SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
1
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
Complaints Management
โรงพยาบาลท่าฉาง
อําเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฏร์ธานี
2
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
1. วัตถุประสงค์
1.1 เพือให้ความคิดเห็น/คําร้องเรียนของผู้รับบริการได้รับการตอบสนองทีเหมาะสมและนําไปสู่การ
ปรับปรุงระบบงานให้ดีขึน
1.2 เพือเพิมความไวในการรับรู้ปัญหาและเกิดการตอบสนองทีรวดเร็ว และเหมาะสม
1.3 เพือเป็นแนวทางขันต้นในการเจรจาต่อรองไกลเกลีย เพือป้ องกันการฟ้ องร้อง
1.4 เพือสร้างความตระหนักให้แก่หน่วยงาน และเจ้าหน้าทีทุกระดับได้สนใจและทบทวนข้อร้องเรียน
ทีเกิดขึนซําๆ
2. ขอบเขต
รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้รับบริการ หรือแบบสอบถามความพึงพอใจต่อ
การบริการ หรือแบบรายงานข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ นํามาสู่การวิเคราะห์ข้อมูล นําส่งให้ผู้เกียวข้อง
ดําเนินการตอบสนอง/แก้ไขข้อร้องเรียน และนําเข้าสู่การทบทวนในคณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้อง
ทุกข์ และคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล
3. คําจํากัดความ
3.1 ข้อร้องเรียน หมายถึง คําร้องเรียนจาก ผู้ป่วย ญาติ ผู้รับบริการ ทังบุคลากรภายนอกหน่วย
และภายใน ทีไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการหรือความคาดหวัง ทําให้เกิดความไม่พึง
พอใจ และแจ้งขอให้ตรวจสอบ แก้ไข หรือปรับเปลียนการดําเนินการ
3.2 ข้อเสนอแนะ หมายถึง คําร้องเพือแจ้งให้ทราบ หรือแนะนํา เพือการปรับปรุงระบบการบริการ
สิงแวดล้อม และอืน ๆ ของโรงพยาบาล
3.3 ผู้ร้องเรียน หมายถึง ผู้ป่วย ญาติ ผู้รับบริการ,ประชาชนทัวไป, องค์กรภาครัฐ, ภาคเอกชน, ผู้
มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนผู้ติดต่อมายังโรงพยาบาล ผ่านช่องทางต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์
ครอบคลุมการร้องเรียน / การให้ข้อเสนอแนะ / การให้ข้อคิดเห็น / การชมเชย / การสอบถาม
หรือร้องขอข้อมูล
3.4 ช่องทางรับเรืองร้องเรียน หมายถึง ช่องทางทีสามารถรับ/ส่งเรืองร้องเรียนได้ ประกอบด้วยตู้
รับเรืองร้องเรียน ศูนย์รับเรืองราวร้องทุกข์งานประชาสัมพันธ์ หนังสือถึงผู้อํานวยการ
โรงพยาบาล ร้องเรียนด้วยตนเอง ร้องเรียนผ่านทาง web site และช่องทางอืนๆ เช่น ผ่านสือ
3.5 การจัดการข้อร้องเรียน หมายถึง การจัดการในเรือง ข้อร้องเรียน /ข้อเสนอแนะ /ข้อคิดเห็น /
คําชมเชย / การสอบถามหรือร้องขอข้อมูล
3.6 การเจรจาต่อรอง ไกล่เกลีย ขันต้น หมายถึง การทีทีมเจรจาต่อรองฯ ของหน่วยงาน เจรจา
ไกล่เกลียเฉพาะหน้าก่อน เมือพบเหตุการณ์ทีมีแนวโน้มทีจะฟ้ องร้องหรือร้องเรียน
3.7 ระดับความรุนแรง
3
ระดับ นิยาม ตัวอย่างเหตุการณ์ เวลาในการ
ตอบสนอง
ผู้รับผิดชอบ
1 ข้อคิดเห็น
ข้อเสนอแนะ
ผู้ร้องเรียนไม่ได้รับความ
เดือดร้อน แต่ติดต่อมา
เพือให้ข้อเสนอแนะ / ให้
ข้อคิดเห็น / ชมเชย / ใน
การให้บริการ
การเสนอแนะเกียวกับการ
ให้บริการแสถานทีของ
โรงพยาบาล
1วัน หน่วยงาน
2 ข้อร้องเรียน
เรืองเล็ก
ผู้ร้องเรียนได้รับความ
เดือดร้อน แต่มีการพูดคุย
และสามารถแก้ไขได้โดย
หน่วยงานเดียว
- การร้องเรียนเกียวกับ
พฤติกรรมการให้บริการของ
เจ้าหน้าทีในหน่วยงาน
- การร้องเรียนเกียวกับ
คุณภาพการให้บริการของ
หน่วยงาน
1วัน หน่วยงาน
3 ข้อร้องเรียน
เรืองใหญ่
- ผู้ร้องเรียนได้รับความ
เดือดร้อน มีการโต้แย้ง
เกิดขึน ไม่สามารถแก้ไข
ได้โดยหน่วยงานเดียว
ต้องอาศัยทีมไกลเกลีย
และอํานาจของคณะ
กรรมการบริหารในการ
แก้ไข
- เรืองทีสร้างความเสือม
เสียต่อชือเสียงของ
โรงพยาบาล
- การร้องเรียนคุณภาพการ
บริการของหน่วยงาน
การร้องเรียนพฤติกรรม
