ดี
• ผมเริ่มศึกษาปรัชญาจีนใหม่ๆ
(แต่ก่อน
ผมเรียกพวกนี้ว่า วิชา โหราศาสตร ์จีน
คือ รวมทั้ง ดวงจีน ฮวงจุ้ย
แต่พักหลังนี่ชักรู้เยอะ
ล่วงไปถึงวิชาที่คนไทยเอง
ก็ยังไม่รู้จักหลายวิชา
การแพทย์ก็ด ้วย กาลังภายในสมาธิก็ด ้วย
เลยขอเรียกรวมใหม่ว่า ปรัชญาจีน)
เนื้อหา
ทั้งนี้ ด ้วยความเป็นคนชอบค ้นคว ้า
ในเรื่อง ยินหยางอู่สิง 陰陽五行
หรือ ห ้าธาตุดวงจีน
• ก็เลยได ้ทาการค ้นคว ้าหมายอย่างละเอียด
• ถ ้าเรื่องนี้เกี่ยวกับแพทย์จีน
ก็ต ้องเอาไปถามแพทย์จีน
• เรื่องนี้เกี่ยวกับศิลปะ
ก็ต ้องไปค ้นความรู้ทางศิลปะจีนมาตอบ
เนื้อหา
และถ ้าเรื่องนี้
เกี่ยวกับดนตรีหละ
• แน่นอนครับ
ผมดั้นด ้นไปพบอาจารย์สอนดนตรีจีน
ผู้มีชื่อท่านนึง
ในไทย
• เพื่อไปถามท่านว่า โน๊ตทั้งห้าแบบนี้
ผมอยากได ้ยินเสียง
ช่วยดีด หรือ เคาะ ให ้ผมฟังหน่อยได ้ไหม
เนื้อหา
• อาจารย์ผู้นั้น
กล่าวถามผมว่า
“ซินแส ไปรู้จักโน้ตพวกนี้ได ้อย่างไรครับ
นี้..ตัวโน๊ต สมัยโบราณ
• สมัยนี้ไม่มีแล ้ว
บางตัวนี้ยอมรับว่า จนปัญญาจะ ดีด ให ้ฟังได ้จริงๆนะ
ครับ”
เนื้อหา
• เป็นอันว่า เราทราบแต่ตัวหนังสือ
และนี่เป็นวรรคเดียว
ที่ผมแปลได ้
แบบยังไม่สิ้นความในใจ
• เพราะยังไม่อาจพิสูจน์ให ้ถึงที่สุด จนกระจ่างใจได ้
• เลยได้ข้อสรุปว่า ใช่ครับ
เหมือนที่ปรัชญาจีนกล่าว
เสียง คือ คลื่น คลื่น คือ ธาตุน้า
หูคนเราก็เป็ นตัวรับธาตุน้า
เนื้อหา
เมื่อเป็นธาตุน้า
เนื้อหา
• ความเปลี่ยนแปร
จึงหลากล ้านหลายแสนรูปแบบมาก
พลิกแพลงได ้สารพัด
• ในขณะเดียวกัน
ก็แปลว่า ถ ้าเพี้ยน
ก็สามารถเพี้ยนได ้จากอันเดิม
แบบไม่มีทางกลับไปเหมือนเดิมได ้
เช่นกัน
เพราะความที่ระดับเสียงใกล ้กันมาก
ไม่ต ้องมองอะไรมากเลย
มองทฤษฎีหูสุนัขกับหูคน
เนื้อหา
• เราอยู่บนโลกใบเดียวกัน ณ ที่แห่งเดียวกัน
แต่ สุนัข กลับสามารถรับคลื่นเสียงที่คนเรารับไม่ได ้
• ก็พูดได ้ว่า เขาสามารถรับข่าวสารได ้เยอะกว่าเราทาง
เสียง นั้นเอง
คุณเคยสงสัยมั้ยว่า
เนื้อหา
• ทาไม พระพุทธเจ ้า
ท่านตรัสผู้ได ้ยินได ้ฟังมาก
หรือที่เราเรียก คนฉลาดๆมีความรู้ ว่า พหูสูต
• ทาไมท่านไม่ตรัสเรียกผู้ได ้เห็นได ้อ่านมาก
• กลับยกย่องผู้ได ้ยินได ้ฟังมาก
คือ ยกย่องการใช ้หู มากกว่าใช ้ตา
• แต่จริงๆคนเราก็รับสัมผัสพอๆกันหละครับ
แต่ทาไมท่านไปเน้นที่ การฟัง มากกว่าการอ่าน
แน่นอนหละ
เนื้อหา
• ในสมัยโบราณ
บางท่านอาจจะบอกว่า
ก็ไม่มีตัวอักษรพอ
จะมาจารึกถ้อยคาได้หมด
• หรือการสอน
ก็เป็นการสอนแบบปากเปล่า
พูดให้จา มากกว่า
เป็นการให ้ไปอ่าน
หรือมีตาราให ้อ่าน
เพราะฉะนั้น
เนื้อหา
• คาสอนในศาสนาพุทธ
ก็เลยเป็นเหมือนสมุดจดบันทึก คาพูดของ
พระพุทธเจ ้า
และเรื่องเล่าของพระองค์ที่พระสาวกจดจามา
ตลอดจนคาพูดด ้วย
• เพราะฉะนั้น การสื่อการที่โบราณที่สุด คือ เสียง
คนเราเริ่มพูดได ้ก่อนเขียนได ้
เสมอ
เนื้อหา
• ซึ่งขณะนี้ก็ยังเป็นอยู่ใช่ไหมครับ
• เด็กเกิดใหม่ พูดว่า แม่ หรือ พ่อได ้
ก่อนจะเขียนคาว่า พ่อ แม่ ได ้ อีก
ใช ้เวลาห่างกันหลายปีอยู่
ถ ้าย ้อนไปเรื่องร่างกาย
เนื้อหา
• เราก็ได ้ยินเสียงก่อนจะเห็นภาพ
ตั้งแต่เราอยู่ในท ้องแม่แล ้ว
• เลยมีความคิดสมัยนิยม
เรื่องเปิดเพลงคลาสสิคให ้ลูกฟัง
• แต่ผมเคยพูดเรื่องเพลงคลาสสิคแล ้ว
ว่า ดนตรีทางเอเชียเรา ออกไปทางธาตุไม้
ทั้งวัสดุที่ใช ้ ท่วงทานองลีลา
• แต่ของฝรั่งเขา ออกไปทางธาตุทอง
ถ ้าอยากให ้ลูกเราเป็นเด็กจิตใจงาม
ควรให ้ฟังเพลงทางเอเชีย
เนื้อหา
• มากกว่าเพลงทางฝั่งยุโรป
ที่คนแต่งก็เป็นคนวัยกลางคน
แต่งให ้คนวัยกลางคน หรือผู้ใหญ่ฟังกันครับ
เขาฟังกันในโรงละคร
• เพลงพวกนี้ไม่ใช่เพลงกล่อมเด็ก
