SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
Télécharger pour lire hors ligne
คู่มือ
การป้องกันและระงับอัคคีภัย
บริษัท วายเอ็มพี เพรส แอนด์ ดายส์ (ไทยแลนด์) จากัด
700/153 หมู่ 1 ต.บ้านเก่า อ.พานทอง จ.ชลบุรี 20160
เขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โทร : 038-214051-4, 038-458262-7
ไฟ คือ ปฏิกิริยาการเติมออกซิเจนของสารใดสารหนึ่ง ซึ่งเป็นปฏิกิริยาเคมี
แล้วทาให้เกิดการเผาไหม้ควัน ความร้อน แสง ไอน้า และอื่นๆ ตามมา
• สร้างความเสียหายแก่ชีวิต • สร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สิน
• สร้างความเสียหายแก่สิ่งแวดล้อม
ความสูญเสียที่เกิดจากไฟ
การป้องกันและระงับอัคคีภัย
2
บันทึก
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
…………………………………………………………….
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
…………………………………………………………….
27
26
บันทึก
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
…………………………………………………………….
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
3
1. เกิดจากไฟฟ้ า 23% 10. เกิดจากการปล่อยปละละเลย 3%
2. เกิดจากการสูบบุหรี่ 18% 11. เกิดจากการลอบวางเพลิง 3%
3. เกิดจากการเสียดสี 10 12. เกิดจากการสปาร์คของเครื่องจักรกล 2%
4. เกิดจากความร้อนจัด 8% 13. เกิดจากการหลอมโลหะ 2%
5. เกิดจากผิวโลหะร้อน 7% 14. เกิดจากปฏิกิริยาเคมี 1%
6. เกิดจากเปลวไฟ 7% 15. เกิดจากฟ้ าผ่า 1%
7. เกิดจากประกายไฟ 5% 16. เกิดจากไฟฟ้ าสถิต 1%
8. เกิดจากลุกติดไฟขึ้นเอง 4% 17. เกิดจากสาเหตุอื่นๆ 1%
9. เกิดจากการตัดหรือเชื่อม 4%
การสันดาปหรือการเผาไหม้ (COMBUSTION)
คือ ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของเชื้อเพลิงกับออกซิเจน ซึ่งเป็นผลให้
เกิดความร้อนและแสงสว่าง กับสภาพการเปลี่ยนแปลงทฤษฎีการเกิดไฟ
ไฟเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
แหล่งที่เกิดเพลิงไหม้ (IGNITION SOURCES)
4
★เชื้อเพลิง มีด้วยกันอยู่ 3 สถานะ แต่เชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งและ
ของเหลวต้องได้รับความร้อนถึงจุด จุดหนึ่งซึ่งเรียกว่า จุดวาบไฟหรือจุด
คายไอ ซึ่งหมายถึงเชื้อเพลิงอยู่ในสถานะเป็นไอหรือเป็นก๊าซนั้นเอง
และพร้อมที่จุดติดเป็นไฟ
★ออกซิเจน ที่อยู่ในบรรยากาศมีอยู่ 21 % แต่ออกซิเจนที่ใช้ในการจุดติด
ของไฟต้องมีอยู่ในบรรยากาศ ไม่ต่ากว่า 16% จึงจะทาให้เกิดการจุดติด
ขึ้นได้
★ความร้อน หมายถึง ความร้อนที่ไปยกอุณหภูมิจากจุดวาบไฟให้ถึง จุดติด
ไฟ
องค์ประกอบของไฟ (Fire Triangle)
25
24
5
คือ ภยันตรายที่เกิดจากไฟจนเกินการควบคุมสร้างความ
เสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินทั้งของประชาชน ทางราชการ
รวมทั้งสภาพแวดล้อม
องค์ประกอบของอัคคีภัย มีด้วยกัน 4 อย่าง คือ
★เชื้อเพลิง หมายถึง สารใดๆ ที่สามารถจุดติดเป็นไฟได้ มี
ด้วยกันอยู่ 3 สถานะ แต่เชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งและ
ของเหลวต้องได้รับความร้อนถึงจุด จุดหนึ่งซึ่งเรียกว่า จุดวาบ
ไฟหรือจุดคลายไอ ซึ่งหมายถึงเชื้อเพลิงอยู่ในสถานะเป็นไอ
หรือเป็นก๊าซนั้นเองและพร้อมที่จุดติดเป็นไฟ
★ออกซิเจน หมายถึง ที่อยู่ในบรรยากาศมีอยู่ 21 % แต่ออกซิเจน
ที่ใช้ในการจุดติดของไฟต้องมีอยู่ในบรรยากาศ ไม่ต่ากว่า
16% จึงจะทาให้เกิดการจุดติดขึ้นได้
★ความร้อน หมายถึง ความร้อนที่ไปยกอุณหภูมิจาก จุดวาบไฟ
ให้ถึง จุดติดไฟ
★ปฏิกิริยาลูกโซ่ หมายถึง การติดต่อลุกลาม ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ
โดยไม่มีจุดสิ้นสุดมีลักษณะเหมือนลูกโซ่
อัคคีภัย
6
เมื่อเกิดไฟขึ้นและมีการเกิดอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 อย่าง เรียกว่า ? ปฏิกิริยาลูกโซ่
“ปฏิกิริยาลูกโซ่ ทฤษฎีปีรามิดของไฟ”
(TETRAHEDRON)
23
1. หลุดออกขนาดไม่เกิน 2-3 ฝ่ามือ
„ ถ้าเกิดตามตัว ให้ทาความสะอาดด้วยน้าเกลือนอร์มัลหรือน้าต้มสุก ถ้า
แผลสกปรกมากอาจใช้สบู่เด็กฟอกทาความสะอาด แล้วทาด้วยยารักษา
แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก หรือน้าปูนใสผสมน้ามะพร้าว หรือใช้วุ้นว่าน