บริการของเจ้าหน้าที
- การร้องเรียนเกียวกับ
ความผิดวินัยร้ายแรงของ
เจ้าหน้าทีโรงพยาบาล
- การร้องเรียนความไม่
โปร่งใสของการจัดซือจัดจ้าง
- การร้องเรียนผ่านสือสังคม
ออนไลน์ ได้แก่ Facebook ,
E mail ,Website, กระทู้ต่างๆ
เป็นต้น
ไม่เกิน 5 วัน
ทําการ
- ทีมไกลเกลีย
- คณะกรรมการ
บริหาร
โรงพยาบาล
4 การฟ้ องร้อง ผู้ร้องเรียนได้รับความ
เดือดร้อน และร้องเรียน
ต่อสือมวลชน หรือ
ผู้บังคับบัญชาระดับ
จังหวัด หรือมีการฟ้ องร้อง
เกิดขึน
- การร้องเรียนคุณภาพการ
บริการของหน่วยงาน
การร้องเรียนพฤติกรรม
บริการของเจ้าหน้าที
- การร้องเรียนเกียวกับ
ความผิดวินัยร้ายแรงของ
เจ้าหน้าทีโรงพยาบาล
- การร้องเรียนความไม่
โปร่งใสของการจัดซือจัดจ้าง
- การเรียกร้องให้โรงพยาบาล
ชดเชยค่าเสียหายจากการ
ให้บริการทีผิดพลาด (ม. 41)
ไม่เกิน 5 วัน
ทําการ
- ทีมไกลเกลีย
- คณะกรรมการ
บริหาร
โรงพยาบาล
- หน่วยงาน
ระดับสูงขึนไป
เช่น สสจ.
4
4. นโยบายปฏิบัติ
4.1 จัดตังคณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ มีหน้าทีรับเรืองราวร้องเรียน /ฟ้ องร้อง,
บริหารจัดการข้อร้องเรียน รวมถึงการให้คําปรึกษา แนะนํา ประสานงานดําเนินการ
ตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริงเบืองต้น และจัดทํารายงานเสนอคณะกรรมการอํานวยการพัฒนา
คุณภาพ เพือนําเสนอพิจารณาในการปรับปรุงเชิงระบบต่อไป
4.2 จัดตังคณะกรรมการเจรจาไกล่เกลียโดยมีหน้าที กําหนดนโยบายในการเจรจาไกล่เกลียด้าน
สาธารณสุขด้วยสันติวิธี กํากับ และติดตามประเมินผล รวมทังไกล่เกลียกรณีพิพาท/ข้อขัดแย้ง ที
เกิดขึนในหน่วยงาน
4.3 กําหนดให้มีช่องทางการรับเรืองข้อร้องเรียน
 ตู้รับเรืองราวร้องเรียน
 ร้องเรียนผ่านทางจดหมายถึงผู้เกียวข้อง เช่น ผู้อํานวยการโรงพยาบาล
 ร้องเรียนด้วยตนเอง กรณีไม่มีหนังสือร้องเรียนให้มีการบันทึกรายละเอียดการร้องเรียน พร้อม
ชือ-นามสกุล ลงลายมือชือ พร้อมทีอยู่ เบอร์โทรศัพท์ทีสามารถติดต่อได้
 ร้องเรียนทางโทรศัพท์ ให้มีการบันทึกรายละเอียด การร้องเรียน พร้อมให้ ลงลายมือชือทีอยู่
โทรศัพท์ ทีสามารถติดต่อได้
 ร้องเรียนผ่านทาง Internet / Intranet ให้ ผู้ดูแลระบบ รวบรวมข้อมูล
 ร้องเรียน ทางสือ สิงพิมพ์ / สือมวลชน ให้งานประชาสัมพันธ์ รวบรวมข้อมูล ส่งงานพัฒนา
คุณภาพ
4.4 ทุกฝ่ายฯ งานฯ นํามาตรฐานเชิงนโยบาย เรือง “การบริหารจัดการข้อร้องเรียน” ใช้เป็นแนวทาง
ในการปฏิบัติควบคุม กํากับ ติดตาม ในหน่วยงาน
5. ขันตอนการปฏิบัติ
หน่วยงาน
1. หัวหน้าหน่วยงานทีได้รับเรืองร้องเรียน จากทุกช่องทาง
 ในกรณีทัวไป แก้ปัญหาทันที เพือลดการฟ้ องร้องและให้ผู้รับบริการรู้สึกดีขึน
 กรณีทีเกิดขึนซํากัน บ่อยครัง และมีจํานวนมาก ให้วิเคราะห์สาเหตุสําคัญ และ
ปรับปรุงระบบทีเกียวข้อง เพือป้ องกันมิให้เกิดซํา
 กรณีทีเป็นเหตุการณ์ทีรุนแรง มีแนวโน้มทีจะมีการฟ้ องร้องเกิดขึนเช่น มี
อุบัติการณ์ทางคลินิกทีรุนแรง เหตุการณ์ไม่พึงพอใจ เหตุการณ์ทีอาจส่งผลกระทบ
ต่อชือเสียงของโรงพยาบาล เป็นต้น ให้ผู้ทีประสบเหตุการณ์ในหน่วยงาน ประสาน
ไปทีทีมไกล่เกลียให้มาดําเนินการเจราจาเพือยุติข้อขัดแย้ง และไกล่เกลียเพือลด
การฟ้ องร้อง
2. มีการทบทวนคําร้องเรียน ทุกวัน
5
3. รายงานผลการดําเนินการ มาให้คณะกรรมการ ภายในเวลาทีกําหนด คณะกรรมการบริหาร
จัดการความเสียง
คณะกรรมการบริหารจัดการความเสียง
1. รับและส่งข้อมูล/เรืองร้องเรียน ให้หน่วยงานเพือแก้ไขปรับปรุงผ่านผู้อํานวยการ
โรงพยาบาล
2. ดําเนินการพิจารณา แบ่งระดับความรุนแรง คัดแยกข้อมูล ประเภทเรือง ตรวจสอบข้อมูล
ข้อเท็จจริง
3. บันทึก/สรุปข้อมูลการร้องเรียน ผลการปรับปรุงทีได้รับจากหน่วยงาน และจัดทํารายงานต่อ
คณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ เพือพิจารณาดําเนินการต่อไป
คณะกรรมการเจรจาไกล่เกลีย
