SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
1212 กิจกรรมทบทวนกิจกรรมทบทวน
ภาคปฏิบัติภาคปฏิบัติ
นายสุรเดช ศรีอังกูร
ห้องเรียนความเสียง
@Riskroom
12 กิจกรรมทบทวน
เป็นเครืองมือในการพัฒนาคุณภาพในบันไดขันที 1
แต่ทว่าจะพัฒนาไปถึงขันไหนเราก็ยังต้องทบทวนกันอยู่
เพราะเป็นการทบทวนการทํางานตนเอง/การดูแลผู้ป่วย/
กระบวนการการทํางาน
เพือหาโอกาสในการพัฒนาจากงานประจําทีได้ทํา
และเป็นเครืองมือในการค้นหาความเสียงทีดีที
สุดแต่ใช้น้อยทีสุด
12 กิจกรรมทบทวนประกอบไปด้วย
1. การทบทวนขณะทีเรากําลังดูแลผู้ป่วย/ผู้ป่วยนอนอยู่
2. การทบทวนความคิดเห็นและข้อร้องเรียนของผู้รับบริการที
บอกกับเรา
3. การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษาทีเกิดขึน
4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชํานาญกว่าเราจากสิงทีเรา
ได้ปฏิบัติ
5. การค้นหาและป้ องกันความเสียงทังทีเกิดแล้ว และยังไม่เกิด
6.การป้ องกันและเฝ้ าระวังการติดเชือในโรงพยาบาล
7.การป้ องกันการเฝ้ าระวังการคลาดเคลือนทางยาทีเรา
บริหารจัดการ
8.การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สําคัญทีเกิดขึน
9.การทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียนทีเรา
บันทึกในแต่ละวัน
10.การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการทีนํามาใช้ในการ
ดูแลผู้ป่วย/ปฏิบัติงาน
11.การทบทวนการใช้ทรัพยากรต่างๆทีเราใช้ขณะปฏิบัติงาน
12.การทบทวนตัวชีวัดทีเรากําหนด และใช้วัดเพือให้ทราบ
ผลการดําเนินการของตัวเรา หน่วยงานของเรา
AE
Turning Point
Cognitive Walkthrough
Human Factor Engineering
Prevention
Build-in
Quality
12 กิจกรรม
ทบทวน
การายงานความเสียง
Trigger tool
Trace/R2R
KA/SA
Knowledge Asset
Self Assessment
การทบทวนสู่การปรับปรุง
การปฏิบัติสู่ความยังยืน
• คิดบวกเพือหาโอกาสพัฒนา
• คิดสร้างสรรค์เพือสิงทีดีกว่า
• หาสาเหตุทีแท้จริง
• การใช้หลักฐานทางวิชาการ
เราควรทบทวนกันอย่างไม่มีอคติ
เมือมองในมุมมองของผู้ปฏิบัติงาน
ขณะนันมีข้อจํากัดอะไรบ้าง
เมือมองย้อนหลัง เรา
เห็นจุดอ่อนหรือโอกาส
พัฒนาอะไรจากระบบ
เมือมองในมุมมองของการพัฒนาระบบ จะลดข้อจํากัดทีเกิดขึนกับ
ผู้ปฏิบัติงาน เพือให้เกิดการกระทําทีพึงจะเกิดขึนได้อย่างไร
หัวใจสําคัญของการทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย
เพิมความไวใน การค้นหา ปัญหาของผู้ป่วย
ตอบสนอง/แก้ไขปัญหา ของผู้ป่วยในทันที
และ เรียนรู้ จากสิงทีผู้ป่วยแต่ละคนหยิบยืนให้
เรียนรู้จากมุมมองของวิชาชีพอืน
เพือเห็นประเด็นทีจะนําไป ปรับปรุง ระบบงาน
การดูแลผู้ป่วยรายบุคคล และกลุ่มโรคอย่างไร
ด้วยสูตรเด็ด : C3THER
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย
สูตรเด็ด C3THER
Care เป็นการทบทวน
ขันตอน/แนวทางใน
ขณะทีเราดูแลผู้ป่วยว่า
เราทําได้ตามมาตรฐาน/
เป็นสิงทีผู้ป่วยควรจะ
ได้รับ และปลอดภัย
หรือไม่ เช่น
• มีโอกาสเกิดความเสียงอะไรกับ
ผู้ป่วยรายนีบ้าง
• เราได้ป้ องกันความเสียง
เหล่านันอย่างดีแล้วหรือไม่
• เราได้ประเมินผู้ป่วยอย่างรอบ
ด้าน ครอบคลุมแล้วหรือไม่
• เรานําข้อมูลจากการประเมินมา
วางแผนแก้ปัญหาอย่าง
ครบถ้วนหรือไม่
• เราเฝ้ าระวังการเปลียนแปลง
ของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด และ
ตอบสนองอย่างเหมาะสมแล้ว
หรือไม่
สูตรเด็ด C3THER (ต่อ)
Communication ทบทวนการ