หางจระเข้ทาวันละ 1-2 ครั้ง
„ ถ้าเป็นที่แขนหรือขา ยกส่วนที่เป็นแผลให้สูงกว่าระดับหัวใจ ถ้ามี
อาการปวดให้กินยาแก้ปวด แล้วรีบพาไปพบแพทย์เพื่อพิจารณาฉีดยา
ป้ องกันบาดทะยักและใช้ยาปฏิชีวนะ
22
1. ไฟไหม้ให้เร็วที่สุด
2. นาผู้ป่วยวางลงในที่อากาศโปร่งถ่ายเทได้สะดวก คลายเสื้อผ้า
เครื่องนุ่งห่มของผู้ป่วยให้หลวมสบาย
3. กรณีที่ผู้ป่วยหมดสติหรือหยุดหายใจให้รีบช่วยหายใจทันทีด้วยวิธี
การเป่าลมเข้าปาก หรือวิธีการเป่าลมเข้าปากสลับกับการนวดหัวใจ
ทั้งให้พิจารณาตามสภาพของผู้ป่วยว่าชีพจรยังเต้นอยู่หรือไม่
ผู้ป่ วยที่โดนไฟลวก
2. ให้ใช้ผ้าชุบน้าเย็นหรือใช้ถุงพลาสติกสะอาดใส่น้าแข็งวางตรง
บริเวณที่ถูกไฟลวกหรือแช่บริเวณที่ถูกไฟลวกในน้าเย็นที่สะอาด
เพื่อลดอาการปวดแสบปวดร้อน และลดอาการอักเสบ จนอาการดี
ขึ้นแล้ว (ประมาณ 10-30 นาที) จึงตรวจดูผิวหนัง
3. ถ้าหนังไม่พุพองหรือหลุดออก ให้ล้างแผลให้สะอาด ซับให้แห้ง
แล้วทาด้วยครีมเพล็ดนิซิโลน หรือครีมไตรแอมซิโนโลนบางๆ หรือ
ใช้น้าปูนใสผสมน้ามะพร้าว (อย่างละเท่ากันตีให้เข้ากัน) ทาหรือใช้
วุ้นว่านหางจระเข้ทา
4. ถ้าเป็นตุ่มพองเล็กน้อย ให้ปฏิบัติดังนี้
• ถ้าเกิดตุ่มพองเล็กน้อยที่ฝ่ามือ ให้ล้างให้สะอาด ไม่ควรเจาะน้าออก
จากตุ่มเอง ควรปล่อยให้แห้งและหลุดล่อนไปเอง
• ถ้าเกิดตุ่มพองเล็กน้อยที่แขนขา หลังมือหรือหลังเท้า ให้ทาความ
สะอาดด้วยน้าสบู่ ใช้เข็มที่แช่แอลกอฮอล์เจาะน้าในตุ่มพองออก ใช้ผ้าพัน
แผนที่สะอาดกดซับน้าเหลือง แล้วทาแผลด้วยทิงเจอร์ใส่แผลสด หรือน้ายา
โพวิดีน-ไอโอดีน แล้วพันด้วยผ้าพันแผลให้แน่น
7
มาตรฐานสากล ที่เรานามาใช้ คือ NFPA (National Fire Protection Association) ของ
ประเทศสหรัฐอเมริกา (ที่ประเทศไทยเราใช้อยู่ในปัจจุบัน)
ประเภท ชนิดเชื้อเพลิง สัญลักษณ์ รูปภาพ
A (เอ)
ไฟที่เกิดจากการเผาไหม้
เชื้อเพลิง ชนิดธรรมดา เช่น
กระดาษ ผ้า หญ้า ฟาง ไม้
สามารถดับด้วยน้าได้
เครื่องหมาย
สามเหลี่ยม พื้นสีเขียว
ตัวอักษร A สีดา
B (บี)
ไฟที่เกิดจาการเผาไหม้เชื้อเพลิง
ชนิดของเหลว เช่น น้ามัน ไข
ข้น ทินเนอร์ แอลกอฮอล์
ดับเพลิงทาได้โดยทาให้
ออกซิเจนต่ากว่า 16% ซึ่งเป็น
การดับเพลิงที่ดีที่สุด
เครื่องหมาย สี่เหลี่ยม
พื้นสีแดง ตัวอักษร B
สีดา
C (ซี)
ไฟที่เกิดจากการเผาไหม้
อุปกรณ์ที่มีกระแสไฟฟ้าไหล
อยู่ เกิดจาก 3 ลักษณะคือ การ
ลัดวงจร การต่อเชื่อม การใช้
ไฟเกินขนาด ดับเพลิงทาได้
โดยตัดกระแสไฟฟ้าก่อนทา
การดับเพลิง
เครื่องหมายวงกลม
พื้นสีฟ้า ตัวอักษร C
สีดา การแบ่งประเภท
ของเชื้อเพลิง
D (ดี)
ไฟที่เกิดจากการเผาไหม้โลหะ
หรือสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะมี
อุณหภูมิสูงห้ามใช้น้าทาการ
ดับเพลิง ดับเพลิงที่มี
เครื่องหมายของไฟประเภท D
อยู่ หรือใช้ทรายที่แห้ง
เครื่องหมายรูปดาว
พื้นสีเหลือง ตัวอักษร
D สีดา
8
★ความมืด ซึ่งเกิดจากกลุ่มควัน และจากเปลวไฟ ที่ทาให้เกิดการ
ปิดกั้นสายตาไม่สามารถมองทะลุผ่านไปได้
★ความร้อน ซึ่งเกิดจากอุณหภูมิที่แฝง ที่อยู่ในกลุ่มควันหรือใน
เชื้อเพลิง ซึ่งเกิดการคายไอ และพร้อมที่จะจุดติดไฟ
★ไอและควัน ซึ่งเกิดจาการคายไอของเชื้อเพลิง ควันบางอย่างจัดเป็น
ควันพิษและเกิดภาวะการขาดออกซิเจนในขณะนั้น
★เวลา ซึ่งในที่นี้หมายถึงเวลาที่ใช้ในการหนีไฟ จะทาการดับเพลิง
หรือหนีไฟมีโอกาสเพียง 2 นาที
แบ่งออกเป็น 4 อย่าง
★กาจัดเชื้อเพลิง หมายถึง ทาให้เชื้อเพลิงเกิดการกระจัดกระจาย
ไม่สามารถ รวมตัวกันมีความหนาแน่นพอ ทาให้เกิดการจุดติดไฟ
ได้หรือกาจัดในส่วนที่ยังไม่ได้ไหม้ออกไปจากปฏิกิริยา
★กาจัดออกซิเจน หมายถึง ทาให้ออกซิเจนที่จะไปรวมตัวกับ
ปฏิกิริยาของเพลิง ไหม้ให้ต่ากว่า 16 % ในบรรยากาศ
★กาจัดความร้อน หมายถึง ลดอุณหภูมิ ของเชื้อเพลิงให้ต่ากว่าจุดติด
ไฟ จะทาให้เปลวไฟดับลง และเมื่อลดอุณหภูมิให้ต่ากว่าจุดคายไอ
ก็จะทาให้ไม่มีควัน
การดับเพลิง
ขณะเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดสิ่งต่อไปนี้
21
ตั้งสติไม่ตื่นเต้น จนเกินไปดูให้รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นแจ้งให้ผู้อื่นทราบ
ตรวจสอบเป็นไฟประเภทใด เพื่อทาการดับเพลิงได้อย่างถูกวิธี เลือกเครื่อง