1. ให้การช่วยเหลือเบืองต้นทันที กรณีทีมีปัญหาข้อขัดแย้ง และหรือมีแนวโน้มจะเกิดข้อ
ร้องเรียน / ฟ้ องร้องเพือหาช่องทางประนีประนอม แก้ไขปัญหา หรือยุติข้อขัดแย้ง
2. กรณีเรืองร้องเรียน / ฟ้ องร้องทีไม่สามารถยุติได้ในระดับหน่วยงาน หรือ ให้คณะกรรมการ
ดําเนินการ สืบสวนข้อเท็จจริงกับหน่วยงานทีเกียวข้อง
3. ดําเนินการเจรจาไกล่เกลีย ตามขันตอนและกระบวนการ จนสามารถยุติได้
4. จัดทํารายงานความเห็น และข้อเสนอแนะเกียวกับเรืองทีร้องเรียนเสนอต่อคณะกรรมการรับ
เรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ และคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล
คณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์
1. รับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์
2. บันทึกข้อร้องเรียนผ่านระบบ Data center ของ สปสช.
3. ประสานงานทีเกียวข้องทังหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
4. ให้คําปรึกษาแนะนําเรืองการใช้สิทธิ การรักษาแก่ผู้รับบริการและประชาชน
5. จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์แนวทางแก้ไขตามข้อร้องเรียน
6. ประสานงานทะเบียนราษฎร์ในการตรวจสอบความถูกต้องของผู้มารับบริการ
7. งานรับเงินช่วยเหลือเบืองต้น ทังมาตรา 41 และ 18(4)
6. กลุ่มเป้ าหมาย
บุคลากรทุกคนในโรงพยาบาล ผู้ป่วยและญาติ รวมทังผู้ทีมีส่วนได้ส่วนเสีย
7. ผู้รับผิดชอบ
1. ผู้บริหารโรงพยาบาล
2. คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล
3. ทีมไกลเกลีย
4. คณะกรรมการบริหารจัดการความเสียง
6
5. คณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์
6. หน่วยงาน
7. บุคลากรทุกคน
8. เกณฑ์ชีวัด
1. จํานวนข้อร้องเรียนลดลง 10 %
2. จํานวนข้อร้องเรียนทีได้รับการตอบสนอง 100 %
9. การประเมินผล
ประเมินโดยภาพรวมของโรงพยาบาล
7
ภาคผนวก
แก้ไขได้
แก้ไขได้
แก้ไขได้
แก้ไขได้
การรับความคิดเห็น/ข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการ
- ค้นหาผู้ประสบปัญหาในการรับบริการ
- การรับฟังคําข้อร้องเรียนของผู้รับบริการโดยตรง
- เปิดตู้รับความคิดเห็น
- รับแจ้งทางโทรศัพท์
- รับฟังเสียงสะท้อนจากชุมชน
- บันทึกในแบบบันทึกเรืองร้องเรียน
- รับข้อมูลจากสังคมออนไลน์ต่างๆ
- การสอบถามความคิดเห็น
/คําร้องเรียนของผู้รับบริการ
ผู้พบเหตุดําเนินการตอบสนอง
หรือแก้ไขเฉพาะ
แจ้งหัวหน้าฝ่าย/
หัวหน้างานเพือแก้ไขปัญหา
ทีมไกล่เกลีย
แจ้งผู้อํานวยการ
โรงพยาบาล
ปรึกษานิติกร สสจ.
บันทึกในแบบบันทึกเรือง
ร้องเรียน
คัดยอดสรุปรายงานความ
คิดเห็น คําร้องเรียนของ
ผู้รับบริการทุก 6 เดือน ส่งให้
คณะกรรมการบริหารจัดการ
ความเสียง
นําส่งแบบบันทึกเรืองร้องเรียน/
ความคิดเห็นให้เลขานุการ
คณะกรรมการบริหารจัดการ
ความเสียงภายใน 1 วัน เพือให้
ดําเนินการตามแนวทางการ
จัดการความเสียงต่อไป
และนําเสนอข้อมูลต่อ
คณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน
ร้องทุกข์ และคณะกรรมการ
บริหารต่อไป
แก้ไขไม่ได้
แก้ไขไม่ได้
แก้ไขไม่ได้
แก้ไขไม่ได้
8
การรับรู้ความคิดเห็นของผู้รับบริการ
กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ การดําเนินการ ความถี
1. เปิดตู้รับความคิดเห็น - เลขานุการ
คณะกรรมการ
บริหารความเสียง
- หัวหน้าหน่วยงาน
ส่งข้อมูลให้ทีมบริหารความเสียงลงทะเบียนความ
คิดเห็นและคําร้องเรียนของผู้รับบริการถ่ายเอกสาร
ให้หน่วยงานทีเกียวข้องและถ่ายเอกสารให้
ประชาสัมพันธ์สอบถามข้อมูลเพิมเติมถ้าสามารถ
ติดต่อได้และส่งข้อมูลให้หน่วยงานทีเกียวข้อง
เปิดตู้รับ
ความ
คิดเห็นทุก
ตู้ ทุกวัน
ราชการ
2. ค้นหาผู้ประสบปัญหาใน
การรับบริการ
พยาบาล
ประชาสัมพันธ์
OPD,IPD
ทุกหน่วยงาน
เป็นการค้นหาเชิงรุกด้วยการสังเกตอาการของ
ผู้รับบริการทีมีท่าทีหรือสีหน้าไม่สบอารมณ์เข้าไป