สือสาร/ข้อมูลที
จําเป็นทีผู้ป่วย
และผู้ปฏิบัติงานที
ควรจะได้รับ เช่น
• (ถามทีม) มีข้อมูลอะไรทีผู้ป่วย
และครอบครัวควรจะรับรู้ใน
ขณะนี (เช่น ความเข้าใจในโรคที
ตนเองเป็นอยู่ ทางเลือกในการ
ดูแลรักษา วิธีการปฏิบัติตัวทีเรา
คาดหวัง)
• (ถามผู้ป่วยและครอบครัว) ได้รับ
ข้อมูลอะไรบ้าง มีข้อมูลอะไรที
ต้องการทราบเพิมเติม
• (ถามทีม) มีความแตกต่าง
ระหว่างสิงทีทีมคาดหวังกับสิงที
ผู้ป่วยได้รับหรือไม่ ถ้ามีจะ
ปรับปรุงอย่างไร
สูตรเด็ด C3THER (ต่อ)
Continuity ทบทวนความ
ต่อเนืองของการดูแล
รักษาของข้อมูล/
แนวทางปฏิบัติทังที
ผู้ป่วยอยู่ใน
โรงพยาบาล และเมือ
ผู้ป่วยกลับไปบ้าน
เช่น
• ปัญหาสําคัญทีอาจจะ
เกิดขึนในช่วงกลางคืนมี
อะไรบ้าง และทีมงานมี
การส่งต่อปัญหาระหว่าง
ให้แก่เวรต่อไปอย่างไร
และป้ องกัน/แก้ไขอย่างไร
• ปัญหาสําคัญทีผู้ป่วยและ
ครอบครัวต้องเผชิญเมือ
กลับไปอยู่บ้านคืออะไร
เราได้เตรียมผู้ป่วยและ
ครอบครัวให้พร้อมทีจะ
จัดการกับปัญหาเหล่านัน
อย่างไร
สูตรเด็ด C3THER (ต่อ)
Team ทบทวนในเรือง
ความร่วมมือ
ระหว่างวิชาชีพทัง
ในเรืองข้อมูล/
แนวทางการดูแล
รักษา เช่น
• ถ้าจะดูแลผู้ป่วยรายนีให้ดีทีสุด
มีวิชาชีพใดบ้างทีควรเข้ามาร่วม
ให้การดูแลนอกเหนือจากแพทย์
และพยาบาล (เช่น นัก
กายภาพบําบัด นักจิตวิทยา นัก
สังคมสงเคราะห์ นักโภชนาการ)
• และเราได้เชิญวิชาชีพเหล่านัน
เข้ามาร่วมดูแลผู้ป่วยรายนีแล้ว
หรือยัง
• เราได้นําข้อมูลต่างๆทีเกิดขึนมา
ดูแลผู้ป่วยร่วมกันหรือไม่
สูตรเด็ด C3THER (ต่อ)
Human Resource
Development
ทบทวนว่าความรู้
และทักษะของ
ทีมงานของเรา/ตัว
เราเพียงพอทีจะดูแล
ผู้ป่วยหรือไม่ เช่น
• ความรู้และทักษะของ
ทีมงานของเรา ตัวเรา
เพียงพอสําหรับดูแล
ผู้ป่วยรายนี/กลุ่มโรคนี
อย่างมีคุณภาพแล้ว
หรือไม่ ยังขาดเรือง
อะไรอยู่
• จะทําอย่างไรจะให้เกิด
ความรู้และทักษะ
เหล่านันขึนได้เร็วทีสุด
สูตรเด็ด C3THER (ต่อ)
Environment
& Equipment
ทบทวนสิงแวดล้อม
ทีผู้ป่วยเข้ามารับ
การรักษาและ
เครืองมือถูกต้อง
เพียงพอ พร้อมใช้
หรือไม่
• ผู้ป่วยอยู่ในสิงแวดล้อมทีสะดวก
สบาย ปลอดภัย หรือไม่
• มีเครืองมืออะไรทีจําเป็นสําหรับการ
ดูแลผู้ป่วยรายนี เครืองมือเหล่านัน
เพียงพอ ถูกต้องและพร้อมทีจะใช้
หรือไม่
Record
ทบทวนความ
สมบูรณ์ของการ
บันทึกเวชระเบียน
ทีเราบันทึกในแต่
ละวัน
• เวชระเบียนของผู้ป่วยรายนีได้รับการ
บันทึกอย่างสมบูรณ์เพียงพอทีจะให้
ผู้อืนมาดูแลอย่างต่อเนือง, เข้าใจ
เหตุผลของการตัดสินใจ, ประเมิน
คุณภาพของการดูแล, และใช้เป็น
หลักฐานทางกฎหมายได้หรือไม่
ควรทบทวนในทุกโอกาสทีเป็นไปได้ระหว่างทีเราดูแลรักษา
ผู้ป่วย
สามารถทําได้ทุกวันระหว่างการตรวจเยียมร่วมกันระหว่าง
แพทย์ พยาบาล และวิชาชีพอืนๆ
การทบทวนร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ อาจกําหนดทุกสัปดาห์
ทีมสหสาขาวิชาชีพช่วยให้เกิดมุมมอง/ข้อมูลทีหลากหลาย
จําเป็นเช่น ผู้ป่วยทีมีอาการซับซ้อน
การทีรอทีมสหสาขาวิชาชีพอย่างเดียวอาจทําให้เสียโอกาส
การเรียนรู้จากผู้ป่วย เราต้องเป็นผู้กระตุ้น และเชิญชวนให้
เข้ามาดูแลด้วยกัน
ใคร ทีไหน อย่างไร ในการทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย
หน่วยงานทีทบทวน
หน่วยงานทีทําหน้าทีในการดูแลผู้ป่วยทุกหน่วยงาน โดยเฉพาะอย่าง
ยิงผู้ป่วยทีมีความเสียงสูง หรือซับซ้อน เช่น IPD,LR,ER,ANC, ทันตก
รรม เป็นต้น
ควรทบทวนบ่อยเท่าใด ?