ดับเพลิงที่เหมาะสมในการดับไฟ และทาการดับเพลิงขั้นต้น ติดต่อ หรือ โทร
แจ้งเจ้าหน้าที่ดับเพลิงเข้าสนับสนุนการดับเพลิง ออกจากที่เกิดเหตุ และไม่
กลับเข้าไปอีก
★จัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถานที่ทางาน
★การตรวจตราพร้อมซ่อมบารุงเครื่องจักร
★ตรวจสอบสภาพถังแก๊สหรือวัสดุอื่นที่อาจก่อให้เกิดการระเบิด
★ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย
★ให้ความร่วมมือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
ผู้ป่ วยที่สาลักควันไฟ
• ผู้ที่สาลักควันไฟจะรู้สึกมึนงง เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หายใจไม่ออก
แสบตา และอาจเป็นลม หมดสติ เสียชีวิตได้ขั้นตอนการปฐมพยาบาล ให้
ปฏิบัติดังต่อไปนี้
รีบนาผู้ป่วยออกจากจุดเกิดเหตุสาลักควันหรือจากสถานที่มีเหตุการณ์
หลักแห่งความปลอดภัย
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ทาอย่างไรเมื่อเกิดเพลิงไหม้
20
3. สัญญาณเบาน้า
เหยียดแขนออกไปด้านข้างขนานกับ
พื้นคว่ามือแล้วโบกขึ้นลงให้เป็นมุม
กว้าง
4. สัญญาณตัดน้าชั่วคราว
ยกมือซ้ายหรือขวาเหยียดตรงเหนือ
ศีรษะ หันฝ่ามือไปทางผู้รับสัญญาณ
ยกมือขวา หรือซ้ายระดับอก คว่ามือ
สับแขนเข้า-ออกจากหน้าอกไป
ด้านหน้าหลายครั้ง
5. สัญญาณยกเลิกเก็บสาย
ยกแขนกามือทั้ง 2 ข้าง ยกขึ้นเหนือ
ศีรษะไว้เป็นรูปกากบาท
9
★ปฏิกิริยาลูกโซ่ หมายถึง ตัดการติดต่อลุกลามหรือนาสารเคมี
บางอย่าง บางชนิด เข้าไปแทรกในปฏิกิริยาทาให้เชื้อเพลิง
ออกซิเจน และความร้อน ไม่สามารถรวมตัวเป็นองค์ประกอบของ
ไฟได้
“เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้”
หมายถึง เครื่องดับเพลิงซึ่งมีลักษณะเป็นอุปกรณ์ที่เคลื่อนย้ายได้โดยสะดวก
และใช้งานด้วยมือ ภายในบรรจุสารดับเพลิงซึ่งสามารถขับออกได้โดยใช้
แรงดัน เช่น เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ แบบยกหิ้ว แบบลากเข็น
หรือลักษณะอื่นใดที่คล้ายกัน
ชนิดของถังดับเพลิง รูปภาพ
ชนิดผงเคมีแห้ง (Dry Chemical)
สามารถดับไฟได้เกือบทุกประเภท A B C
ยกเว้น CLASS K ราคาถูก
ชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
สารเคมีภายในบรรจุก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
จะเป็นไอเย็นจัด ลดความร้อนของไฟได้ไม่ทิ้ง
คราบสกปรก สามารถดับไฟได้ประเภท B C
เหมาะสาหรับการใช้งานในห้องเครื่องจักร
Line การผลิต อุตสาหกรรมอาหาร
ประเภทของถังดับเพลิง
10
ชนิดของถังดับเพลิง รูปภาพ
ชนิดสารสารสะอาด หรือ ฮาโลตรอนวัน
สารเคมีภายในบรรจุก๊าซ Halotron-1 เมื่อฉีด
แล้วจะระเหยไปเอง ไม่ทิ้งคราบสกปรก
สามารถดับไฟได้ทุกประเภท A B C เหมาะ
สาหรับการใช้งานในห้องคอมพิวเตอร์ คลีนรูม
ไลน์การผลิต ห้องไฟฟ้า ห้องเก็บอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์
ชนิดโฟม
สารเคมีภายในบรรจุโฟม เมื่อฉีดออกมาจะเป็น
ฟองโฟมคลุมผิวเชื้อเพลิงที่ลุกไหม้จึงสามารถ
ดับไฟได้ประเภท A B แต่ไม่สามารถนาไปดับ
ไฟประเภท C
อุปกรณ์ดับเพลิงชนิดน้าสะสมแรงดัน (water)
เครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุน้าธรรมดา ภายใน
บรรจุน้าธรรมดา อาศัยแรงดันของก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ หรือไนโตรเจนที่อัดใช้ใน
กระบอกโลหะ ใช้ดับเพลิงธรรมดา เช่น ไม้
ถ่าน กระดาษ เสื้อผ้า อาคารบ้านเรือน ใช้ดับไฟ
ประเภท A
19
5. ท่าปลดข้อต่อ
ลักษณะท่าปลดข้อต่อ จะต่อเนื่องมาจาก ท่าต่อหัวข้อต่อ
คาบอก-คาสั่ง “ปลดข้อต่อ ‟ ทา” (ปลดข้อต่อ ‟ คาบอก / ทา ‟
คาสั่ง)
การปฏิบัติ เมื่อได้ยินคาสั่งว่า “ทา” ให้ยกขาคร่อมสายส่งน้าฯ ใช้
หัวเข่าทั้งสองข้างหนีบหัวข้อต่อตัวผู้ไว้ให้แน่นแข็งแรง เท้าตรึงกับที่ ก้มลง
เล็กน้อยใช้กาลังมือจับหูข้อต่อตัวเมียทั้งสองข้าง แล้วถ่างและดันออกจากข้อ
ต่อตัวผู้ผู้ที่ทาหน้าที่ในการดับเพลิง จะต้องได้รับการฝึกฝนมาจึงจะใช้สายส่ง
น้าดับเพลิงชนิดต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในขั้นตอนการใช้อุปกรณ์
เหล่านี้จะต้องมีสื่อสัญญาณมือเพื่อควบคุมน้าในการดับเพลิง
รูปแบบสัญญาณ รูปภาพ
1. สัญญาณเปิดน้า
ยกมือ(ข้างใดข้างหนึ่ง) ขึ้นเหยียดตรง
ให้สุดแขน หันฝ่ามือไปทางผู้รับ
สัญญาณ