พูดคุยเพือรับทราบปัญหา ค้นหาสาเหตุและ
ดําเนินการแก้ไขทันทีหรือเขียนในแบบบันทึกเรือง
ร้องเรียนของผู้รับบริการส่งให้เลขานุการความเสียง
ลงทะเบียน เพือให้หน่วยงานทีเกียวข้องดําเนินการ
แก้ไข ป้ องกันต่อไป
ทุกวัน
3. รับความคิดเห็น/คํา
ร้องเรียนทางโทรศัพท์ และ
จากสังคมออนไลน์ต่างๆ
ทุกหน่วยงาน บุคลากรทีได้รับความคิดเห็น/คําร้องเรียนทาง
โทรศัพท์ หรือจากสังคมออนไลน์ต่างๆ เขียนใน
แบบบันทึกเรืองร้องเรียนของผู้รับบริการส่งให้
เลขานุการความเสียงลงทะเบียน
ทุกวัน
4. การรับฟังเสียงสะท้อน
จากชุมชน
- งานเวชปฏิบัติ
ครอบครัว และ
ชุมชน
- เยียมบ้าน
- ตัวแทน
ผู้อํานวยการประชุม
ผู้ใหญ่บ้าน/กํานัน
เป็นการรับฟังเสียงสะท้อนเชิงรุกโดยการสอบถาม
ความพึงพอใจและสิงทีต้องการให้มีการปรับปรุง
แก้ไข โดยทําผสมผสานกับกิจกรรมทีทําอยู่แล้ว
เช่น การเยียมบ้าน โดยเขียนในแบบบันทึกเรือง
ร้องเรียนของผู้รับบริการส่งให้เลขานุการความเสียง
ลงทะเบียน
- ทุกครังที
เข้าเยียม
บ้าน
- ทุกครังที
มีการ
ประชุม
5. สํารวจความพึงพอใจ
ของผู้รับบริการ
ทุกหน่วยงาน การรวบรวมความพึงพอใจของผู้รับบริการจาก
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการบริการของ
โรงพยาบาลท่าฉาง มีขันตอนการปฏิบัติดังนี
1. ประชุมชีแจงขันตอนการเก็บข้อมูลให้ผู้เก็บ
ข้อมูลรับทราบเพือความถูกต้อง ครบถ้วน โดยมี
หลักเกณฑ์ดังนี
1.1 ผู้เก็บข้อมูลแจ้งให้ผู้รับบริการทราบถึง
วัตถุประสงค์และวิธีการทําแบบสอบถาม
1.2 กรณีผู้รับบริการสามารถตอบแบบสอบถามได้
ให้ผู้รับบริการตอบเอง
1.3 กรณีผู้รับบริการไม่สามารถตอบแบบสอบถาม
ได้เองให้ผู้เก็บข้อมูลอ่านให้ฟังและให้ผู้รับบริการ
ตอบ โดยเจ้าหน้าทีเป็นผู้บันทึกให้
ทุก 6 เดือน
และส่งผล
สรุปการ
สํารวจความ
พึงพอใจของ
ผู้รับบริการให้
เลขานุการ
ความเสียง
เพือนําส่งให้
หน่วยงานที
เกียวข้อง
ดําเนินการ
กําหนด
มาตรการ
แก้ไข/ป้ องกัน
ต่อไป
9
แบบบันทึกเรืองร้องเรียน โรงพยาบาลท่าฉาง
เลขทีข้อร้องเรียน….............
วันทีรับแจ้ง ……................……… เวลา ..........………น.
ข้อมูลการรับเรือง
ชือผู้แจ้ง………………..............………..........………… ความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ ......……………………….
ทีอยู่………………………...................................…………………………. เบอร์โทรศัพท์……………..…….......
ช่องทางรับเรือง………...………..………………………… ผู้รับเรือง…………..........................………...............
ข้อมูลผู้รับบริการ
ชือผู้รับบริการ…………….................................................................................................……………………..
เลขทีประจําตัวประชาชน……….......................................……………………..อายุ…..............ปี เพศ…............
สิทธิ………...…...............เลขทีบัตรประกันสุขภาพ…….......………………จังหวัดทีลงทะเบียน…......………….
หน่วยบริการปฐมภูมิ……......…………......………………หน่วยบริการรับส่งต่อ……....………....…………........
รายละเอียดเรืองร้องเรียน
ประเด็นเรืองร้องเรียน……………………………....................................…………………………………………..
หน่วยบริการทีถูกร้องเรียน……………....…………….....…………………จังหวัด…….................……………….
สรุปประเด็นเรืองร้องเรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………
ระดับความรุนแรง …….........…………………..
สรุปยุติเรืองร้องเรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………
วันทียุติ ………………………………จํานวนวันทีแก้ไขปัญหา…………วันทําการ
…………………………........................……… ผู้รายงาน/บันทึก
อ้างอิงจาก ตัวอย่างแบบบันทึกข้อร้องเรียน : มาตรฐานการดําเนินงาน ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพในหน่วยบริการ