ทุกคนทุกคน ทีขึนทํางานกับผู้ป่วย ควรฝึกทบทวนในทุกโอกาสทีทําได้ทีขึนทํางานกับผู้ป่วย ควรฝึกทบทวนในทุกโอกาสทีทําได้
โดยไม่ต้องรอคนอืน สามารถทําได้ทุกวันโดยไม่ต้องรอคนอืน สามารถทําได้ทุกวัน
การทบทวนร่วมกับการทบทวนร่วมกับ ทีมสหทีมสหสาขาวิชาชีพสาขาวิชาชีพ ((แพทย์แพทย์,,เภสัชกรเภสัชกร,…),…) ควรควร
ทบทวนทุกสัปดาห์ ถ้าเป็นไปได้ทบทวนทุกสัปดาห์ ถ้าเป็นไปได้//ถ้าจําเป็นถ้าจําเป็น
ในในการตรวจเยียมการตรวจเยียมผู้ป่วยร่วมกันระหว่างแพทย์กับพยาบาล ก็สามารถผู้ป่วยร่วมกันระหว่างแพทย์กับพยาบาล ก็สามารถ
ฝึกซ้อมการทบทวนในบางประเด็นทีสังเกตเห็นได้จากการตรวจฝึกซ้อมการทบทวนในบางประเด็นทีสังเกตเห็นได้จากการตรวจ
เยียมเยียม
การเชือมโยงกับเรืองความเสียงทางคลินิก
พิจารณาว่าผู้ป่วยรายนันมีความเสียงต่อการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนอะไร ( Early warning sign ) มีอะไรทีเราละเลย
ไป คือการค้นหาความเสียงทางคลินิก โดยเฉพาะอย่างยิง
Specific Clinical Risk ทีเกิดขึน
การทีเราตอบสนองต่อความเสียงทีค้นพบได้ คือการจัดการกับ
ความเสียงเพือป้ องกันผลทีไม่พึงประสงค์ไม่ให้เกิดขึน หรือไม่ให้
รุนแรงขึนได้
ข้อมูลทีพบเหล่านีจะเป็นประโยชน์อย่างยิงในการป้ องกันความ
เสียงสําหรับผู้ป่วยทีมีลักษณะคล้ายกัน เพือนํามาสู่การแก้ไขให้
เป็นระบบหรือกลุ่มโรคมากขึน
ความคาดหวังเมือทบทวน
ปรับปรุงกระบวนการดูแลผู้ป่วยรายนัน ป้ องกันความเสียง
หรือลดความรุนแรงได้ทันที
มีการปรับปรุงระบบงาน/กลุ่มโรคทีเกียวข้อง
เพือสือสารให้ผู้เกียวข้องเข้าใจเหตุผลของการปรับระบบการ
ทํางาน เพือสร้างความปลอดภัยให้กับผู้ป่วย
นําผลการทบทวนมาจัดระบบทีจะให้มีการเรียนรู้ร่วมกันและ
ปรับปรุงในอนาคต
ฝึกทุกคนมีความไวมากขึนในการตรวจจับปัญหาทีเกิดขึน
จากหนึงเหตุการณ์ สู่การมองและวางระบบในองค์กร
ใช้ C3THER ในทุกโอกาสทีเป็นไปได้
อาจตามรอยการดูแลผู้ป่วยรายใดรายหนึงให้ครอบคลุม เช่น
ผู้ป่วยทีซับซ้อน
นําผลทีเกิดขึนจากการทบทวน มาทบทวนหรือใช้ตามรอยการ
ดูแลผู้ป่วยเป็นกลุ่มโรค (clinical tracer) ของทีมนําทางคลินิก
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย
หน่วยงาน โรค การปรับปรุงทีเกิดขึน
หัวใจสําคัญของการทบทวนข้อร้องเรียน
เราต้องไวต่อการรับรู้และตอบสนองต่อความต้องการ
ของผู้รับบริการ
และการทีผู้รับบริการเห็นว่าโรงพยาบาลของเรายินดีรับ
ข้อคิดเห็น คือภูมิคุ้มกันสําคัญของโรงพยาบาล
การทบทวนข้อร้องเรียน
เราทราบหรือไม่ว่าช่องทางในการรับข้อร้องเรียน มีอะไรบ้าง
ช่องทางใดใช้มากสุด ช่องทางใดใช้น้อยสุด และจะพัฒนาอย่างไร
ในกรณีทีผู้ป่วย/ผู้รับบริการร้องเรียนทางวาจา เจ้าหน้าทีต้องเป็น
ผู้รับเรือง และจดบันทึกข้อร้องเรียนนัน
ขันตอน และแนวทางในการจัดการข้อร้องเรียนเป็นอย่างไร
ปฏิบัติกันอย่างไรบ้าง
ข้อร้องเรียนทีเกิดขึนควรทบทวนให้บ่อยทีสุด เพือให้สามารถ
ตอบสนองได้อย่างรวดเร็วเท่าทีเป็นไปได้ เช่น ทันทีทีได้รับคํา
ร้องเรียน และเมือทบทวนแล้วเกิดผลการปรับปรุงอะไรบ้าง และ
แจ้งผลการปรับปรุงให้ผู้รับบริการทราบได้อย่างไร
ประเด็นสําคัญการทบทวนข้อร้องเรียน