2. สัญญาณเร่งน้า
กามือตั้งตรงด้านข้าง ยกขึ้นลงใน
แนวดิ่ง
สัญญาณมือเพื่อควบคุมน้าดับเพลิง
18
4. ท่าสวม (ต่อ) ข้อต่อ
คาบอก-คาสั่ง “สวม(ต่อ)ข้อต่อ ‟ ทา” ( สวมข้อต่อ ‟ คาบอก / ทา ‟
คาสั่ง )
การปฏิบัติ ต่อเนื่องจากการวิ่งคลี่สายออกจนสุด
★อยู่ในลักษณะท่ายืน โดยก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าประมาณ 1
ก้าว ย่อเข่าซ้ายลงเล็กน้อย และให้ขาขวาเหยียดตรึงไป
ด้านหลัง
★มือซ้ายจับที่หัวข้อต่อตัวเมีย ในลักษณะหงายฝ่ามือและหัน
ข้อต่อเข้าหาตัว เหยียดแขนซ้ายให้ตรึงโดย ใช้หลังมือวางไว้
บนหัวเข่าซ้าย
★มือขวาจับข้อต่อตัวผู้ในลักษณะจับกาคว่ามือและหัน
ออก พร้อมต่อข้อต่อทันที หลังคาบอก-คาสั่ง“สวมข้อต่อ-
ทา”
11
สายดับเพลิง (FIRE HOSE)
★ HOSE REEL
★ HOSE RACK
ข้อต่อดับเพลิง (COUPLING)
★ ข้อต่อสวมเร็ว
★ ข้อแยกทางส่งน้า 2 ทาง
หัวฉีดดับเพลิง (NOZZLE)
★ JET NOZZLE หัวฉีดน้า
ดับเพลิงชนิดใช้ฉีดน้าเป็นลาตรง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการดับเพลิง
12
★ FOAM NOZZLE หัวฉีดน้า
ยาโฟม
★ FOG NOZZLE หัวฉีดด้าม
ปืน
หัวจ่ายน้าดับเพลิง (HYDRANT)
★ FIRE HYDRANT
17
3. ท่าส่งข้อต่อ
(เพื่อวิ่งสาย) ลักษณะของท่าส่งข้อต่อ คือ กาลังอยู่ในท่าแบกสาย
คาบอก-คาสั่ง “ ส่งข้อต่อ ‟ ทา ”
การปฏิบัติ มี 3 ขั้นตอน
3.1 จังหวะ 1 เมื่อได้ยินคาสั่งว่า “ทา” ให้ทาตามจังหวะของข้อ 2.1 ( พร้อม
นับ…1)
3.2 จังหวะ 2 นั่งชันเข่า วางสายไว้ด้านหน้าตาแหน่งเดิม ใช้มือขวาบิดสายส่ง
น้า ให้ข้อต่อตัวผู้หันออกไปด้านหน้า (พร้อมนับ…2)
3.3 จังหวะ 3 ใช้มือซ้ายจับกุมที่หูข้อต่อตัวเมีย มือขวาจับข้อต่อตัวผู้และ
ส่งไปให้เพื่อนที่รอรับอยู่ด้านขวามือพร้อมกับพูดดังๆว่า “ ข้อต่อ ” ( แทนการ
นับ 3 ) จากนั้นเพื่อนที่อยู่ด้านหลัง จะเข้ารับข้อต่อตัวผู้ทางด้านขวาของคน
ส่ง และใช้เท้าขวาเหยียบสายไว้เพื่อกันไม่ให้สายหลุด มือเพื่อนที่อยู่ด้านหน้า
จะยกสายส่งน้าขึ้นทั้ง 2 มือในลักษณะจับกุมไม่ใช่เสียบนิ้วโป้ งและนิ้วชี้แบบ
ท่าแบกสาย) ยกขึ้นระดับหน้าอก กางข้อศอกทั้ง 2 ข้างออกพร้อมวิ่งสาย(คลี่
สาย) วิ่งไปด้านหน้า โดยให้สายน้าฯอยู่ด้านขวา ( จะไม่วิ่งลอมสายเด็ดขาด)
16
2. ท่าวางสาย
ลักษณะของท่าวางสาย คือกาลังอยู่ในท่าแบกสาย
คาบอก-คาสั่ง “ วางสาย ‟ ทา ” ( วางสาย ‟ คาบอก / ทา ‟ คาสั่ง )
การปฏิบัติ ท่านี้มี 3 จังหวะ
2.1 จังหวะ 1 เมื่อได้ยินคาสั่งว่า “ทา” สิ้นสุดลงให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า
ประมาณ 1 ก้าว พร้อมยกมือซ้ายจับหูข้อต่อตัวเมียในลักษณะแบบมือให้หูข้อ
ต่ออยู่ระหว่างนิ้วโป้ งและนิ้วชี้ ร่างกายอยู่ในลักษณะตรง (พร้อมกับนับ…1)
2.2 จังหวะ 2 ย่อตัวลงนั่งชันเข่า วางสายไว้ด้านหน้าตาแหน่งเดิม แล้วลุกขึ้น
ยืนตรง (พร้อมนับ…2)
2.3 จังหวะ 3 ชักเท้าซ้ายชิดเท้าขวา อยู่ในลักษณะท่าตรงอย่างรวดเร็ว และ
แข็งแรง (พร้อมนับ…3)
13
ประกอบไปด้วย
★เสื้อดับเพลิงคลุมถึงเข่า ตะขอสับ (สีเหลือง,สีส้ม) มีแถบสะท้อนแสง
หน้า-หลัง (แบบ1) หรือ
★เสื้อดับเพลิงพร้อมกางเกงดับเพลิงสีส้ม มีแถบสะท้อนแสงหน้า-หลัง
(แบบ2)
★หมวกไฟเบอร์กล๊าสสีดา มีหงอยกันกระแทก
★ถุงมือหนังมีบุชั้นใน ปลายแขนเย็บขอบเรียบร้อยสวยงาม
★รองเท้าบู๊ท พื้นเหล็ก หัวเหล็ก
★วิทยุสื่อสาร
การแต่งกายของนักดับเพลิง
14
1. ท่าแบกสาย
คาบอก-คาสั่ง “ แบกสาย ‟ ทา “ ( แบกสาย ‟ คาบอก / ทา ‟ คาสั่ง )
การปฏิบัติ ท่านี้มี 3 จังหวะ ( โดยเริ่มให้ทาปิดจังหวะทีละ
ขั้นตอน นับ 1..,2…, 3…ก่อนเมื่อเห็นว่าคล่องแล้ว
จึงให้ทาเปิดจังหวะนับต่อเนื่อง)
1.1 จังหวะ 1 เมื่อได้ยินคาสั่งว่า “ทา” สิ้นสุดลง ให้
ก้าวเท้าซ้ายไป ข้างหน้าประมาณ 1 ก้าว อย่าง
รวดเร็ว แข็งแรงร่างกายยังคงอยู่ในลักษณะตรง
1.2 จังหวะ 2 ให้ย่อคัวลงนั่งชันเข่า มือทั้งสองข้าง
จับสายส่งน้าดับเพลิง ในลักษณะแบมือให้หูข้อต่อ
ตัวเมียอยู่ระหว่างนิ้วโป้ งและนิ้วชี้ จากนั้นให้ลุก
ขึ้นยืน พร้อมแบกสายวางไว้บนบ่า
ด้านขวา ร่างกายอยู่ในลักษณะ ตรง( พร้อม
นับ…2 )
การใช้สายส่งน้าดับเพลิง
15
1.3 จังหวะ 3 ให้ลดมือซ้ายเฉียดลาตัวลง พร้อมชัก
เท้าซ้ายชิดกับเท้าขวาในท่าตรงอย่างรวดเร็ว และ
แข็งแรง(พร้อมนับ…3 )