Contenu connexe

Tendances

สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
supap6259
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
kruteerapol
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
Krumai Kjna
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
maethaya
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
teerachon
 

Tendances (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
Ans n9-w1-1
Ans n9-w1-1Ans n9-w1-1
Ans n9-w1-1
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 

Similaire à การบริหารจัดการข้อร้องเรียน

คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาล
Nongpla Narak
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Prakaywan Tumsangwan
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Kaii Eiei
 
เครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน ภาคอีสาน
เครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน ภาคอีสานเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน ภาคอีสาน
เครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน ภาคอีสาน
taem
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
taem
 

Similaire à การบริหารจัดการข้อร้องเรียน (20)

เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภูเรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาล
 
Group5
Group5Group5
Group5
 
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบO 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
 
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
งานขั้นตอนการปฏิบัติงานของสารบรรณ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
บรรยาย
บรรยายบรรยาย
บรรยาย
 
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
Museum inFocus#2
Museum inFocus#2Museum inFocus#2
Museum inFocus#2
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน ภาคอีสาน
เครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน ภาคอีสานเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน ภาคอีสาน
เครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน ภาคอีสาน
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
Group1
Group1Group1
Group1
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 

Plus de Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
Suradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 

Plus de Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 

การบริหารจัดการข้อร้องเรียน

  • 2. 2 การบริหารจัดการข้อร้องเรียน 1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพือให้ความคิดเห็น/คําร้องเรียนของผู้รับบริการได้รับการตอบสนองทีเหมาะสมและนําไปสู่การ ปรับปรุงระบบงานให้ดีขึน 1.2 เพือเพิมความไวในการรับรู้ปัญหาและเกิดการตอบสนองทีรวดเร็ว และเหมาะสม 1.3 เพือเป็นแนวทางขันต้นในการเจรจาต่อรองไกลเกลีย เพือป้ องกันการฟ้ องร้อง 1.4 เพือสร้างความตระหนักให้แก่หน่วยงาน และเจ้าหน้าทีทุกระดับได้สนใจและทบทวนข้อร้องเรียน ทีเกิดขึนซําๆ 2. ขอบเขต รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้รับบริการ หรือแบบสอบถามความพึงพอใจต่อ การบริการ หรือแบบรายงานข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ นํามาสู่การวิเคราะห์ข้อมูล นําส่งให้ผู้เกียวข้อง ดําเนินการตอบสนอง/แก้ไขข้อร้องเรียน และนําเข้าสู่การทบทวนในคณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้อง ทุกข์ และคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล 3. คําจํากัดความ 3.1 ข้อร้องเรียน หมายถึง คําร้องเรียนจาก ผู้ป่วย ญาติ ผู้รับบริการ ทังบุคลากรภายนอกหน่วย และภายใน ทีไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการหรือความคาดหวัง ทําให้เกิดความไม่พึง พอใจ และแจ้งขอให้ตรวจสอบ แก้ไข หรือปรับเปลียนการดําเนินการ 3.2 ข้อเสนอแนะ หมายถึง คําร้องเพือแจ้งให้ทราบ หรือแนะนํา เพือการปรับปรุงระบบการบริการ สิงแวดล้อม และอืน ๆ ของโรงพยาบาล 3.3 ผู้ร้องเรียน หมายถึง ผู้ป่วย ญาติ ผู้รับบริการ,ประชาชนทัวไป, องค์กรภาครัฐ, ภาคเอกชน, ผู้ มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนผู้ติดต่อมายังโรงพยาบาล