หาควรเอามาเปิดจ่อให ้ลูกฟังไม่
รังแต่จะเป็นผลเสีย
ทาให ้เขาแก่เกินไว
เพราะทอง ตรงข ้ามกับไม ้
เนื้อหา
• ไม ้คือค่อยๆโต นุ่มนวล เติบโตผสานกับธรรมชาติ
• แต่ทองคือ ปรับปรุง เปลี่ยนฉับไว แน่ชัด และโตไว
มาก
• แก่แดดนั้นหละ ว่าง่ายๆ
และแก่แดด
ก็เลยดูเหมือน ฉลาดใช่ไหม
ใช่แน่นอนครับ
ถ ้าพูดกันตามปรัชญาจีน
ทอง ย่อม หนุนน้า
เนื้อหา
• น้า ผมไม่เคยแปลว่า ปัญญา
• ผมค ้านมาตลอดว่า น้า หรือ ธาตุน้า
หรือคาว่า 智 จากลัทธิหยู
• ขงจื้อ
นี่ แปลได ้มากสุดคือ ความฉลาดอย่างยิ่ง แค่นั้น
ไม่ใช่ตัว ปัญญา แต่ประการใดเลย
ปัญญาเหนือกว่านั้น
เนื้อหา
• ผมเคยแปลสั้นๆ
ให ้คนที่มาฟังบรรยายฟังว่า
ปัญญา แปลว่า แก ้ปัญหาได ้
• สิ่งใดรู้เฉยๆ
แต่แก ้ปัญหาอะไรให ้ชีวิตไม่ได ้เลย
ไม่เรียกว่า ปัญญา
• เพราะมีปัญญา ชีวิตจะมีทางแก ้
มีทางเดิน มีเป้าหมาย
และไปต่อได ้
เพราะมีปัญญา ชีวิตจะมีทางแก ้
มีทางเดิน มีเป้าหมาย
และไปต่อได ้
เสริม
ต่างกับความฉลาด
เนื้อหา
• ที่คนที่ฉลาดหลายคน เอาตัวไม่รอด ยากจน
เข ้ากับใครไม่ได ้
มีปัญหากับการอยู่ร่วมกับคน
• ไปจนถึงตัดตัวเองออกจากโลก
ด ้วยการ ฆ่าตัวตาย มากมาย ครับ
• คนฉลาดก่อคดีที่ยากจะสืบได้
แต่คนมีปัญญาจะไม่สร ้างคดี
หรือความทุกข์ใจให ้คนอื่น
คนฉลาดก่อคดีที่ยากจะสืบได้
แต่คนมีปัญญาจะไม่สร ้างคดี
หรือความทุกข์ใจให ้คนอื่น
เสริม
เพราะ ปัญญาจะมีได ้
เนื้อหา
• ต ้องมีศีล มีสมาธิ คอยชาระ คอยเติมเต็มกันไปมา
ให ้เจริญขึ้น พร ้อมๆกัน
• คาสอนขงจื้อ
เป็ นความฉลาดอย่างยิ่ง
เพราะเป็ นความรู ้ที่ช่วยแก้ปัญหาทางโลกได้
แต่ในทางโลกุตระ
เนื้อหา
• ยังแก ้ไม่ได ้จึ่งไม่อาจกล่าวเรียกได ้ว่าเป็น ปัญญา
• บางท่านด ้วยความไม่เข ้าใจภาษาบาลี
ก็ไปเขียนเติมว่า ปัญญาญาณ
• ก็ ปัญญา นั้นเองนี้
• คานี้ ก็มีคาว่า ญาณ อยู่ในนั้นแล ้ว
แต่เป็นญาณแบบพิเศษจาพวกนึง แค่นั้นเอง
ทอง หนุน น้า
เนื้อหา
• ฟังดนตรี ฝรั่ง เลยฉลาด โตไว หัวคิดไปไว
• เหมือนจะเรียนรู้ไว
• มันไปตรงกับสานวนจีนโบราณ
ที่สอนลูกหลาน..ว่า
ป๋ า เหมียว จู้ จ่าง 拔苗助長
คือชาวนาอยากให ้ต ้นกล ้าโตออกรวงไวๆ
แทนที่จะรอตามฤดูกาล
ดูแลนาตัวเองตามปกติ
เปล่าเลย
เขามีความคิดแปลกๆ
เนื้อหา
คือ ไปดึงเอาต ้นกล ้านั้นขึ้น ทีละนิด
• แบบไม่ได ้ดึงพรวดทีเดียวให ้พ ้นจากดินนะครับ
• ดึงนิดเดียว ให ้เหมือนดูว่า ต ้นโตสูงขึ้นมานิดๆละ
• ทาแบบนี้ทุกวัน ทุกวัน
• สุดท ้าย
เมื่อรากไม่สามารถทางานได ้ ต ้นข ้าวก็ตาย
• คือ การไปเร่งโต เกินวัยอันควรนั้นเอง
เสริม
เนื้อหา
• เร่งให ้ทันกับวิทยาการ
และความก ้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี
• ลืมไปว่า คนเรามีชีวิตอย่างเดียวก็หาไม่
เรามีจิตใจที่ต ้องหล่อเลี้ยงด ้วย
ดนตรีฝั่งเอเชียส่วนมาก
เนื้อหา
เช่น จีน อินเดีย ไทย พม่า ลาว เขมร ชวา
เปอร์เซีย
• เหล่านี้
ล ้วนออกมาทาง ธรรมชาติ
• ธาตุไม ้
• เสียงดนตรี
ไม่กระชากสูงต่ารุนแรงฉับพลันมาก
ฟังแล ้วเนิบๆ เย็นๆ
จะโศก หรือ เกรี้ยว
เนื้อหา
• ก็เกรี้ยวแบบ เกลียวคลื่นในทะเลคลั่ง
• ยังไม่รุนแรงเท่า เกรี้ยวแบบไฟไหม ้โลก
อุกาบาต ภูเขาไฟระเบิด บึ้ม บั้ม
• ส่งผลคือ การเจริญสติ เจริญปัญญาได ้ง่าย
• คลื่นความสงบ
เกือบเท่าเสียงสวดสาธยายมนต์
ประเด็นนี้เช่นกัน
เนื้อหา
• เสียงเมื่อหลากหลายกว่าภาพ
ก็เพี้ยนง่ายกว่าภาพ
• การเขียนอักขระภาษา
โดยใช ้เสียง หรืออ่านออกเสียง
ก็เพราะทุกภาษา
ย่อมต ้องอ่านออกเสียง
เพื่อสื่อสาร
เพราะมนุษย์
พูดคุยกันด ้วย อ่านด ้วย เขียนด ้วย
ฟังด ้วย
เนื้อหา
• ก็ย่อมจะอ่านได ้ผิดแผกไปจากกัน
หลายสาเนียง