นําข้อร้องเรียนและเสียงสะท้อนมาทบทวนและปรับปรุงกระบวนการ
ทํางานในหน่วยงาน
ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการและนํามากําหนดเป็นเป้ าหมายของ
หน่วยงานและออกแบบกระบวนการดูแลผู้ป่วย
มีวิธีการทีเป็นระบบในการรับรู้ และตอบสนองต่อข้อร้องเรียนทีเกิดขึน
เพือสามารถทําให้เกินความคาดหวังของผู้รับบริการ นันคือมีระบบข้อ
ร้องเรียน
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนข้อร้องเรียน
หน่วยงาน ความคิดเห็น/คําร้องเรียน การปรับปรุงทีเกิดขึน
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
หัวใจสําคัญของการทบทวนการส่งต่อ /
ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
คือการมองหาในสิงทีเราทําไม่ได้ หรือทําได้ไม่ดีเพือคือการมองหาในสิงทีเราทําไม่ได้ หรือทําได้ไม่ดีเพือ
เพือนํามาสู่การปรับปรุงศักยภาพของบุคคลเพือนํามาสู่การปรับปรุงศักยภาพของบุคคล//องค์กรองค์กร
และระบบงานงานของเราและระบบงานงานของเรา
ความคาดหวังของผลการทบทวน
การทบทวนควรนําสิงทีได้จากการทบทวนนํามา
พัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วย มิใช่ทบทวนแล้ว
ได้แต่ข้อสรุปว่า “ผู้ป่วยสมควรได้รับการส่งต่อ”
เพียงอย่างเดียว
มีการรับข้อมูลสะท้อนกลับ จากโรงพยาบาลทีรับ
ผู้ป่วย ว่ากระบวนการทีเราได้ปฏิบัติไปนันเป็น
อย่างไร เพือนํามาพัฒนาศักยภาพในการดูแล
ผู้ป่วยของเราให้ดีขึน
ทบทวนคุณภาพของการประเมินและดูแลก่อนการส่งต่อ
ในแต่ละราย นําไปสู่การปรับปรุงพัฒนากระบวนการ
และภาพรวมของการส่งต่อ/กลุ่มโรคทีต้องส่งต่อบ่อยๆ
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติใน
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
หน่วยงาน โรค/ปัญหาทีพบ มาตรฐานการปฏิบัติทีกําหนด
การทบทวนโดยผู้ชํานาญกว่า
หัวใจสําคัญของการทบทวนโดยผู้ชํานาญกว่า
คือการใช้ศักยภาพของผู้ทีเก่งกว่าในองค์กร มาพัฒนา
ศักยภาพของผู้ทีมีประสบการณ์น้อยกว่า
เป็นการเรียนรู้ทีตรงประเด็น เป็นประโยชน์ในการใช้
งานได้จริง เพราะเป็นการเสริมความรู้ในประเด็นทียังทํา
ได้ไม่ดี
สามารถแก้ไขข้อผิดพลาดทีเกิดจากกระบวนการการ
ดูแลได้อย่างรวดเร็ว หลังการทบทวน
ผู้ทบทวน/ผู้ได้รับการทบทวน
แพทย์ ทบทวนการตรวจรักษาของพยาบาลทีห้อง ER
แพทย์อาวุโส ทบทวนการตรวจรักษาแพทย์รุ่นน้อง
พยาบาลอาวุโส ทบทวนกระบวนการการดูแลผู้ป่วยของ
พยาบาลรุ่นน้อง
เภสัชกร ทบทวนการจ่ายยาของพยาบาลและพนักงานผู้ช่วย
เภสัชกร
ทันตแพทย์ ทบทวนการตรวจรักษาของทันตภิบาล
นักเทคนิคการแพทย์/รังสีเทคนิค ทบทวนการปฏิบัติงานของ
เจ้าพนักงานฯ หรือพนักงานทีถูกฝึกมาช่วยตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการหรือรังสี
การนําผลการทบทวนมาใช้ประโยชน์
ติดตามผู้ป่วยมารับการตรวจรักษาเพิมเติม ถ้า
จําเป็น
จัดให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพในกลุ่ม
คนทีต้องทํางานโดยเร็วทีสุด ไม่ควรรอการวางแผน
เป็นเดือนๆ
เลือกกรณีทีมีปัญหาหรือมีข้อสงสัยมาทบทวน และนํา
ผลการทบทวนไปพัฒนาศักยภาพบุคลากรในหน้างาน
นําไปสู่ระบบการพัฒนาบุคลากรทีมีประสิทธิภาพ คือ