ผ่านช่องทางต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์ ครอบคลุมการร้องเรียน / การให้ข้อเสนอแนะ / การให้ข้อคิดเห็น / การชมเชย / การสอบถาม หรือร้องขอข้อมูล 3.4 ช่องทางรับเรืองร้องเรียน หมายถึง ช่องทางทีสามารถรับ/ส่งเรืองร้องเรียนได้ ประกอบด้วยตู้ รับเรืองร้องเรียน ศูนย์รับเรืองราวร้องทุกข์งานประชาสัมพันธ์ หนังสือถึงผู้อํานวยการ โรงพยาบาล ร้องเรียนด้วยตนเอง ร้องเรียนผ่านทาง web site และช่องทางอืนๆ เช่น ผ่านสือ 3.5 การจัดการข้อร้องเรียน หมายถึง การจัดการในเรือง ข้อร้องเรียน /ข้อเสนอแนะ /ข้อคิดเห็น / คําชมเชย / การสอบถามหรือร้องขอข้อมูล 3.6 การเจรจาต่อรอง ไกล่เกลีย ขันต้น หมายถึง การทีทีมเจรจาต่อรองฯ ของหน่วยงาน เจรจา ไกล่เกลียเฉพาะหน้าก่อน เมือพบเหตุการณ์ทีมีแนวโน้มทีจะฟ้ องร้องหรือร้องเรียน 3.7 ระดับความรุนแรง
  • 3. 3 ระดับ นิยาม ตัวอย่างเหตุการณ์ เวลาในการ ตอบสนอง ผู้รับผิดชอบ 1 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ผู้ร้องเรียนไม่ได้รับความ เดือดร้อน แต่ติดต่อมา เพือให้ข้อเสนอแนะ / ให้ ข้อคิดเห็น / ชมเชย / ใน การให้บริการ การเสนอแนะเกียวกับการ ให้บริการแสถานทีของ โรงพยาบาล 1วัน หน่วยงาน 2 ข้อร้องเรียน เรืองเล็ก ผู้ร้องเรียนได้รับความ เดือดร้อน แต่มีการพูดคุย และสามารถแก้ไขได้โดย หน่วยงานเดียว - การร้องเรียนเกียวกับ พฤติกรรมการให้บริการของ เจ้าหน้าทีในหน่วยงาน - การร้องเรียนเกียวกับ คุณภาพการให้บริการของ หน่วยงาน 1วัน หน่วยงาน 3 ข้อร้องเรียน เรืองใหญ่ - ผู้ร้องเรียนได้รับความ เดือดร้อน มีการโต้แย้ง เกิดขึน ไม่สามารถแก้ไข ได้โดยหน่วยงานเดียว ต้องอาศัยทีมไกลเกลีย และอํานาจของคณะ กรรมการบริหารในการ แก้ไข - เรืองทีสร้างความเสือม เสียต่อชือเสียงของ โรงพยาบาล - การร้องเรียนคุณภาพการ บริการของหน่วยงาน การร้องเรียนพฤติกรรม บริการของเจ้าหน้าที - การร้องเรียนเกียวกับ ความผิดวินัยร้ายแรงของ เจ้าหน้าทีโรงพยาบาล - การร้องเรียนความไม่ โปร่งใสของการจัดซือจัดจ้าง - การร้องเรียนผ่านสือสังคม ออนไลน์ ได้แก่ Facebook , E mail ,Website, กระทู้ต่างๆ เป็นต้น ไม่เกิน 5 วัน ทําการ - ทีมไกลเกลีย - คณะกรรมการ บริหาร โรงพยาบาล 4 การฟ้ องร้อง ผู้ร้องเรียนได้รับความ เดือดร้อน และร้องเรียน ต่อสือมวลชน หรือ ผู้บังคับบัญชาระดับ จังหวัด หรือมีการฟ้ องร้อง เกิดขึน - การร้องเรียนคุณภาพการ บริการของหน่วยงาน การร้องเรียนพฤติกรรม บริการของเจ้าหน้าที - การร้องเรียนเกียวกับ ความผิดวินัยร้ายแรงของ เจ้าหน้าทีโรงพยาบาล - การร้องเรียนความไม่ โปร่งใสของการจัดซือจัดจ้าง - การเรียกร้องให้โรงพยาบาล ชดเชยค่าเสียหายจากการ ให้บริการทีผิดพลาด (ม. 41) ไม่เกิน 5 วัน ทําการ - ทีมไกลเกลีย - คณะกรรมการ บริหาร โรงพยาบาล - หน่วยงาน ระดับสูงขึนไป เช่น สสจ.
  • 4. 4 4. นโยบายปฏิบัติ 4.1 จัดตังคณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ มีหน้าทีรับเรืองราวร้องเรียน /ฟ้ องร้อง, บริหารจัดการข้อร้องเรียน รวมถึงการให้คําปรึกษา แนะนํา ประสานงานดําเนินการ ตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริงเบืองต้น และจัดทํารายงานเสนอคณะกรรมการอํานวยการพัฒนา คุณภาพ เพือนําเสนอพิจารณาในการปรับปรุงเชิงระบบต่อไป 4.2 จัดตังคณะกรรมการเจรจาไกล่เกลียโดยมีหน้าที กําหนดนโยบายในการเจรจาไกล่เกลียด้าน สาธารณสุขด้วยสันติวิธี กํากับ และติดตามประเมินผล รวมทังไกล่เกลียกรณีพิพาท/ข้อขัดแย้ง ที เกิดขึนในหน่วยงาน 4.3 กําหนดให้มีช่องทางการรับเรืองข้อร้องเรียน  ตู้รับเรืองราวร้องเรียน  ร้องเรียนผ่านทางจดหมายถึงผู้เกียวข้อง เช่น ผู้อํานวยการโรงพยาบาล  ร้องเรียนด้วยตนเอง กรณีไม่มีหนังสือร้องเรียนให้มีการบันทึกรายละเอียดการร้องเรียน พร้อม ชือ-นามสกุล ลงลายมือชือ พร้อมทีอยู่ เบอร์โทรศัพท์ทีสามารถติดต่อได้  ร้องเรียนทางโทรศัพท์ ให้มีการบันทึกรายละเอียด การร้องเรียน พร้อมให้ ลงลายมือชือทีอยู่ โทรศัพท์ ทีสามารถติดต่อได้  ร้องเรียนผ่านทาง Internet / Intranet ให้ ผู้ดูแลระบบ รวบรวมข้อมูล  ร้องเรียน ทางสือ สิงพิมพ์ / สือมวลชน ให้งานประชาสัมพันธ์ รวบรวมข้อมูล ส่งงานพัฒนา คุณภาพ 4.4 ทุกฝ่ายฯ งานฯ นํามาตรฐานเชิงนโยบาย เรือง “การบริหารจัดการข้อร้องเรียน” ใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติควบคุม กํากับ ติดตาม ในหน่วยงาน 5. ขันตอนการปฏิบัติ หน่วยงาน 