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
Coverslide Bio
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
nik2529
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
Jariya Jaiyot
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
Jariya Jaiyot
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
Wijitta DevilTeacher
 

Tendances (20)

สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 

En vedette

คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
Pongsatorn Sirisakorn
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
Pongsatorn Sirisakorn
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
Viam Manufacturing
 
Stm2 tc3 tc4 scope of work part 3
Stm2 tc3 tc4 scope of work part 3Stm2 tc3 tc4 scope of work part 3
Stm2 tc3 tc4 scope of work part 3
Kosin Tossanaithada
 
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
Peerapong Veluwanaruk
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
NeeNak Revo
 

En vedette (14)

การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง
 
ดับเพลิง
ดับเพลิงดับเพลิง
ดับเพลิง
 
แผนอพยพหนีไฟ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
แผนอพยพหนีไฟ  คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.แผนอพยพหนีไฟ  คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
แผนอพยพหนีไฟ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
 
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
 
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงานคู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
 
Fire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & CodesFire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & Codes
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 
Stm2 tc3 tc4 scope of work part 3
Stm2 tc3 tc4 scope of work part 3Stm2 tc3 tc4 scope of work part 3
Stm2 tc3 tc4 scope of work part 3
 
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการการประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
 
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัย
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of WorkTEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
 

คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย

  • 1.
  • 2. คู่มือ การป้องกันและระงับอัคคีภัย บริษัท วายเอ็มพี เพรส แอนด์ ดายส์ (ไทยแลนด์) จากัด 700/153 หมู่ 1 ต.บ้านเก่า อ.พานทอง จ.ชลบุรี 20160 เขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โทร : 038-214051-4, 038-458262-7
  • 3. ไฟ คือ ปฏิกิริยาการเติมออกซิเจนของสารใดสารหนึ่ง ซึ่งเป็นปฏิกิริยาเคมี แล้วทาให้เกิดการเผาไหม้ควัน ความร้อน แสง ไอน้า และอื่นๆ ตามมา • สร้างความเสียหายแก่ชีวิต • สร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สิน • สร้างความเสียหายแก่สิ่งแวดล้อม ความสูญเสียที่เกิดจากไฟ การป้องกันและระงับอัคคีภัย 2
  • 4. บันทึก ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………. ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………. 27
  • 5. 26 บันทึก ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………. ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ………………………………………………………………
  • 6. 3 1. เกิดจากไฟฟ้ า 23% 10. เกิดจากการปล่อยปละละเลย 3% 2. เกิดจากการสูบบุหรี่ 18% 11. เกิดจากการลอบวางเพลิง 3% 3. เกิดจากการเสียดสี 10 12. เกิดจากการสปาร์คของเครื่องจักรกล 2% 4. เกิดจากความร้อนจัด 8% 13. เกิดจากการหลอมโลหะ 2% 5. เกิดจากผิวโลหะร้อน 7% 14. เกิดจากปฏิกิริยาเคมี 1% 6. เกิดจากเปลวไฟ 7% 15. เกิดจากฟ้ าผ่า 1% 7. เกิดจากประกายไฟ 5% 16. เกิดจากไฟฟ้ าสถิต 1% 8. เกิดจากลุกติดไฟขึ้นเอง 4% 17. เกิดจากสาเหตุอื่นๆ 1% 9. เกิดจากการตัดหรือเชื่อม 4% การสันดาปหรือการเผาไหม้ (COMBUSTION) คือ ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของเชื้อเพลิงกับออกซิเจน ซึ่งเป็นผลให้ เกิดความร้อนและแสงสว่าง กับสภาพการเปลี่ยนแปลงทฤษฎีการเกิดไฟ ไฟเกิดขึ้นได้อย่างไร ? แหล่งที่เกิดเพลิงไหม้ (IGNITION SOURCES)
  • 7. 4 ★เชื้อเพลิง มีด้วยกันอยู่ 3 สถานะ แต่เชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งและ ของเหลวต้องได้รับความร้อนถึงจุด จุดหนึ่งซึ่งเรียกว่า จุดวาบไฟหรือจุด คายไอ ซึ่งหมายถึงเชื้อเพลิงอยู่ในสถานะเป็นไอหรือเป็นก๊าซนั้นเอง และพร้อมที่จุดติดเป็นไฟ ★ออกซิเจน ที่อยู่ในบรรยากาศมีอยู่ 21 % แต่ออกซิเจนที่ใช้ในการจุดติด ของไฟต้องมีอยู่ในบรรยากาศ ไม่ต่ากว่า 16% จึงจะทาให้เกิดการจุดติด ขึ้นได้ ★ความร้อน หมายถึง ความร้อนที่ไปยกอุณหภูมิจากจุดวาบไฟให้ถึง จุดติด ไฟ องค์ประกอบของไฟ (Fire Triangle)
  • 8. 25
  • 9. 24
  • 10. 5 คือ ภยันตรายที่เกิดจากไฟจนเกินการควบคุมสร้างความ เสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินทั้งของประชาชน ทางราชการ รวมทั้งสภาพแวดล้อม องค์ประกอบของอัคคีภัย มีด้วยกัน 4 อย่าง คือ ★เชื้อเพลิง หมายถึง สารใดๆ ที่สามารถจุดติดเป็นไฟได้ มี ด้วยกันอยู่ 3 สถานะ แต่เชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของแข็งและ ของเหลวต้องได้รับความร้อนถึงจุด จุดหนึ่งซึ่งเรียกว่า จุดวาบ ไฟหรือจุดคลายไอ ซึ่งหมายถึงเชื้อเพลิงอยู่ในสถานะเป็นไอ หรือเป็นก๊าซนั้นเองและพร้อมที่จุดติดเป็นไฟ ★ออกซิเจน หมายถึง ที่อยู่ในบรรยากาศมีอยู่ 21 % แต่ออกซิเจน ที่ใช้ในการจุดติดของไฟต้องมีอยู่ในบรรยากาศ ไม่ต่ากว่า 16% จึงจะทาให้เกิดการจุดติดขึ้นได้ ★ความร้อน หมายถึง ความร้อนที่ไปยกอุณหภูมิจาก จุดวาบไฟ ให้ถึง จุดติดไฟ ★ปฏิกิริยาลูกโซ่ หมายถึง การติดต่อลุกลาม ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ โดยไม่มีจุดสิ้นสุดมีลักษณะเหมือนลูกโซ่ อัคคีภัย
  • 11. 6 เมื่อเกิดไฟขึ้นและมีการเกิดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 อย่าง เรียกว่า ? ปฏิกิริยาลูกโซ่ “ปฏิกิริยาลูกโซ่ ทฤษฎีปีรามิดของไฟ” (TETRAHEDRON)
  • 12. 23 1. หลุดออกขนาดไม่เกิน 2-3 ฝ่ามือ „ ถ้าเกิดตามตัว ให้ทาความสะอาดด้วยน้าเกลือนอร์มัลหรือน้าต้มสุก ถ้า แผลสกปรกมากอาจใช้สบู่เด็กฟอกทาความสะอาด แล้วทาด้วยยารักษา แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก หรือน้าปูนใสผสมน้ามะพร้าว หรือใช้วุ้นว่าน หางจระเข้ทาวันละ 1-2 ครั้ง „ ถ้าเป็นที่แขนหรือขา ยกส่วนที่เป็นแผลให้สูงกว่าระดับหัวใจ ถ้ามี อาการปวดให้กินยาแก้ปวด แล้วรีบพาไปพบแพทย์เพื่อพิจารณาฉีดยา ป้ องกันบาดทะยักและใช้ยาปฏิชีวนะ
  • 13. 22 1. ไฟไหม้ให้เร็วที่สุด 2. นาผู้ป่วยวางลงในที่อากาศโปร่งถ่ายเทได้สะดวก คลายเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มของผู้ป่วยให้หลวมสบาย 3. กรณีที่ผู้ป่วยหมดสติหรือหยุดหายใจให้รีบช่วยหายใจทันทีด้วยวิธี การเป่าลมเข้าปาก หรือวิธีการเป่าลมเข้าปากสลับกับการนวดหัวใจ ทั้งให้พิจารณาตามสภาพของผู้ป่วยว่าชีพจรยังเต้นอยู่หรือไม่ ผู้ป่ วยที่โดนไฟลวก 2. ให้ใช้ผ้าชุบน้าเย็นหรือใช้ถุงพลาสติกสะอาดใส่น้าแข็งวางตรง บริเวณที่ถูกไฟลวกหรือแช่บริเวณที่ถูกไฟลวกในน้าเย็นที่สะอาด เพื่อลดอาการปวดแสบปวดร้อน และลดอาการอักเสบ จนอาการดี ขึ้นแล้ว (ประมาณ 10-30 นาที) จึงตรวจดูผิวหนัง 3. ถ้าหนังไม่พุพองหรือหลุดออก ให้ล้างแผลให้สะอาด ซับให้แห้ง แล้วทาด้วยครีมเพล็ดนิซิโลน หรือครีมไตรแอมซิโนโลนบางๆ หรือ ใช้น้าปูนใสผสมน้ามะพร้าว (อย่างละเท่ากันตีให้เข้ากัน) ทาหรือใช้ วุ้นว่านหางจระเข้ทา 4. ถ้าเป็นตุ่มพองเล็กน้อย ให้ปฏิบัติดังนี้ • ถ้าเกิดตุ่มพองเล็กน้อยที่ฝ่ามือ ให้ล้างให้สะอาด ไม่ควรเจาะน้าออก จากตุ่มเอง ควรปล่อยให้แห้งและหลุดล่อนไปเอง • ถ้าเกิดตุ่มพองเล็กน้อยที่แขนขา หลังมือหรือหลังเท้า ให้ทาความ สะอาดด้วยน้าสบู่ ใช้เข็มที่แช่แอลกอฮอล์เจาะน้าในตุ่มพองออก ใช้ผ้าพัน แผนที่สะอาดกดซับน้าเหลือง แล้วทาแผลด้วยทิงเจอร์ใส่แผลสด หรือน้ายา โพวิดีน-ไอโอดีน แล้วพันด้วยผ้าพันแผลให้แน่น