การกําหนดโรคและหัตถการทีเสียงสูงเพือนํา credential
& privilege มาใช้
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนผู้ชํานาญกว่า
หน่วยงาน โรค/ปัญหาทีพบ มาตรฐานการปฏิบัติทีกําหนด
หัวใจสําคัญของการค้นหา/ป้ องกันความเสียง
เป็นการค้นหาลูกระเบิด(ความเสียง) ทีซุกซ่อนอยู่ตามที
ต่างๆ และรอวันระเบิดจัดการกําจัดลูกระเบิดเหล่านันให้
สิน อย่าให้เกิดระเบิดขึนเป็นอันตรายกับผู้รับบริการและ
ผู้ให้บริการ
การค้นหา/ป้ องกันความเสียง
หัวใจของการป้ องกันความเสียง
ถ้ามีเหตุการณ์เกิดขึน ต้องเข้าไปศึกษาข้อมูล
รายละเอียด และทําความเข้าใจ ความรู้สึกของ
ผู้ปฏิบัติงาน มากกว่าการตําหนิ กล่าวโทษ
พยายามออกแบบระบบงานให้ง่ายต่อผู้ปฏิบัติงาน
และสามารถป้ องกันเหตุไม่พึงประสงค์ได้
(ถามตัวเองว่าถ้าทําอย่างนีแล้วจะมีโอกาสเกิด
เหตุการณ์ซํามากเพียงใด)
ระบุความเสียง (ค้นหาความเสียง ) จาก
(1) อุบัติการณ์ทีเคยเกิดขึน : เกิดความเสียงแล้ว
(2) การวิเคราะห์กระบวนการ : ยังไม่เกิดความเสียง
(3) การประเมินผู้ป่วยแต่ละรายทีมารับบริการ
(4) การวิเคราะห์ผู้ป่วยรายกลุ่มโรค และนํามาสู่การกําหนดมาตรการ
ป้ องกัน ในเชิงกระบวนการคือ มีเป้ า มีกระบวนการ และมีผลลัพธ์ที
เกิดขึน อีกทังข้อมูลมีการเชือมโยงกับระบบบริหารจัดการความเสียง
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวน
การค้นหา/ป้ องกันความเสียง
หน่วยงาน ความเสียง การป้ องกัน
การทบทวนเหตุการณ์สําคัญ
หัวใจสําคัญของการทบทวนเหตุการณ์สําคัญ
การจัดการกับปัญหาทีรุนแรงอย่างเหมาะสม
มีการเรียนรู้และจัดระบบเพือป้ องกันมิให้เกิดปัญหาซํา
ขึนอีก
เหตุการณ์สําคัญอะไรบ้างทีควรนํามาทบทวน
ผู้ป่วยเสียชีวิตทุกราย ต้องได้รับการทบทวนทุกราย
ผู้ป่วยทีต้องมีการทํา CPR ต้องได้รับการทบทวนทุกราย
ผู้ป่วยทีมีภาวะแทรกซ้อนทุกราย ต้องได้รับการทบทวน
ผู้ป่วยทีญาติแสดงความไม่พอใจสูง มีโอกาสเกิดการ
ร้องเรียน ควรได้รับการทบทวน
อุบัติเหตุทีก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้ป่วย/เจ้าหน้าที
หลักคิดสําคัญในการทบทวน
ต้องรีบทบทวนทันทีเมือทราบเหตุ
เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ในสถานทีจริงให้มากทีสุด ทัง
จากการสัมภาษณ์ และหลักฐานทีเกียวข้องเพือมา
ประกอบการทบทวน
มองระบบทีเกียวข้องกับเหตุการณ์นีให้ครบถ้วน เพือเชิญ
เขาเหล่านันมาร่วมทบทวน
กรณีทีพบว่าเกิดจากความผิดพลาดของกระบวนการการ
ดูแลผู้ป่วย ให้หา Root Cause Analysis เพือการแก้ไข และ
กําหนดมาตรการป้ องกันทีป้ องกันไม่ให้เกิดความเสียงซําอีก
การป้ องกันควรเน้นการออกแบบระบบให้คนทํางานง่ายขึน
กรณีทีพบว่าเกิดจากความผิดพลาดของกระบวนการการดูแล
ผู้ป่วย ให้ระบุ root cause และแนวทางป้ องกัน มีการสือสารและ
ดูแลให้มีการปฏิบัติตามแนวทางป้ องกัน
มีการวิเคราะห์ความเสียงในกระบวนการสําคัญ ความเสียง
สําคัญ การคาดการณ์การป้ องกันการเกิดในเชิงรุก FMEA ( การ
กําหนดมาตรการการป้ องกันล่วงหน้า
ข้อมูลมีการเชือมโยงกับระบบบริหารจัดการความเสียง
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนเหตุการณ์สําคัญ