1. หัวหน้าหน่วยงานทีได้รับเรืองร้องเรียน จากทุกช่องทาง  ในกรณีทัวไป แก้ปัญหาทันที เพือลดการฟ้ องร้องและให้ผู้รับบริการรู้สึกดีขึน  กรณีทีเกิดขึนซํากัน บ่อยครัง และมีจํานวนมาก ให้วิเคราะห์สาเหตุสําคัญ และ ปรับปรุงระบบทีเกียวข้อง เพือป้ องกันมิให้เกิดซํา  กรณีทีเป็นเหตุการณ์ทีรุนแรง มีแนวโน้มทีจะมีการฟ้ องร้องเกิดขึนเช่น มี อุบัติการณ์ทางคลินิกทีรุนแรง เหตุการณ์ไม่พึงพอใจ เหตุการณ์ทีอาจส่งผลกระทบ ต่อชือเสียงของโรงพยาบาล เป็นต้น ให้ผู้ทีประสบเหตุการณ์ในหน่วยงาน ประสาน ไปทีทีมไกล่เกลียให้มาดําเนินการเจราจาเพือยุติข้อขัดแย้ง และไกล่เกลียเพือลด การฟ้ องร้อง 2. มีการทบทวนคําร้องเรียน ทุกวัน
  • 5. 5 3. รายงานผลการดําเนินการ มาให้คณะกรรมการ ภายในเวลาทีกําหนด คณะกรรมการบริหาร จัดการความเสียง คณะกรรมการบริหารจัดการความเสียง 1. รับและส่งข้อมูล/เรืองร้องเรียน ให้หน่วยงานเพือแก้ไขปรับปรุงผ่านผู้อํานวยการ โรงพยาบาล 2. ดําเนินการพิจารณา แบ่งระดับความรุนแรง คัดแยกข้อมูล ประเภทเรือง ตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง 3. บันทึก/สรุปข้อมูลการร้องเรียน ผลการปรับปรุงทีได้รับจากหน่วยงาน และจัดทํารายงานต่อ คณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ เพือพิจารณาดําเนินการต่อไป คณะกรรมการเจรจาไกล่เกลีย 1. ให้การช่วยเหลือเบืองต้นทันที กรณีทีมีปัญหาข้อขัดแย้ง และหรือมีแนวโน้มจะเกิดข้อ ร้องเรียน / ฟ้ องร้องเพือหาช่องทางประนีประนอม แก้ไขปัญหา หรือยุติข้อขัดแย้ง 2. กรณีเรืองร้องเรียน / ฟ้ องร้องทีไม่สามารถยุติได้ในระดับหน่วยงาน หรือ ให้คณะกรรมการ ดําเนินการ สืบสวนข้อเท็จจริงกับหน่วยงานทีเกียวข้อง 3. ดําเนินการเจรจาไกล่เกลีย ตามขันตอนและกระบวนการ จนสามารถยุติได้ 4. จัดทํารายงานความเห็น และข้อเสนอแนะเกียวกับเรืองทีร้องเรียนเสนอต่อคณะกรรมการรับ เรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ และคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล คณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ 1. รับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ 2. บันทึกข้อร้องเรียนผ่านระบบ Data center ของ สปสช. 3. ประสานงานทีเกียวข้องทังหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก 4. ให้คําปรึกษาแนะนําเรืองการใช้สิทธิ การรักษาแก่ผู้รับบริการและประชาชน 5. จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์แนวทางแก้ไขตามข้อร้องเรียน 6. ประสานงานทะเบียนราษฎร์ในการตรวจสอบความถูกต้องของผู้มารับบริการ 7. งานรับเงินช่วยเหลือเบืองต้น ทังมาตรา 41 และ 18(4) 6. กลุ่มเป้ าหมาย บุคลากรทุกคนในโรงพยาบาล ผู้ป่วยและญาติ รวมทังผู้ทีมีส่วนได้ส่วนเสีย 7. ผู้รับผิดชอบ 1. ผู้บริหารโรงพยาบาล 2. คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล 3. ทีมไกลเกลีย 4. คณะกรรมการบริหารจัดการความเสียง
  • 6. 6 5. คณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ 6. หน่วยงาน 7. บุคลากรทุกคน 8. เกณฑ์ชีวัด 1. จํานวนข้อร้องเรียนลดลง 10 % 2. จํานวนข้อร้องเรียนทีได้รับการตอบสนอง 100 % 9. การประเมินผล ประเมินโดยภาพรวมของโรงพยาบาล
  • 7. 7 ภาคผนวก แก้ไขได้ แก้ไขได้ แก้ไขได้ แก้ไขได้ การรับความคิดเห็น/ข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการ - ค้นหาผู้ประสบปัญหาในการรับบริการ - การรับฟังคําข้อร้องเรียนของผู้รับบริการโดยตรง - เปิดตู้รับความคิดเห็น - รับแจ้งทางโทรศัพท์ - รับฟังเสียงสะท้อนจากชุมชน - บันทึกในแบบบันทึกเรืองร้องเรียน - รับข้อมูลจากสังคมออนไลน์ต่างๆ - การสอบถามความคิดเห็น /คําร้องเรียนของผู้รับบริการ ผู้พบเหตุดําเนินการตอบสนอง หรือแก้ไขเฉพาะ แจ้งหัวหน้าฝ่าย/ หัวหน้างานเพือแก้ไขปัญหา ทีมไกล่เกลีย แจ้งผู้อํานวยการ โรงพยาบาล ปรึกษานิติกร สสจ. บันทึกในแบบบันทึกเรือง ร้องเรียน คัดยอดสรุปรายงานความ คิดเห็น คําร้องเรียนของ ผู้รับบริการทุก 6 เดือน ส่งให้ คณะกรรมการบริหารจัดการ ความเสียง นําส่งแบบบันทึกเรืองร้องเรียน/ ความคิดเห็นให้เลขานุการ คณะกรรมการบริหารจัดการ ความเสียงภายใน 1 วัน เพือให้ ดําเนินการตามแนวทางการ จัดการความเสียงต่อไป และนําเสนอข้อมูลต่อ คณะกรรมการรับเรืองร้องเรียน ร้องทุกข์ และคณะกรรมการ บริหารต่อไป แก้ไขไม่ได้ แก้ไขไม่ได้ แก้ไขไม่ได้ แก้ไขไม่ได้