ทั้งๆที่อาจเขียนเหมือนกัน
• และบางคา
หรือบางเสียงที่คุณใช ้สื่อสารกัน
ก็ไม่สามารถเขียนเป็นตัวหนังสือได ้
ตระกูลภาษาไต กะได
เสริม
นี้เป็นจุดเด่นของ ...
• การจดบันทึกด้วยอักษรเสียง
แบบภาษามคธ หรือ พระบาลี
• หรือไทยเราก็รับอิทธิพลนี้มา
คือ การผสมพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ มา
เพื่ออ่านออกเสียง
เนื้อหา
เราไม่ได ้เป็นอักษรภาพ
แบบอียิปต์หรือจีน
เนื้อหา
• พิสูจน์ง่ายๆ
คือ บทสวดมนต์
ทางพระพุทธศาสนา
ทางเถรวาท
จะสามารถสวดเสียงได ้ใกล ้เคียงกัน
ทั้ง พม่า ไทย อินเดีย ศรีลังกา
• ต่างกันแต่บ ้างก็ ท่วงทานองและสาเนียง
https://www.youtube.com/watch?v=BOsNu4QzN68
เนื้อหา
แต่ถ ้าเปลี่ยนไปทาง จีน มหายาน
ไปเลย
• จะแตกต่างกันไป
ด ้วยการใช ้อักษร
ในการทับศัพท์ออกเสียงก็ดี
• หรือไม่ก็ แปลพระสูตรจากพระบาลี
ทับลงไปด ้วยภาษาจีนเลยก็ดี
เนื้อหา
ข ้อเด่นของอักษรรูปภาพ
เนื้อหา
• ตามปรัชญาจีน
ถือว่า ออกมาทางธาตุไฟ
คือ สัมผัสทางใจได้ไว เห็นภาพละจาได้ไว
และก็ลืมไว
เหมือนเราไปเที่ยว สักพักก็ลืม
• ภาพในอดีต
ตอนแม่ป้อนข ้าวเรา ป้อนนมเรา
เราก็ลางๆเลือนๆ
แต่สิ่งที่เราจาได ้คือ
เนื้อหา
• คาพูดแม่ เพลงกล่อมของแม่ ของย่า มากกว่า
• เพราะเราจาเสียงได ้ ตราตรึง ติดแน่นกว่า
• เพราะเสียง
ปรัชญาจีนให้คุณค่าออกมาทาง ธาตุน้า
ดนตรีฝรั่ง
เลยเป็น ธาตุน้าผสมทอง
เนื้อหา
• เกิดเหตุแบบที่ได ้ชี้แจงมาข ้างต ้น
• ส่วนดนตรีฝั่งเอเชีย เป็น ธาตุน้าผสมไม ้
สอดผสานกันกลมเกลียวดี
• และที่สาคัญ ธาตุที่ผมกาลังพูดในบรรทัดนี้
ไม่ใช่ธาตุที่สามารถจับได้ ถือเอาได้ เสียเมื่อไหร่
• อาจารย์บางท่าน
เลยเรียกว่า ธาตุเทียม
เพราะเหมือนจะจับต ้องไม่ได ้
มองไม่ค่อยเห็น แต่ก็รับรู้ได ้
คาแนะนาของผม
คือ แบ่งเวลาให ้ลูก และตัวคุณเอง
ครับ
เนื้อหา
• เมื่อต ้องการกล่อมเกลาใจ
หรือเค ้ายังเด็ก
ให ้เค ้าได ้รับสิ่งที่เป็น ธาตุไม้ ธาตุไฟ เยอะหน่อย
เช่น เสียงดนตรีไทย ดนตรีเอเชีย ที่ยกตัวอย่างไป
ดนตรีจีนก็ด ้วย ศิลปะวาดเขียนก็ด ้วย
• โตมาหน่อย
อาจให ้ฟัง หรือรับรู้ทางธาตุทองได ้บ ้าง
เช่น ดนตรีสากล กีฬา
หรือเทคโนโลยีตามแต่ถนัด
เสริม
เสริม
เสริม
ถ ้ายังไม่ถึงห ้าหกขวบ
เนื้อหา
• อย่าเลยครับ
อย่าเลยที่จะไปเอา คอมพิวเตอร ์มือถือ แสงรังสี
• ย้า ไม่ใช่แสงสีนะ แสงรังสี จริงๆ
• แสงก็เป็นรังสีแบบนึงหละ
• แต่เราไปพูดแสงสี ฟังดูสวย
• ผมพูดว่า แสงรังสี จะได ้สะอึก
มีสติเห็นโทษมันบ ้าง
ว่า จอประสาทตา ที่กาลัง ไม่แข็งแรงมาก
โดนรังสีพวกนี้สาด ก็เสื่อมไว
เนื้อหา
สมัยก่อนจากันได ้ไหม
เนื้อหา
• ไปนั่งใกล ้โทรทัศน์ ห่างแค่ศอก หรือ สองศอก
จะโดนพ่อแม่เอ็ดว่า
อย่าไปดูโทรทัศน์ใกล ้ สายตาจะเสีย
• ของพวกนี้ถ ้ามีแสง
ก็มี ฟลักแม่เหล็กไฟฟ้าตามมาด ้วยครับ
• มันบั่นทอนอวัยวะเราทั้งหมด
แน่ๆหละ
ถ ้าพูดตามปรัชญาจีน
คือ ทอง ย่อม บาด ไม ้
เนื้อหา
• ทาให ้ไม ้บาดเจ็บ
เผอิญว่า เป็น ทองเทียม เลยเลือดไม่ไหล
เลยค่อยๆเสื่อม
ไม่เสื่อมแบบ บอดทันที
• แล้วสมัยนี้
คุณให้ลูกเล่นมือถือ แทบเลต
สิ่งพวกนี้
ห่างจากดวงตาน้อยๆของเขา ถึงศอกไหมครับ
• มีเด็กคนไหนยื่นมือไปสุดแขน
แล ้วกดมือถือ
หรือแค่นี้
ก็ทานายได ้เลย
เนื้อหา
• อนาคต คนป่ วยโรคปอดจะเยอะ
เพราะอากาศเสีย
• คนป่ วยโรคมะเร็งหัวใจจะเยอะ
เพราะสารพิษเยอะ และพักผ่อนน้อย
• คนป่ วยโรคตา จะเยอะ
เพราะตาไม่แข็งแรง
มาตั้งแต่เด็ก
ปรัชญาจีนเราถือว่า วัยเยาว์ ...
เนื้อหา
• เป็นวัยที่เสริมสร ้างพื้นฐานความแข็งแรง
ของคนเราไปชั่วชีวิต
• ย้าว่า ชั่วชีวิต
• คือถ ้าไม่ดูแลช่วงนี้ให ้ดี