หน่วยงาน เหตุการณ์ทีทบทวน การปรับปรุงทีเกิดขึน
หัวใจสําคัญของการเฝ้ าระวังการติดเชือ
การรับรู้จุดทีเสียงต่อการติดเชือ ซึงจะนําไปสู่การ
ป้ องกันเพือให้เกิดความปลอดภัยทังต่อผู้ป่วยและ
เจ้าหน้าที
การเฝ้ าระวังการติดเชือ
กระบวนการการเฝ้ าระวังทีสําคัญ
เน้นการเฝ้ าระวังกระบวนการในการดูแลผู้ป่วย
มากกว่าผลลัพธ์ทีเกิดขึน
OPD เป็นจุดเสียงทีต้องเฝ้ าระวังไม่แพ้ IPD โดยเฉพาะ
อย่างยิง การติดเชือในระบบทางเดินหายใจ
และมีการเฝ้ าระวังต่อเนืองไปในชุมชนทีเราดูแลอยู่
ทบทวนเมือเกิดการติดเชือ และทบทวนการปฏิบัติตาม
มาตรการป้ องกันการติดเชือต่างๆทีทาง IC ทีได้วางไว้
เมือเกิดความเสียงเกิดขึนให้กําหนดมาตรการแก้ไข
ป้ องกัน ให้เป็นเชิงระบบ ในกรอบคิด เป้ าหมาย
กระบวนการ และผลลัพธ์ และนําไปสู่การเฝ้ าระวังและ
ป้ องกันการติดเชือในภาพรวมของโรงพยาบาล
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนการเฝ้ าระวังการติดเชือ
หน่วยงาน ความเสียงต่อการติดเชือ การป้ องกัน
หัวใจสําคัญการทบทวนความคลาดเคลือนทางยา
คือการรับรู้โอกาสเกิดความคลาดเคลือน ซึงจะนําไปสู่
การปรับปรุงเพือป้ องกันอันตรายจากการใช้ยา
การทบทวนความคลาดเคลือนทางยา
การเฝ้ าระวังความคลาดเคลือนทางยา
การเฝ้ าระวังคือการวางระบบให้เกิดความตืนตัว ความ
รับผิดชอบ และความมันใจว่าการรายงานความผิดพลาด
คลาดเคลือนเป็นเรืองปกติทีไม่เกิดผลเสียต่อผู้รายงาน
ควรครอบคลุมทุกขันตอน: การสังยา การจัดยา การให้
ยา
ควรเชือมโยงกับการเกิดเหตุการณ์ทีไม่พึงประสงค์
มีการตอบสนองต่อผลไม่พึงประสงค์ทีเกิดขึนอย่าง
รวดเร็ว
ควรครอบคลุมเหตุการณ์เกือบพลาด (near miss)
สิงสําคัญนอกเหนือจากการเฝ้ าระวัง
มีการทบทวนการใช้ยาทีมีความเสียงสูง เทียบกับแนว
ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
มีการทบทวนเมือเกิดผลทีไม่พึงประสงค์จากยา
การระบุยาทีมีความเสียงสูง (high alert drug) วาง
แนวทางการใช้ยาและมีการเฝ้ าระวัง ติดตามผล
การทบทวนคําสังใช้ยาเมือแรกรับ, เมือมีการ
เปลียนแปลงจุดให้บริการ, และเมือจําหน่าย
การประเมินความเข้าใจในการใช้ยาบางตัวทีใช้ยากใน
หน่วยงาน หรือไม่เคยใช้ในหน่วยงาน
ทบทวนเมือเกิดความคลาดเคลือนทางยาและเหตุการณ์ไม่พึง
ประสงค์จากยา
เมือเกิดความเสียงเกิดขึนให้กําหนดมาตรการแก้ไข ป้ องกัน ให้
เป็นเชิงระบบ ในกรอบคิด เป้ าหมาย กระบวนการ และผลลัพธ์
และนําไปสู่การเฝ้ าระวังความคลาดเคลือนทางยาในภาพรวม
ของโรงพยาบาล
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติใน
การเฝ้ าระวังความคลาดเคลือนทางยา
หน่วยงาน ความคลาดเคลือนทีพบ การปรับปรุงทีเกิดขึน
การทบทวนเวชระเบียน
เพือให้เห็นจุดอ่อนของการบันทึกเวชระเบียนทีเป็นอยู่
นําไปสู่การปรับปรุงวิธีการบันทึกให้เป็นประโยชน์ต่อ
การดูแลผู้ป่วย และการประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
มากขึน
หัวใจสําคัญของการทบทวนเวชระเบียน
การบันทึกเวชระเบียนทีดี
ควรบันทึกในขณะทีเรายังมีความทรงจําในปัญหา
ของผู้ป่วยอยู่ หรือไปบันทึกอยู่ทีหน้า/ข้างเตียง
ผู้ป่วย
ควรบันทึกเหตุผลของการกระทําควบคู่กับการ