  • 8. 8 การรับรู้ความคิดเห็นของผู้รับบริการ กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ การดําเนินการ ความถี 1. เปิดตู้รับความคิดเห็น - เลขานุการ คณะกรรมการ บริหารความเสียง - หัวหน้าหน่วยงาน ส่งข้อมูลให้ทีมบริหารความเสียงลงทะเบียนความ คิดเห็นและคําร้องเรียนของผู้รับบริการถ่ายเอกสาร ให้หน่วยงานทีเกียวข้องและถ่ายเอกสารให้ ประชาสัมพันธ์สอบถามข้อมูลเพิมเติมถ้าสามารถ ติดต่อได้และส่งข้อมูลให้หน่วยงานทีเกียวข้อง เปิดตู้รับ ความ คิดเห็นทุก ตู้ ทุกวัน ราชการ 2. ค้นหาผู้ประสบปัญหาใน การรับบริการ พยาบาล ประชาสัมพันธ์ OPD,IPD ทุกหน่วยงาน เป็นการค้นหาเชิงรุกด้วยการสังเกตอาการของ ผู้รับบริการทีมีท่าทีหรือสีหน้าไม่สบอารมณ์เข้าไป พูดคุยเพือรับทราบปัญหา ค้นหาสาเหตุและ ดําเนินการแก้ไขทันทีหรือเขียนในแบบบันทึกเรือง ร้องเรียนของผู้รับบริการส่งให้เลขานุการความเสียง ลงทะเบียน เพือให้หน่วยงานทีเกียวข้องดําเนินการ แก้ไข ป้ องกันต่อไป ทุกวัน 3. รับความคิดเห็น/คํา ร้องเรียนทางโทรศัพท์ และ จากสังคมออนไลน์ต่างๆ ทุกหน่วยงาน บุคลากรทีได้รับความคิดเห็น/คําร้องเรียนทาง โทรศัพท์ หรือจากสังคมออนไลน์ต่างๆ เขียนใน แบบบันทึกเรืองร้องเรียนของผู้รับบริการส่งให้ เลขานุการความเสียงลงทะเบียน ทุกวัน 4. การรับฟังเสียงสะท้อน จากชุมชน - งานเวชปฏิบัติ ครอบครัว และ ชุมชน - เยียมบ้าน - ตัวแทน ผู้อํานวยการประชุม ผู้ใหญ่บ้าน/กํานัน เป็นการรับฟังเสียงสะท้อนเชิงรุกโดยการสอบถาม ความพึงพอใจและสิงทีต้องการให้มีการปรับปรุง แก้ไข โดยทําผสมผสานกับกิจกรรมทีทําอยู่แล้ว เช่น การเยียมบ้าน โดยเขียนในแบบบันทึกเรือง ร้องเรียนของผู้รับบริการส่งให้เลขานุการความเสียง ลงทะเบียน - ทุกครังที เข้าเยียม บ้าน - ทุกครังที มีการ ประชุม 5. สํารวจความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ ทุกหน่วยงาน การรวบรวมความพึงพอใจของผู้รับบริการจาก แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการบริการของ โรงพยาบาลท่าฉาง มีขันตอนการปฏิบัติดังนี 1. ประชุมชีแจงขันตอนการเก็บข้อมูลให้ผู้เก็บ ข้อมูลรับทราบเพือความถูกต้อง ครบถ้วน โดยมี หลักเกณฑ์ดังนี 1.1 ผู้เก็บข้อมูลแจ้งให้ผู้รับบริการทราบถึง วัตถุประสงค์และวิธีการทําแบบสอบถาม 1.2 กรณีผู้รับบริการสามารถตอบแบบสอบถามได้ ให้ผู้รับบริการตอบเอง 1.3 กรณีผู้รับบริการไม่สามารถตอบแบบสอบถาม ได้เองให้ผู้เก็บข้อมูลอ่านให้ฟังและให้ผู้รับบริการ ตอบ โดยเจ้าหน้าทีเป็นผู้บันทึกให้ ทุก 6 เดือน และส่งผล สรุปการ สํารวจความ พึงพอใจของ ผู้รับบริการให้ เลขานุการ ความเสียง เพือนําส่งให้ หน่วยงานที เกียวข้อง ดําเนินการ กําหนด มาตรการ แก้ไข/ป้ องกัน ต่อไป
  • 9. 9 แบบบันทึกเรืองร้องเรียน โรงพยาบาลท่าฉาง เลขทีข้อร้องเรียน…............. วันทีรับแจ้ง ……................……… เวลา ..........………น. ข้อมูลการรับเรือง ชือผู้แจ้ง………………..............………..........………… ความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ ......………………………. ทีอยู่………………………...................................…………………………. เบอร์โทรศัพท์……………..……....... ช่องทางรับเรือง………...………..………………………… ผู้รับเรือง…………..........................………............... ข้อมูลผู้รับบริการ ชือผู้รับบริการ…………….................................................................................................…………………….. เลขทีประจําตัวประชาชน……….......................................……………………..อายุ…..............ปี เพศ…............ สิทธิ………...…...............เลขทีบัตรประกันสุขภาพ…….......………………จังหวัดทีลงทะเบียน…......…………. หน่วยบริการปฐมภูมิ……......…………......………………หน่วยบริการรับส่งต่อ……....………....…………........ รายละเอียดเรืองร้องเรียน ประเด็นเรืองร้องเรียน……………………………....................................………………………………………….. หน่วยบริการทีถูกร้องเรียน……………....…………….....…………………จังหวัด…….................………………. สรุปประเด็นเรืองร้องเรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………… ระดับความรุนแรง …….........………………….. สรุปยุติเรืองร้องเรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………… วันทียุติ ………………………………จํานวนวันทีแก้ไขปัญหา…………วันทําการ …………………………........................……… ผู้รายงาน/บันทึก อ้างอิงจาก ตัวอย่างแบบบันทึกข้อร้องเรียน : มาตรฐานการดําเนินงาน ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพในหน่วยบริการ