  • 14. 7 มาตรฐานสากล ที่เรานามาใช้ คือ NFPA (National Fire Protection Association) ของ ประเทศสหรัฐอเมริกา (ที่ประเทศไทยเราใช้อยู่ในปัจจุบัน) ประเภท ชนิดเชื้อเพลิง สัญลักษณ์ รูปภาพ A (เอ) ไฟที่เกิดจากการเผาไหม้ เชื้อเพลิง ชนิดธรรมดา เช่น กระดาษ ผ้า หญ้า ฟาง ไม้ สามารถดับด้วยน้าได้ เครื่องหมาย สามเหลี่ยม พื้นสีเขียว ตัวอักษร A สีดา B (บี) ไฟที่เกิดจาการเผาไหม้เชื้อเพลิง ชนิดของเหลว เช่น น้ามัน ไข ข้น ทินเนอร์ แอลกอฮอล์ ดับเพลิงทาได้โดยทาให้ ออกซิเจนต่ากว่า 16% ซึ่งเป็น การดับเพลิงที่ดีที่สุด เครื่องหมาย สี่เหลี่ยม พื้นสีแดง ตัวอักษร B สีดา C (ซี) ไฟที่เกิดจากการเผาไหม้ อุปกรณ์ที่มีกระแสไฟฟ้าไหล อยู่ เกิดจาก 3 ลักษณะคือ การ ลัดวงจร การต่อเชื่อม การใช้ ไฟเกินขนาด ดับเพลิงทาได้ โดยตัดกระแสไฟฟ้าก่อนทา การดับเพลิง เครื่องหมายวงกลม พื้นสีฟ้า ตัวอักษร C สีดา การแบ่งประเภท ของเชื้อเพลิง D (ดี) ไฟที่เกิดจากการเผาไหม้โลหะ หรือสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะมี อุณหภูมิสูงห้ามใช้น้าทาการ ดับเพลิง ดับเพลิงที่มี เครื่องหมายของไฟประเภท D อยู่ หรือใช้ทรายที่แห้ง เครื่องหมายรูปดาว พื้นสีเหลือง ตัวอักษร D สีดา
  • 15. 8 ★ความมืด ซึ่งเกิดจากกลุ่มควัน และจากเปลวไฟ ที่ทาให้เกิดการ ปิดกั้นสายตาไม่สามารถมองทะลุผ่านไปได้ ★ความร้อน ซึ่งเกิดจากอุณหภูมิที่แฝง ที่อยู่ในกลุ่มควันหรือใน เชื้อเพลิง ซึ่งเกิดการคายไอ และพร้อมที่จะจุดติดไฟ ★ไอและควัน ซึ่งเกิดจาการคายไอของเชื้อเพลิง ควันบางอย่างจัดเป็น ควันพิษและเกิดภาวะการขาดออกซิเจนในขณะนั้น ★เวลา ซึ่งในที่นี้หมายถึงเวลาที่ใช้ในการหนีไฟ จะทาการดับเพลิง หรือหนีไฟมีโอกาสเพียง 2 นาที แบ่งออกเป็น 4 อย่าง ★กาจัดเชื้อเพลิง หมายถึง ทาให้เชื้อเพลิงเกิดการกระจัดกระจาย ไม่สามารถ รวมตัวกันมีความหนาแน่นพอ ทาให้เกิดการจุดติดไฟ ได้หรือกาจัดในส่วนที่ยังไม่ได้ไหม้ออกไปจากปฏิกิริยา ★กาจัดออกซิเจน หมายถึง ทาให้ออกซิเจนที่จะไปรวมตัวกับ ปฏิกิริยาของเพลิง ไหม้ให้ต่ากว่า 16 % ในบรรยากาศ ★กาจัดความร้อน หมายถึง ลดอุณหภูมิ ของเชื้อเพลิงให้ต่ากว่าจุดติด ไฟ จะทาให้เปลวไฟดับลง และเมื่อลดอุณหภูมิให้ต่ากว่าจุดคายไอ ก็จะทาให้ไม่มีควัน การดับเพลิง ขณะเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดสิ่งต่อไปนี้
  • 16. 21 ตั้งสติไม่ตื่นเต้น จนเกินไปดูให้รู้ว่าเกิดอะไรขึ้นแจ้งให้ผู้อื่นทราบ ตรวจสอบเป็นไฟประเภทใด เพื่อทาการดับเพลิงได้อย่างถูกวิธี เลือกเครื่อง ดับเพลิงที่เหมาะสมในการดับไฟ และทาการดับเพลิงขั้นต้น ติดต่อ หรือ โทร แจ้งเจ้าหน้าที่ดับเพลิงเข้าสนับสนุนการดับเพลิง ออกจากที่เกิดเหตุ และไม่ กลับเข้าไปอีก ★จัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถานที่ทางาน ★การตรวจตราพร้อมซ่อมบารุงเครื่องจักร ★ตรวจสอบสภาพถังแก๊สหรือวัสดุอื่นที่อาจก่อให้เกิดการระเบิด ★ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย ★ให้ความร่วมมือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ผู้ป่ วยที่สาลักควันไฟ • ผู้ที่สาลักควันไฟจะรู้สึกมึนงง เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หายใจไม่ออก แสบตา และอาจเป็นลม หมดสติ เสียชีวิตได้ขั้นตอนการปฐมพยาบาล ให้ ปฏิบัติดังต่อไปนี้ รีบนาผู้ป่วยออกจากจุดเกิดเหตุสาลักควันหรือจากสถานที่มีเหตุการณ์ หลักแห่งความปลอดภัย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ทาอย่างไรเมื่อเกิดเพลิงไหม้
  • 17. 20 3. สัญญาณเบาน้า เหยียดแขนออกไปด้านข้างขนานกับ พื้นคว่ามือแล้วโบกขึ้นลงให้เป็นมุม กว้าง 4. สัญญาณตัดน้าชั่วคราว ยกมือซ้ายหรือขวาเหยียดตรงเหนือ ศีรษะ หันฝ่ามือไปทางผู้รับสัญญาณ ยกมือขวา หรือซ้ายระดับอก คว่ามือ สับแขนเข้า-ออกจากหน้าอกไป ด้านหน้าหลายครั้ง 5. สัญญาณยกเลิกเก็บสาย ยกแขนกามือทั้ง 2 ข้าง ยกขึ้นเหนือ ศีรษะไว้เป็นรูปกากบาท
  • 18. 9 ★ปฏิกิริยาลูกโซ่ หมายถึง ตัดการติดต่อลุกลามหรือนาสารเคมี บางอย่าง บางชนิด เข้าไปแทรกในปฏิกิริยาทาให้เชื้อเพลิง ออกซิเจน และความร้อน ไม่สามารถรวมตัวเป็นองค์ประกอบของ ไฟได้ “เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้” หมายถึง เครื่องดับเพลิงซึ่งมีลักษณะเป็นอุปกรณ์ที่เคลื่อนย้ายได้โดยสะดวก และใช้งานด้วยมือ ภายในบรรจุสารดับเพลิงซึ่งสามารถขับออกได้โดยใช้ แรงดัน เช่น เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ แบบยกหิ้ว แบบลากเข็น หรือลักษณะอื่นใดที่คล้ายกัน ชนิดของถังดับเพลิง รูปภาพ ชนิดผงเคมีแห้ง (Dry Chemical) สามารถดับไฟได้เกือบทุกประเภท A B C ยกเว้น CLASS K ราคาถูก ชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สารเคมีภายในบรรจุก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จะเป็นไอเย็นจัด ลดความร้อนของไฟได้ไม่ทิ้ง คราบสกปรก สามารถดับไฟได้ประเภท B C เหมาะสาหรับการใช้งานในห้องเครื่องจักร Line การผลิต อุตสาหกรรมอาหาร ประเภทของถังดับเพลิง
  • 19. 10 ชนิดของถังดับเพลิง รูปภาพ ชนิดสารสารสะอาด หรือ ฮาโลตรอนวัน สารเคมีภายในบรรจุก๊าซ Halotron-1 เมื่อฉีด แล้วจะระเหยไปเอง ไม่ทิ้งคราบสกปรก สามารถดับไฟได้ทุกประเภท A B C เหมาะ สาหรับการใช้งานในห้องคอมพิวเตอร์ คลีนรูม ไลน์การผลิต ห้องไฟฟ้า ห้องเก็บอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ชนิดโฟม สารเคมีภายในบรรจุโฟม เมื่อฉีดออกมาจะเป็น ฟองโฟมคลุมผิวเชื้อเพลิงที่ลุกไหม้จึงสามารถ ดับไฟได้ประเภท A B แต่ไม่สามารถนาไปดับ ไฟประเภท C อุปกรณ์ดับเพลิงชนิดน้าสะสมแรงดัน (water) เครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุน้าธรรมดา ภายใน บรรจุน้าธรรมดา อาศัยแรงดันของก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ หรือไนโตรเจนที่อัดใช้ใน กระบอกโลหะ ใช้ดับเพลิงธรรมดา เช่น ไม้ ถ่าน กระดาษ เสื้อผ้า อาคารบ้านเรือน ใช้ดับไฟ ประเภท A
  • 20. 19 5. ท่าปลดข้อต่อ ลักษณะท่าปลดข้อต่อ จะต่อเนื่องมาจาก ท่าต่อหัวข้อต่อ คาบอก-คาสั่ง “ปลดข้อต่อ ‟ ทา” (ปลดข้อต่อ ‟ คาบอก / ทา ‟ คาสั่ง) การปฏิบัติ เมื่อได้ยินคาสั่งว่า “ทา” ให้ยกขาคร่อมสายส่งน้าฯ ใช้ หัวเข่าทั้งสองข้างหนีบหัวข้อต่อตัวผู้ไว้ให้แน่นแข็งแรง เท้าตรึงกับที่ ก้มลง เล็กน้อยใช้กาลังมือจับหูข้อต่อตัวเมียทั้งสองข้าง แล้วถ่างและดันออกจากข้อ ต่อตัวผู้ผู้ที่ทาหน้าที่ในการดับเพลิง จะต้องได้รับการฝึกฝนมาจึงจะใช้สายส่ง น้าดับเพลิงชนิดต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ในขั้นตอนการใช้อุปกรณ์ เหล่านี้จะต้องมีสื่อสัญญาณมือเพื่อควบคุมน้าในการดับเพลิง รูปแบบสัญญาณ รูปภาพ 1. สัญญาณเปิดน้า ยกมือ(ข้างใดข้างหนึ่ง) ขึ้นเหยียดตรง ให้สุดแขน หันฝ่ามือไปทางผู้รับ สัญญาณ 2. สัญญาณเร่งน้า กามือตั้งตรงด้านข้าง ยกขึ้นลงใน แนวดิ่ง สัญญาณมือเพื่อควบคุมน้าดับเพลิง
  • 21. 18 4. ท่าสวม (ต่อ) ข้อต่อ คาบอก-คาสั่ง “สวม(ต่อ)ข้อต่อ ‟ ทา” ( สวมข้อต่อ ‟ คาบอก / ทา ‟ คาสั่ง ) การปฏิบัติ ต่อเนื่องจากการวิ่งคลี่สายออกจนสุด ★อยู่ในลักษณะท่ายืน โดยก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าประมาณ 1 ก้าว ย่อเข่าซ้ายลงเล็กน้อย และให้ขาขวาเหยียดตรึงไป ด้านหลัง ★มือซ้ายจับที่หัวข้อต่อตัวเมีย ในลักษณะหงายฝ่ามือและหัน ข้อต่อเข้าหาตัว เหยียดแขนซ้ายให้ตรึงโดย ใช้หลังมือวางไว้ บนหัวเข่าซ้าย ★มือขวาจับข้อต่อตัวผู้ในลักษณะจับกาคว่ามือและหัน ออก พร้อมต่อข้อต่อทันที หลังคาบอก-คาสั่ง“สวมข้อต่อ- ทา”
  • 22. 11 สายดับเพลิง (FIRE HOSE) ★ HOSE REEL ★ HOSE RACK ข้อต่อดับเพลิง (COUPLING) ★ ข้อต่อสวมเร็ว ★ ข้อแยกทางส่งน้า 2 ทาง หัวฉีดดับเพลิง (NOZZLE) ★ JET NOZZLE หัวฉีดน้า ดับเพลิงชนิดใช้ฉีดน้าเป็นลาตรง อุปกรณ์ที่ใช้ในการดับเพลิง
  • 23. 12 ★ FOAM NOZZLE หัวฉีดน้า ยาโฟม ★ FOG NOZZLE หัวฉีดด้าม ปืน หัวจ่ายน้าดับเพลิง (HYDRANT) ★ FIRE HYDRANT
  • 24. 17 3. ท่าส่งข้อต่อ (เพื่อวิ่งสาย) ลักษณะของท่าส่งข้อต่อ คือ กาลังอยู่ในท่าแบกสาย คาบอก-คาสั่ง “ ส่งข้อต่อ ‟ ทา ” การปฏิบัติ มี 3 ขั้นตอน 3.1 จังหวะ 1 เมื่อได้ยินคาสั่งว่า “ทา” ให้ทาตามจังหวะของข้อ 2.1 ( พร้อม นับ…1) 3.2 จังหวะ 2 นั่งชันเข่า วางสายไว้ด้านหน้าตาแหน่งเดิม ใช้มือขวาบิดสายส่ง น้า ให้ข้อต่อตัวผู้หันออกไปด้านหน้า (พร้อมนับ…2) 3.3 จังหวะ 3 ใช้มือซ้ายจับกุมที่หูข้อต่อตัวเมีย มือขวาจับข้อต่อตัวผู้และ ส่งไปให้เพื่อนที่รอรับอยู่ด้านขวามือพร้อมกับพูดดังๆว่า “ ข้อต่อ ” ( แทนการ นับ 3 ) จากนั้นเพื่อนที่อยู่ด้านหลัง จะเข้ารับข้อต่อตัวผู้ทางด้านขวาของคน ส่ง และใช้เท้าขวาเหยียบสายไว้เพื่อกันไม่ให้สายหลุด มือเพื่อนที่อยู่ด้านหน้า จะยกสายส่งน้าขึ้นทั้ง 2 มือในลักษณะจับกุมไม่ใช่เสียบนิ้วโป้ งและนิ้วชี้แบบ ท่าแบกสาย) ยกขึ้นระดับหน้าอก กางข้อศอกทั้ง 2 ข้างออกพร้อมวิ่งสาย(คลี่ สาย) วิ่งไปด้านหน้า โดยให้สายน้าฯอยู่ด้านขวา ( จะไม่วิ่งลอมสายเด็ดขาด)
  • 25. 16 2. ท่าวางสาย ลักษณะของท่าวางสาย คือกาลังอยู่ในท่าแบกสาย คาบอก-คาสั่ง “ วางสาย ‟ ทา ” ( วางสาย ‟ คาบอก / ทา ‟ คาสั่ง ) การปฏิบัติ ท่านี้มี 3 จังหวะ 2.1 จังหวะ 1 เมื่อได้ยินคาสั่งว่า “ทา” สิ้นสุดลงให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ประมาณ 1 ก้าว พร้อมยกมือซ้ายจับหูข้อต่อตัวเมียในลักษณะแบบมือให้หูข้อ ต่ออยู่ระหว่างนิ้วโป้ งและนิ้วชี้ ร่างกายอยู่ในลักษณะตรง (พร้อมกับนับ…1) 2.2 จังหวะ 2 ย่อตัวลงนั่งชันเข่า วางสายไว้ด้านหน้าตาแหน่งเดิม แล้วลุกขึ้น ยืนตรง (พร้อมนับ…2) 2.3 จังหวะ 3 ชักเท้าซ้ายชิดเท้าขวา อยู่ในลักษณะท่าตรงอย่างรวดเร็ว และ แข็งแรง (พร้อมนับ…3)
  • 26. 13 ประกอบไปด้วย ★เสื้อดับเพลิงคลุมถึงเข่า ตะขอสับ (สีเหลือง,สีส้ม) มีแถบสะท้อนแสง หน้า-หลัง (แบบ1) หรือ ★เสื้อดับเพลิงพร้อมกางเกงดับเพลิงสีส้ม มีแถบสะท้อนแสงหน้า-หลัง (แบบ2) ★หมวกไฟเบอร์กล๊าสสีดา มีหงอยกันกระแทก ★ถุงมือหนังมีบุชั้นใน ปลายแขนเย็บขอบเรียบร้อยสวยงาม ★รองเท้าบู๊ท พื้นเหล็ก หัวเหล็ก ★วิทยุสื่อสาร การแต่งกายของนักดับเพลิง
  • 27. 14 1. ท่าแบกสาย คาบอก-คาสั่ง “ แบกสาย ‟ ทา “ ( แบกสาย ‟ คาบอก / ทา ‟ คาสั่ง ) การปฏิบัติ ท่านี้มี 3 จังหวะ ( โดยเริ่มให้ทาปิดจังหวะทีละ ขั้นตอน นับ 1..,2…, 3…ก่อนเมื่อเห็นว่าคล่องแล้ว จึงให้ทาเปิดจังหวะนับต่อเนื่อง) 1.1 จังหวะ 1 เมื่อได้ยินคาสั่งว่า “ทา” สิ้นสุดลง ให้ ก้าวเท้าซ้ายไป ข้างหน้าประมาณ 1 ก้าว อย่าง รวดเร็ว แข็งแรงร่างกายยังคงอยู่ในลักษณะตรง 1.2 จังหวะ 2 ให้ย่อคัวลงนั่งชันเข่า มือทั้งสองข้าง จับสายส่งน้าดับเพลิง ในลักษณะแบมือให้หูข้อต่อ ตัวเมียอยู่ระหว่างนิ้วโป้ งและนิ้วชี้ จากนั้นให้ลุก ขึ้นยืน พร้อมแบกสายวางไว้บนบ่า ด้านขวา ร่างกายอยู่ในลักษณะ ตรง( พร้อม นับ…2 ) การใช้สายส่งน้าดับเพลิง
  • 28. 15 1.3 จังหวะ 3 ให้ลดมือซ้ายเฉียดลาตัวลง พร้อมชัก เท้าซ้ายชิดกับเท้าขวาในท่าตรงอย่างรวดเร็ว และ แข็งแรง(พร้อมนับ…3 )