กระทํา บันทึกทีมาของแผนการรักษาควบคู่กับ
แผน/คําสังการรักษา
ควรเลิกคัดลอกข้อความทีบันทึกตามๆ กันมา
การทบทวนการดูแลผู้ป่วยร่วมกับการทบทวนเวชระเบียน
เป็นสิงทีสมควรทําร่วมกันอย่างยิง
เพราะจะทําให้มีโอกาสทบทวนได้บ่อยขึน
และจะทําให้มีโอกาสปรับปรุงเวชระเบียนให้
สมบูรณ์มากขึน
รวมทังจะทําให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความ
เป็นจริงของผู้ป่วย กับสิงทีบันทึกในเวชระเบียน
และทําให้เกิดความสอดคล้องกันมากขึน
เลือกเวชระเบียนทีมีโอกาสพบปัญหามาทบทวนคุณภาพการ
ดูแล
เมือเกิดความเสียงเกิดขึนให้กําหนดมาตรการแก้ไข ป้ องกัน ให้
เป็นเชิงระบบ ในกรอบคิด เป้ าหมาย กระบวนการ และผลลัพธ์
และนําไปสู่การพัฒนาการบันทึก และความสมบูรณ์ของเวช
ระเบียน
ใช้ trigger เพือคัดเลือกเวชระเบียนมาทบทวนให้ครอบคลุมมาก
ขึน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนเวชระเบียน
หัวใจสําคัญของการทบทวนความรู้ทางวิชาการ
คือการเพิมคุณค่าให้แก่การดูแลผู้ป่วยด้วยข้อมูล
วิชาการทีทันสมัย
ทําในสิงทีเกิดประโยชน์กับผู้ป่วยให้มากขึน
ละเว้นการทําในสิงทีไม่เกิดประโยชน์
ตรวจรักษาโดยมีข้อบ่งชีทีเหมาะสมมากขึน
การทบทวนความรู้ทางวิชาการ
การทบทวนและนําไปใช้ประโยชน์
เมือทบทวนแล้วต้องถามว่าจะนําไปใช้ในการทํางาน
อย่างไร
อะไรเหมาะสมทีจะนํามาใช้
ทีทําอยู่ทุกวันนีแตกต่างไปจากความรู้ทีทบทวนอย่างไร
ถ้าจะปรับใช้ จะมีเป้ าหมายอย่างไร
จะทําให้เกิดการปรับปรุงเพือบรรลุเป้ าหมายอย่างไร
และเราจะประเมินผลอย่างไร
มีการทบทวนการปฏิบัติตาม guideline ซึงประกาศโดย
หน่วยงานทีเป็น authority
มีการนํา evidence-based guideline เข้าในกระบวนการดูแล
ผู้ป่วย และมีการประเมิน compliance ซึงแสดงให้เห็นว่าดีขึน
เป็นลําดับ
และนําไปสู่การใช้ evidence-based guideline ในทุกกลุ่มโรค
และขันตอนทีสําคัญ มีการตามรอยทางคลินิกและมีการประเมิน
outcome
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนความรู้ทางวิชาการ
หน่วยงาน โรค การปรับปรุงทีเกิดขึน
หัวใจสําคัญการทบทวนการใช้ทรัพยากร
คือการมองหาโอกาสปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้
ทรัพยากร กําหนดข้อตกลงร่วมกัน และพยายามปฏิบัติ
ตามข้อตกลงนัน โดยใช้การทบทวนและสะท้อนกลับเป็น
เครืองมือช่วย
การทบทวนการใช้ทรัพยากร
เราทบทวนทรัพยากรอะไรบ้าง
การทบทวนเหตุผลของการรับไว้นอนโรงพยาบาลในผู้ป่วยที
นอนโรงพยาบาลเพียงวันเดียว ซึงผู้ป่วยอาจต้องการเพียงการ
สังเกตอาการไม่กีชัวโมง หรืออาจจะเป็นเพราะเหตุผลด้าน
ระยะทาง ฯลฯ
การทบทวนข้อบ่งชีในการสังตรวจ investigate ต่างๆ เช่น 1)
routine CBC & UA, 2) routine preoperative invetigation,3)
การสังตรวจ CBC & blood chemistry ฉุกเฉินนอกเวลาราชการ
โดยไม่ได้ใช้ผลการตรวจในคืนนัน, โดยอาจจะมีการกําหนด
หลักเกณฑ์ในการส่งตรวจและทบทวนว่ามีการปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ดังกล่าวเพียงใด
เราทบทวนทรัพยากรอะไรบ้าง (ต่อ)
การทบทวนข้อบ่งชีในการใช้ยาและวัคซีน ซึงอาจจะ
เลือกยาและวัคซีนทีมีการใช้โดยไม่จําเป็นหรือไม่
เหมาะสมขึนมากําหนดข้อบ่งชีในการใช้ทีชัดเจน เช่น