ต่อให ้คุณทางานมีเงินเดือนละ
จะกลับมายัดอาหารเสริม สารพัดสารวิเศษใส่ร่างกาย
• ไม่ทันแล ้วครับ
รถด่วนขบวนสุดท้าย
จากคุณไปตอนก่อนอายุ 16 ปีโดยประมาณ เป็นอย่าง
ช ้าสุดแล ้ว
ไวสุดที่รถขบวนสาคัญจากไปคือ 10 ขวบ
เสริม
ใจเย็นๆครับ
คุณผู้ปกครอง
เนื้อหา
• ไม่ต ้องไปเร่งให ้ลูกสอบได ้ที่หนึ่ง
เก่งภาษาพูดปร๋อ หรือเก่งคอมพ์ เก่งมือถือ
แต่เด็กๆเล็กๆหรอกครับ
• เสริมธรรมะ ศีลธรรม ศิลปะ ให ้ชีวิตเค ้าช่วงวัยเด็ก
เยอะๆ
• คุณพูดเสมอไม่ใช่หรือ
ว่าต ้องการคนดี ลูกดี มากกว่าลูกเก่ง
คือขอให ้ลูกเรามีชีวิตที่ดีนะ
• ก็แปลว่า ขอให ้ลูกเราเป็นคนดีก่อนนั้นหละ
แล ้วคุณลองหันกลับมามองว่า
เนื้อหา
• เวลาแต่ละวัน ที่คุณใช ้
เพื่อเติมแบตเตอรี่แห่งความดีให ้เขา
มันน้อยหรือมาก กว่า แบตเตอรี่แห่งความรู้
เรียนพิเศษ และเทคโนโลยี
เสริม
ถ ้าอีกฝั่งมันมาก
จะต ้องมาประท ้วงทาไมว่า อีกฝั่ง
ทาไมเสื่อม
เนื้อหา
• ก็เพราะคนเรา มีเวลาวันนึงเท่ากัน 12 ชั่วยาม
• คุณไปยัดอันนึงใส่มาก
ก็ไปกินเวลาที่จะไปเสริมอีกฝั่งนึง
เป็นธรรมดา
• และยิ่งวัยเด็ก
ไม่มีความจาเป็นเลยที่จะต ้องไปก ้าวทันเทคโนโลยี
ใช ้แค่ติดต่อสื่อสารแบบพอควร
เช่น ติดต่อนัดหมายการนัดกลับบ ้าน รับลูกจาก
โรงเรียนมาบ ้าน
หรือกลัวพลัดหลงกัน
• ใช้เป็ นครั้งคราว พอแล้วครับ
โลกเราอนาคต
จะมีหุ่นยนต์ มาแทนแรงงานคน
มากพอแล ้ว
เนื้อหา
• จะฉลาดกว่าคนด ้วยซ้า
• คุณคิดคานวนทันหุ่นยนต์หรือไง
อย่าผลิต หุ่นยนต์ที่มีหัวใจเลี้ยง
ด ้วยเลือดเนื้อ
เพิ่มอีกเลย
เนื้อหา
• ผลิตชีวิตที่มีคุณค่า มีประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
เถิด
ล่าสุด
เมื่อเย็นวาน ผมตกใจมาก
เนื้อหา
• ปัญญาชนระดับอาจารย์มหาวิทยาลัย
เป็นระดับ ดร. และท่านปฏิบัติธรรมบ ้างด ้วย
• ท่านกล่าวว่า ก็ออกไปสังคมภายนอกมันวุ่นวาย
ฉันขออยู่คนเดียวกับแฟนในคอนโด ดีกว่า
นี่หละ สันโดษ
ผมตอบว่า ผิดแล ้ว
ธรรมะ ไม่ใช่สันโดษแบบนี้
เนื้อหา
• แบบนี้เรียก สันโดดโดด สันอยู่คนเดียว
• สันโดษจริงๆ
คือ พอใจในสิ่งที่ตนมีไม่ไปทาอะไรตามกิเลส
อยากๆตามกิเลส
• ไม่ได ้แปลว่า เลิกยุ่งกับใคร
• พระพุทธศาสนาเรา
ไม่ได ้สอนให ้คนเลิกช่วยเหลือกัน
ถ ้าแบบนี้
• การเจริญ เมตตา กรุณา มุฑิตา
ก็ย่อมไม่เกิด ไม่มีทั้งนั้น
เพราะอยู่แบบโดดๆ แบบเดี่ยวๆ
• ชั้นไม่พึ่งใคร ใครก็ไม่ต ้องมายุ่งกับชั้น
• “แต่ก็คุยกันและสนทนาธรรมกันบ ้าง
ทาบุญทางออนไลน์ตลอดนะค่ะ”
เนื้อหา
บุญ กุศล ธรรม อันแห ้งแล ้ง
คือไม่ได ้เกิดความซาบซึ้งใจ
มากมายหรอก
เนื้อหา
• และคนเดือดร ้อนทุกข์ยากอีกมาก
ที่แม ้แต่จะเข ้าอินเตอร์เนตไม่ได ้
เพราะเค ้าไม่มีเงินซื้อมือถือ
• ที่ขอทานอยู่ไม่ไกลจากบ ้านคุณ
เกินรัศมีห ้ากิโลนี้เล่า จะไม่ช่วยเขาเลยรึ
• แม่บ ้าน ยาม คนกวาดถนน เค ้าสบายดีมีงานทา
เราไม่ต ้องช่วยอะไรแล ้วรึ
• นี้คือ บุญแห ้งแล ้ง คือ คิดแบบแห ้งๆว่า ขอข ้าพเจ ้าอยู่
ได ้ สบาย
ครอบครัวดี พอละ
ดีกว่านั้นหน่อย
ก็ช่วยคนบ ้างตามโอกาส
• แต่หัวใจที่นอบน้อม สละ มันหายไป
• มันไม่ได ้รับการ ส่อง มอง ขัด ฝึก ให ้เป็นคนนอบน้อม
จิตใจอยากช่วยคนทุกข์ยาก เมตตา กรุณาคน
เดือดร ้อน
• เมื่อเป็นแบบนี้ ความถือตัวถือตนก็ยังมีอยู่
• ต่อให้มีความสุข ด้วยกาลังสติปัญญา กาลังทรัพย์ที่
มี
ก็ยังคงต้องทุกข์ใจ
• เพราะไม่เคยเห็นความว่าง หรือ ความสงบทางใจ
เนื่องจาก ยังมีคาว่า ตัวกู ของกู
เนื้อหา
ลึกๆภายในใจ ใจไม่ได ้สละ
ออกไป
ที่ช่วยใครเลย
• ใจมันอยู่กับหน้าจอ โอนเงินทาบุญเสียก็ได ้บุญละ
ก็สาธุ ก็กดไลค์ ก็จบไป จบไปเป็นวันๆ
ไม่ได ้เจริญจิตอันเป็นกุศลที่จะเมตตา
• เมื่อยังมีความถือตัวถือตน ศีลไม่มีทางจะบริสุทธิ์ได ้
เพราะเราจะไม่มีปัญญาพอที่จะส่องเห็นข ้อบกพร่อง
เนื่องจากกาลังสติ ของเรามันจะน้อย
• หรือต่อให ้ลึกกว่าคนอื่นก็ ลึกในระดับผิวๆ
ไม่ได ้มองเห็นความจริงว่า โอ้หนอ จิตใจเรานี้ เป็ น
บุญหยาบ
บุญออนไลน์ ไม่ได ้ทาความนอบน้อมอะไรเลย
สละเสียแต่แรงทรัพย์อย่างเดียว
เนื้อหา
ขอฝากพุทธพจน์สุดท ้ายไว ้ให ้เป็น
สติปัญญา
เตือนใจว่า
จเช ธน องฺควรสฺส เหตุ
องฺค จเช ชีวิต รกฺขมาโน
องฺค ธน ชีวิตญฺจาปิ สพฺพ
จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต.
พึงสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ,
เมื่อรักษาชีวิตพึงสละอวัยวะ,
เมื่อคานึงถึงธรรม พึงสละอวัยวะ ทรัพย์ และแม ้ชีวิต
ทุกอย่าง.
เนื้อหา
• คือ ให ้สละทรัพย์ เพื่อแลกกับการไม่ต ้องเสีย อวัยวะ
เงินทองเท่าไหร่อย่าไปเสียดาย
แบบที่เราๆท่านๆทากันไง
• ป่ วยที ผ่าตัดที ทุ่มกันสุดตัว เป็นหนี้ก็ยอม
• อะละต่อมา
พึงสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต
ก็ยอมตัด ยอมปาด ไส ้บ ้าง
ตับบ ้าง ไตบ ้าง ตัดขาบ ้าง แขนบ ้าง
เพื่อให ้มีชีวิตรอด
เนื้อหา
พึงสละแม ้นทุกอย่าง เพื่อธรรมะ
คือสละยิ่งกว่าสละชีพ
• ยิ่งกว่ายอมตาย คือ อย่าไปยอมตายแบบเปล่า
ประโยชน์
แต่ให ้มุ่งมั่นใฝ่ ดี ทาความดี
• แม ้นว่าทุกอย่างจะต ้องสละลงไปหมด
• เพราะแน่นอน
ธรรมะ คือ การสละ สิ้นเสียซึ่ง ตัณหา
ก็ต ้องฝึกสละ
เนื้อหา
คุณสละแค่ ทรัพย์ เฉยๆ
• เป็นการสละสิ่งที่คุณไม่ได ้เดือดร ้อน อาทรร ้อนใจ
มากมายนัก
• แต่บางคนก็ทาด ้วยความไม่ฉลาด
สละทรัพย์ทาบุญจนเดือดร ้อน
หรือสละมาหน่อยก็เดือดร ้อนจะต ้องหาเงินหากาไรมา
ทาบุญ
ก็ทาไมต ้องไปทาบุญต่อที่สองครับ
เนื้อหา
บุญต่อหน้าต่อตาทาไมไม่ทา
• คิดทาโรงแรมเอาเงินมาสร ้างวิหาร
• เอ ้า คนจน คนพิการ คนแก่ ไม่มีบ ้านดีๆอยู่
ไปสร ้างให ้เค ้ามีศาลา มีเรือนนอนไม่ดีรึ
• คิดทาร ้านขายของเพื่อเอากาไรมาทาบุญ เอ ้า
เนื้อหา
งั้นคุณแจกของที่คิดจะขายเสียไม่
ดีรึ
• เห็นไหม ถ ้าเจอของจริง คาจริง คุณเริ่มชักกระตุก
เห็นเงาดาตะคุ่มๆในใจว่า อ ้อ จริงๆแล ้ว
เหมือนฉันเสียสละเงินเพื่อหาทุนทาบุญ
• เปล่าเลย ฉันยังอยากมีกาไรเพื่อเอามาประดับประดา
ตัวเองด ้วยส่วนนึง
ไม่ได ้หวังแค่ทาบุญ
• เพราะฉันยังสละอะไรไม่ได ้
สละรายได ้ไม่ลง
สละแฟนไม่ลง สละลูกไม่ได ้
สละหน้าที่การค ้า ธุรกิจไม่ได ้
เนื้อหา
เมื่อสละไม่ได ้ก็สุขบ ้าง ทุกข์บ ้าง
ดีใจบ ้าง
อิ่มบุญบ ้าง ทุกข์ใจบ ้าง เครียดบ ้าง
เป็นปกติ
• เพราะคุณมองเป็น
ทาเป็นแต่ความมี ความเป็น ความเกิด
ไม่มีก็ทาให ้มันมี ไม่เป็นก็ทาให ้มันเป็น
ไม่เกิดก็ทาให ้เกิดเรื่องจนได ้
• อันตรายใหญ่หลวงนะ
บุญอันแห ้งแล ้ง หรือ หาทุนมาเพื่อทาบุญ
มันไปเติมเอาฝั่ง โลภะ ละไม่ได ้สละอะไรเลย
จาคะ จะลดวูปๆ อย่างไม่รู้ตัว
• พิสูจน์จากอะไร
เนื้อหา
ให ้เงินขอทานห ้าร ้อย
• โหย ต ้องมาสืบสาแหรกเขาว่า เธอสุจริตแค่ไหน มา
จากไหน
เอาเงินฉันไปทาอะไร
• หย่อนห ้าร ้อยบาทลงตู้สาาาาาา ทู้ขอพร จบ หายกัน
ยิ้มกริ่ม สบายใจ
• ทาไมไม่ไปเช็คไปถามพระ ท่านเจ ้าขา เงินอิชั้น
ทาบุญไปห ้าร ้อย
ท่านจะเอาไปทาอะไร
ละท่านช่วยเทศน์สอนอิชั้นบ ้างได ้ไหม
• เอาเรื่องอื่นที่ไม่ใช่แค่ ทาบุญ ทาทาน ทาบุญ ทา
ทาน
ให ้ได ้สติ ปัญญา แก ้ปัญหาชีวิตได ้
เนื้อหา
จาไว ้ เพิ่มบุญยังไม่พอ
ยังต ้องเพิ่มความสละ คือ จาคะ ด ้วย
เพราะอะไร
เพราะ อริยทรัพย์ตามที่พระพุทธเจ ้าตรัสสอน
มีทั้งหมด เจ็ด ไอเท็ม ให ้ต ้องสะสมกัน คือ
1. ศรัทธา 2. ศีล 3. หิริ
4. โอตตัปปะ 5. พาหุสัจจะ
6. จาคะ 7. ปัญญา
เนื้อหา
อริยทรัพย์ คือ ทรัพย์ของพระอริยะ
หรือ ทรัพย์ของผู้ประเสริฐ ผู้ไกลทุกข์ไกลกิเลส
คือ สะสมแบบนี้แล ้ว
ไม่ต ้องมาสุขๆ ทุกข์ๆ
• แต่สะสมแต่เงินๆ ทาบุญด ้วยเงิน สร ้างๆกันหน้ามืด
อันนั้นก็เตรียมตัว สุขบ ้าง ทุกข์บ ้าง
• ทาบุญกอดเสาวัด ทาบุญเป็นจิ้งจกติดหน้าบัน
ทาบุญตีตราชื่อใส่เก ้าอี้ ใส่โต๊ะวัด
• เอ ้า จริงๆ ก็จิตมันผูกพันกับสิ่งของพวกนั้น
เนื้อหา
ไปวัดทีไรก็ไปดูหน่อยสิ
หน้าบันที่ชั้นเคยร่วมทา เจดีย์ที่
เคยร่วมก่อ
• ถ ้าไม่มีตัวปัญญาไปพิจารณาด ้วยสติ
ก็จะไปยึดติดว่า อร ้ายยยย วัดสกปรก
ปล่อยหน้าบันชั้น มีนกมีอึราดใส่
ปล่อยเก ้าอี้ที่ทาบุญนี่ขาหัก
• ต่อไป ชั้นจะไม่ทาบุญที่นี่แล ้ว พอกันที
• เอ๋า … ก็คุณเอาแต่จ่ายเงิน ไม่เคยมาดูความเป็นจริง
ของโลกไง
• ร ้ายกว่านั้น
คือพวกคิดว่า การทาบุญมีเฉพาะในเขตวัดหรือศาล
เจ้า
ถึงได ้บุญมาก
เนื้อหา
ผมถามสั้นๆกลับไปคิด นะครับ
• พระพุทธเจ ้าเรา
ท่านตรัสรู้ประสูติ บาเพ็ญเพียรภาวนา และ
ปรินิพพาน
ในวัด ในกาแพงวัด ในศาลา ในโบสถ์ แบบนั้นรึ
• งั้นถ ้าสมัยพุทธกาล
คุณเล็งแต่จะทาบุญในเขตกาแพงวัด
• เอ ้า พุทธกาลก็มีคนสร ้างวัดถวายละนะ
แปลว่าอะไรดีละ …
• ไม่ใช่ที่ทาไม่ดี ก็ดี
แต่วันนี้แนะนาสิ่งที่ดีกว่า
เนื้อหา
เสริม
ทองคือโลหะ โลหะ (ธาตุ) ไม่ใช่
แค่ทอง
• คนญี่ปุ่ นจะมีคาๆ หนึ่ง
คือ 黄金週間 [โอกงชูคัน]
黄金 [โอกง] นี่คือ สีทองที่เหลืองเปล่ง
ปลั่ง
ส่วน 週間 [ชูคัน] หมายถึง ระยะเวลาที่เป็นสัปดาห์
เนื้อหา
https://www.marumura.com/gold-in-japan-meaning/
คาว่า 黄金週間 [โอกงชูคัน]
• คนเรียนภาษาญี่ปุ่ น
อาจไม่คุ้นเคยคานี้มากนัก
• เพราะส่วนมากในงานเขียนนี้
ตามหน้านิตยสารหรือสื่อต่างๆ ส่วนใหญ่
ใช ้คาว่า Golden week เสียมากกว่า
เนื้อหา
โอกงชูคัน หรือ Golden week
จึงหมายถึง วันหยุดยาว
เนื้อหา
• ถ ้าอยากของไทยเรา
ก็คงเป็นช่วงสงกรานต์
• ของจีน คือ ช่วงวันแรงงาน
หรือ วันชาติจีน
• ซึ่ง ญี่ปุ่ น เอง
ก็มี “สัปดาห์ทอง” แบบนี้เช่นกัน
เนื้อหา
• แต่วันนี้
เราจะไม่ได ้มาคุยกันเรื่องวันหยุดยาว
เพราะสถานการณ์โควิดในช่วงนี้
ไม่หยุดก็เหมือนหยุด
• หลายที่เริ่มประกาศให ้ทางานจากบ ้าน
เรียนผ่านออนไลน์
เพื่อลดการรวมตัวกัน
และแพร่กระจายเจ ้าเชื้อวายร ้ายที่ติดง่าย
เสียยิ่งกว่าเหา
เนื้อหา
และสิ่งที่จะมาพูดถึงวันนี้
ก็คือ 金 [คิน] ทอง
• เหตุที่ทุกชนชาติ
เรียกวันหยุดยาว..ว่า..สัปดาห์ทอง
• ก็เพราะในสายตาของชาวโลก
ทองเป็นสิ่งมีค่าที่สุดในบรรดาโลหะธาตุ
• ความแวววาวอันทรงคุณค่าของทอง
ทาให ้มันถูกยกย่องให ้เป็นที่หนึ่งมาโดยตลอด
ในประวัติศาสตร์โลก
• ไม่ว่าสิ่งใดจะกลายเป็นสิ่งไร ้ค่าไป
แต่ทองคาจะยังคงเป็นสิ่งมีค่าต่อไป
เนื้อหา
เนื้อหา
พูดถึง “ทอง”
ก็นึกถึงตัวคันจิ 金 [คิน]
• ซึ่งญี่ปุ่ นเอง
ก็รับเอาความเชื่อ
เรื่องหยินหยางและธาตุทั้งห ้า
มาจากจีนเหมือนกัน
• ความเชื่อไม่ได ้ปรากฏอยู่แค่ในบันทึกต่างๆ
แต่ยังสะท ้อนผ่านออกมาในรูปแบบทันสมัย
เช่น การ์ตูน เกม ฯลฯ
ซึ่งมีจะมีตัวละคร
ที่มีพลังแห่งธาตุทอง
อยู่ในเรื่องด้วย
เนื้อหา
แต่อันที่จริง “ธาตุทอง”
เป็นคาที่คนรุ่นใหม่เข ้าใจ
คลาดเคลื่อน
• เนื่องด ้วยตัวอักษรที่ใช ้คือตัว 金
• ซึ่งอันที่จริง
อักษรตัวนี้
เป็นเพียงตัวแทนของธาตุโลหะ
• ซึ่งเป็นหนึ่งในห ้าธาตุ
ตามความเชื่อของชาวจีน
เนื้อหา
เหตุที่ทองได ้รับการยกย่อง
เป็นตัวแทนแห่งธาตุโลหะ
เนื้อหา
• ก็เพราะทองคา
เป็นสิ่งมีค่าสูงสุดในบรรดาโลหะธาตุที่กล่าวมา
• ซึ่งเดิมสีประจาธาตุต่างๆ ทั้ง 5 ธาตุ
จะประกอบไปด ้วย ไม ้ ไฟ ดิน ทอง และน้า
• สีแดง คือ ธาตุไฟ
สีเขียวคราม คือ ธาตุไม ้
สีเหลือง คือ ธาตุดิน
สีดา คือ ธาตุน้า
สีขาว คือ ธาตุโลหะ (ทอง)
สีและทิศประจาห ้าธาตุ
เนื้อหา
สามธาตุแรก
เนื้อหา
• เราคงพอนึกออกว่าทาไมถึงมีสีเหล่านั้น
เป็นสีประจาธาตุ
• แต่สาหรับธาตุน้าที่ใช ้สีดา
ก็เพราะว่าคนสมัยก่อน
หากมองลงไปยังก้นทะเล
เราจะมองไม่เห็นสีอะไร
นอกจากสีดา
และสาหรับธาตุโลหะ
ที่มีสีขาว
เป็นสีประจาธาตุ
เนื้อหา
• ก็เพราะคนโบราณ
ถือเอาประกายแวววาวที่เปล่งแสงสีขาว
มาเป็นตัวแทนสีธาตุโลหะ
• ต่างกับ
คนยุคปัจจุบัน
ที่เข้าใจว่าธาตุโลหะคือธาตุทอง
และสีประจาธาตุทอง
ต้องเป็ นสีเหลือง
ใครที่ชอบเล่นเกมหรืออ่านการ์ตูน
คงจะเคยผ่านตา
เรื่องสัตว์จตุรสัตว์เทพ
ที่คุ้มครองทิศทั้งสี่
• หนึ่งในเทพทั้งสี่ที่ประจาอยู่ในทิศตะวันตก
ก็คือเทพเสือขาว
และเทพองค์นั้น
ก็คือตัวแทนของธาตุโลหะ
หรือ ธาตุทอง
อย่างที่คนส่วนมากเข ้าใจกัน
เนื้อหา
จตุรสัตว์เทพประจาทิศทั้งสี่
เนื้อหา
ดังนั้น ทอง แม ้จะเป็นโลหะ
แต่โลหะธาตุไม่ใช่แค่ทอง
เนื้อหา
• แต่ใครจะสะดวกเรียก ธาตุทอง
ตามความเคยชิน
ก็ไม่มีใครว่าอะไร
• แต่การรู ้ถึงที่มาที่ไป
ก็จะทาให้เราเข้าใจอะไรได้ลึกซึ้ง
มากกว่าคนอื่น
ไปอีกขั้น
เสริม
คุณคือคนธาตุใด
ทางานอะไรแล้วรวยเฮง!
เนื้อหา
• หากพูดถึงประโยชน์
ของการที่รู้ว่า
ตัวเองเป็นคนธาตุใดแล ้วนั้น
• เราก็จะสามารถนาตรงนี้
ไปปรับใช ้กับเรื่องต่างๆ ชีวิตประจาวันได ้
เช่น เลือกทานอาหาร
ที่เสริมธาตุหลักของตนเอง
https://www.sanook.com/horoscope/163269/
ส่วนหัวข ้อที่จะพูดถึงในวันนี้
ก็คือ "เรื่องงานที่เหมาะสมกับคน
แต่ละธาตุ"
• ตามหลักฮวงจุ้ย
จะแบ่งคนออกเป็น 5 ธาตุ
ได ้แก่ ไม้ ไฟ ดิน ทอง และน้า
• สามารถคานวณตามหลักโหราศาสตร์จีน
ได ้ว่าใครเป็นธาตุอะไร
• ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัน เดือน ปี และเวลาตกฟากของแต่ละ
คน
• ผูกดวงชะตา
ได ้ที่เว็บไซด์ https://www.mingli.info/bazi
เนื้อหา
เนื้อหา
คนธาตุไม้
เนื้อหา
คนธาตุไม้
• มีลักษณะนิสัยใจดี แต่ก็แอบโกรธง่าย
• ไม่ชอบระเบียบแบบแผน
• มีสเน่ห์ มีเมตตา ขี้สงสาร
• ขยัน มุ่งมั่น กระตือรือร ้น หนักแน่น รักศักดิ์ศรี
(ออกแนวดื้อ เชื่อมั่นในตัวเองพอควร)
• มีคุณธรรมศีลธรรม
• รักสงบ ไม่ชอบทะเลาะกับใคร
เนื้อหา
มีลักษณะนิสัยใจดี
แต่ก็แอบโกรธง่าย
เนื้อหา
ไม่ชอบระเบียบแบบแผน
เนื้อหา
ไม่ชอบระเบียบแบบแผน
มีสเน่ห์ มีเมตตา ขี้สงสาร
เนื้อหา
เชื่อมั่นในตัวเองพอควร
เนื้อหา
เชื่อมั่นในตัวเองพอควร
เนื้อหา
งานที่เหมาะสม: งานที่มี
บรรยากาศเป็นอิสระ
• ได ้แสดงความคิดเห็นแบบไม่ถูกตีกรอบ
• ค ้นคว ้าหาสิ่งใหม่หรือนวัตกรรมใหม่อยู่เสมอ
• อาทิ อาชีพทางวิชาการอย่างนักการศึกษา
นักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์,
อาชีพด ้านจิตรกรรม สถาปัตยกรรมหรือโบราณคดี,
ครีเอทีฟ, ศิลปิน
เนื้อหา
เนื้อหา
คนธาตุไม ้ที่มีธาตุแข็ง
ควรทางานร่วมกับคนธาตุดิน
• จะช่วยให ้มีความกล ้าเสี่ยง กล ้าลงทุน
เพิ่มโอกาสทางธุรกิจและโชคลาภ
เนื้อหา
คนธาตุไม ้ที่มีธาตุแข็ง
ควรทางานร่วมกับคนธาตุดิน
เนื้อหา
ส่วนคนธาตุไม ้ที่มีธาตุอ่อน
ไม่ควรทางานร่วมกับคนธาตุทอง
• เพราะคนธาตุทอง
มักชอบเอาตนเองเป็นศูนย์กลาง
(เป็นคนสาคัญ)
ซึ่งจะขัดกับความรู้สึกของคนธาตุไม ้
• แต่หากเลี่ยงไม่ได ้
แนะนาให ้พกหินหยกติดตัวเอาไว ้
เนื้อหา
ส่วนคนธาตุไม ้ที่มีธาตุอ่อน
ไม่ควรทางานร่วมกับคนธาตุทอง
เนื้อหา
แถวที่ 1 อ่านจากขวามือคือหลักปี
年柱 หนี่เถียว
เสริ
ม
แถวที่ 1 หลักปี
เสริ
ม
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx

Contenu connexe

Similaire à พื้นฐานชีวิต 41.pptx

พื้นฐานชีวิต 11.pptx
พื้นฐานชีวิต 11.pptxพื้นฐานชีวิต 11.pptx
พื้นฐานชีวิต 11.pptxSunnyStrong
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยAchara Sritavarit
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขniralai
 
พื้นฐานชีวิต 9.pptx
พื้นฐานชีวิต 9.pptxพื้นฐานชีวิต 9.pptx
พื้นฐานชีวิต 9.pptxSunnyStrong
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยPadvee Academy
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 

Similaire à พื้นฐานชีวิต 41.pptx (20)

พื้นฐานชีวิต 11.pptx
พื้นฐานชีวิต 11.pptxพื้นฐานชีวิต 11.pptx
พื้นฐานชีวิต 11.pptx
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
พื้นฐานชีวิต 9.pptx
พื้นฐานชีวิต 9.pptxพื้นฐานชีวิต 9.pptx
พื้นฐานชีวิต 9.pptx
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 

Plus de SunnyStrong

คุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docxคุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docxSunnyStrong
 
คุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docxคุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docxSunnyStrong
 
คุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docxคุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docxSunnyStrong
 
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docxSunnyStrong
 
7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docxSunnyStrong
 
คุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docxคุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docxSunnyStrong
 
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docxThe Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docxSunnyStrong
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxSunnyStrong
 
100 words for people.docx
100 words for people.docx100 words for people.docx
100 words for people.docxSunnyStrong
 
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxSunnyStrong
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxSunnyStrong
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxSunnyStrong
 
ฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxSunnyStrong
 
ฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxSunnyStrong
 
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxSunnyStrong
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxSunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxพื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxSunnyStrong
 

Plus de SunnyStrong (20)

คุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docxคุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docx
 
คุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docxคุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docx
 
คุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docxคุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docx
 
Austria.docx
Austria.docxAustria.docx
Austria.docx
 
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
 
7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx
 
คุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docxคุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docx
 
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docxThe Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
 
12 Poems.docx
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
 
12 Poems.docx
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
 
100 words for people.docx
100 words for people.docx100 words for people.docx
100 words for people.docx
 
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
 
ฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docx
 
ฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docx
 
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
 
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxพื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
 

พื้นฐานชีวิต 41.pptx