การใช้ยาต้านจุลชีพใน URI และ diarrhea,
การทบทวนการใช้วัสดุเครืองใช้อืนๆ เครืองใช้สํานักงาน
นําประปา ไฟฟ้ า กระดาษ หมึกพิมพ์ วัสดุวิทยาศาสตร์
วัสดุทางการแพทย์ เป็นต้น
วิเคราะห์การใช้ทรัพยากรทีมีโอกาสเพิมประสิทธิภาพ กําหนด
ข้อบ่งชีการใช้ และทบทวนการปฏิบัติตามข้อบ่งบ่งชีนัน และ
นําไปสู่การพัฒนาปรับปรุงตามกรอบ เป้ าหมาย กระบวนการ
ผลลัพธ์ เพือลดการใช้ทรัพยากรทีไม่จําเป็น
มีการใช้แนวคิด Lean ( แนวคิดลดความซําซ้อน และเวลาใน
การปฏิบัติงาน ) เพือมาเพิมประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยกลุ่ม
โรคสําคัญ
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนการใช้ทรัพยากร
หน่วยงาน ทรัพยากรทีมีการทบทวน การปรับปรุงทีเกิดขึน
หัวใจสําคัญของการทบทวนเครืองชีวัด
เป็นการประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์หรือ
เป้ าหมายของหน่วยงานและการดูแลผู้ป่วย
การทบทวนเครืองชีวัด
การถ่ายทอดตัวชีวัด
ระดับ
องค์กร เป้ าประสงค์/ตัวชีวัดองค์กร
ผลงานทีตอบสนองต่อ
เป้ าหมายขององค์กร
ผลงานตามภารกิจอืนๆ
เป้ าประสงค์/ตัวชีระดับฝ่าย/หน่วยงาน
ระดับ
ฝ่าย/หน่วยงาน
ผลงานทีตอบสนองต่อ
เป้ าหมายของหัวหน้า
ผลงานทีตอบสนองต่อ
บทบาทหน้าทีทีรับผิดชอบ
ผลงานทีตอบสนองต่อ
ภารกิจอืนๆ
เป้ าประสงค์/ตัวชีระดับบุคคล
ระดับ
บุคคล
เลือกตัวชีวัด เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สือสารข้อมูล
แปลความหมาย
ตัดสินใจ
(ใช้ประโยชน์)
ควบคุมงานประจํา
ปรับปรุง/พัฒนา
เชิงกลยุทธ์
ทบทวน
การใช้ประโยชน์จากเครืองชีวัด
นันคือ เมือเลือกตัวชีวัดแล้ว ต้องมีการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลตามเวลาที
กําหนด ถ้าแนวโน้มดีเราจะทําให้ดีเพิมขึนได้อย่างไร ถ้าแนวโน้มไม่ดี เราจะทํา
อย่างไรให้ดีขึน
มีการทบทวนความเหมาะสมของตัวชีวัดทีกําหนดไว้
และการเชือมโยงของตัวชีวัด อีกทังในแต่ละหน่วยงาน/
ระบบงาน มีการปรับปรุงกระบวนการให้ตัวชีวัดบรรลุ
เป้ าหมาย ตามกรอบแนวคิด เป้ าหมาย กระบวนการ
ผลลัพธ์
ตัวอย่างผลการทบทวน
สิงทีควรปฏิบัติในการทบทวนเครืองชีวัด
ระดับ/หน่วยงาน เครืองชีวัดทีติดตาม การปรับปรุงทีเกิดขึน
ดังนันแล้ว
12 กิจกรรมทบทวน
จึงเป็นการค้นหาโอกาสในการพัฒนาทีดีสุด
เพราะเป็นการทบทวนตนเอง
รายงานตนเอง
พัฒนาตนเอง
และนําไปสู่การพัฒนา
ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ ความปลอดภัย
และเกิดความน่าไว้วางใจครับ

Contenu connexe

Tendances

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013
Warunee Eauchai
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 

Tendances (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
 
PDSA
PDSAPDSA
PDSA
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 

Plus de Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
Suradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 

Plus de Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 

12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon