SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  105
Télécharger pour lire hors ligne
เทคนิคการเรียนการสอนยุคดิจิทัล
ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณาจารย์ ม.รามคําแหง วันจันทร์ที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ ห้อง ๓๐๑ ชั้น ๓ คณะรัฐศาสตร์ ๒
ประวัติผู้บรรยาย
ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปริญญาเอก กศ.ด.(เทคโนโลยีการศึกษา) 2549 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปริญญาโท ศษ.ม.(เทคโนโลยีการศึกษา 2540 มหาวิทยาลัยรามคําแหง
ปริญญาตรี ศษ.บ.(โสตทัศนศึกษา) 2535 มหาวิทยาลัยรามคําแหง
รับรางวัลความสําเร็จแห่งวิชาชีพของศิษย์รามจาก คณะศึกษาศาสตร์ในงานครบรอบ ๓๙ ปี ม.รามคําแหง ประจําปี 2553
ที่ปรึกษาคณะกรรมการปฏิบัติการพัฒนาเทคโนโลยีการศึกษาและอีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) ม.มหิดล 2558 -2559
ที่ปรึกษา ชมรมถ่ายภาพ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก ช่อง 7 2558-ปัจจุบัน
กรรมการ กองทุนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 2560
ประวัติวิทยากร
งานวิจัย ที่ได้รับทุน หัวหน้าโครงการ
1 การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการใช้สื่อของคณาจารย์มจธ. ทุนวิจัยมจธ. 2545
2 การพัฒนาการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช้วิธีการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก บนห้องเรียนเสมือนจริง ทุน
นวัตกรรมการเรียนการสอน ทุนวิจัยมจธ. 2548
3 การพัฒนาโปรแกรมพจนานุกรมมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ ภาษามลายูท้องถิ่นปาตานี ทุนวิจัยสกอ. 2551
4 การสอนแบบซินเนคติกส์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ทุนวิจัย วช. 2555 หัวหน้าโครงการ
5 การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ด้วยระบบการถ่ายทอดข้อมูล (อี-พอดแคสต์) ผ่านอุปกรณ์สื่ออิเลคทรอนิกส์ (แทบเล็ต)
ทุนวิจัย วช 2556 หัวหน้าโครงการ
6 การพัฒนาสื่อการเรียนในระบบเปิดสําหรับมหาชน (MOOC) 2560 ตานี ทุน สกอ. หัวหน้าโครงการ
Tel. 081-4289275 ,e-Mail Surapon@hotmail.com, Facebook.com/Dr.surapon
เค้าโครงการบรรยาย
uม.รามคําแหง
uการเปลี่ยนแปลง
uแนวทางการจัดการเรียนการสอน
uเทคนิคการสอนแบบดิจิทัล
uสรุปผล อภิปรายผล
ลักษณะที่สําคัญของม.รามคําแหง
uมีอัตลักษณ์ที่ชัดเจน
uมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ,หลักสูตรที่หลากหลาย,คณาจารย์ที่ทรงภูมิความรู้,
ห้องเรียนในรูปแบบเดิม,ผู้เรียนมีความรับผิดชอบสูง,มีสื่อการสอนที่เหมาะสม
uและมีเอกลักษณ์ของตนเอง
uเป็นตลาดวิชา ไม่จํากัดผู้เรียน,ไม่จํากัดการเข้าเรียน,ไม่จํากัดวิธีเรียน,
ในรายวิชา มีสื่อการสอนและวิธีการสอนที่ชัดเจน
การเรียนที่เป็นกลุ่มขนาดใหญ่
แต่โลกเราทุกวันนี้
เปลี่ยนไป
u ธุรกิจ ที่ทํากําไรจะเปลี่ยนไป
u การทํางานจะเปลี่ยนไป
u การใช้ชีวิตจะเปลี่ยนไป
u เป้าหมายหรือ ความต้องการจะเปลี่ยนไป
u แล้ว เราควรจะเปลี่ยน
วิธีการสอนหรือ ไม่
ธุรกิจ ที่ทํากําไรจะเปลี่ยนไป
ปฐม อินทโรดม 2017
ธุรกิจ ที่ทํากําไรจะเปลี่ยนไป
ปฐม อินทโรดม 2017
สาเหตุที่ต้องเปลี่ยนทักษะการทํางานใน ปี 2563 (work-skills-in2020)
1.คนจะอายุยาวขึ้น
2.ระบบของเครื่องจักร จะมีความซับซ้อนขึ้น
3.มีระบบในการตรวจจับแบบใหม่ๆ ทําให้เห็นง่าย และไม่ยากในการใช้
4.สื่อหรือภาษาแบบใหม่ๆ จะมาแทนตัวอักษรในการสื่อสารทําให้เข้าใจ
ได้มากกว่า ตัวอักษร
5.โครงสร้างของสังคมจะถูก นํามากําหนดการทํางานในรูปแบบใหม่ๆ
6.โลกจะเป็นเป้าหมายของการทํางาน ทุกภูมิภาคสามารถเปลี่ยนบทบาท
เป็นผู้นําในการผลิตได้ ไม่ได้ผูกขาดแค่ประเทศชั้นนําเท่านั้น
http://www.brandbuffet.in.th/2014/07/10most-important-work-skills-in2020/
การทํางาน เปลี่ยน
Smart Thailand 2020 ICT Policy
Smart Learning
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12
Thailand 4.0 Smart Industry +Smart City + Smart People
ผู้คนจะเปลี่ยนไป
2020 Population
วิถีชีวิต เปลี่ยน
uตลาดแรงงานเปลี7ยน
uGen Z กําลังจะ
เข้าสู่ตลาดแรงงาน ใน
ปีหน้า
uBaby
Boomers กําลัง
จะเกษียรอายุ
Today’s Learners… ผู้เรียนทุกวันนี้
§ Crave interactivity กระหายสื่อสารกัน
§ Read visual images อ่านภาพที่เห็น
§ Weak reading skills ทักษะการอ่านแย่
§ Visual-spatial skills ทักษะมองเห็นเป็นภาพ
§ Parallel processing ประมวลผลแบบขนาน
§ Inductive discovery ค้นหาแบบอุปนัย
§ Fast response time ตอบสนองไว
§ Short attention span* ช่วงความสนใจสั้น Prensky, 2001
การศึกษาของเราเปลี่ยนบ้างไหม
u1. นโยบายการศึกษา
u2. หลักสูตร (ภายใน/ภายนอก)
u3. สถานที่/ห้องเรียน/ผู้เรียน ผู้สอน
u4. โครงสร้างองค์กร
u5. สื่อ เทคโนโลยี
การศึกษาในสองร้อยปีที่ผ่านมา
u1817 1917 2017
การศึกษาที่เปลี่ยนไป
u1917 2017
ห้องเรียน...ในอนาคต
การศึกษารูปแบบ 4.0
Students: ผู้เรียน
§ Multitasking
ทําหลายอย่างเวลาเดียวกัน
§ Pictures, sound, video
ภาพ เสียง วีดิทัศน์
§ Random access
เข้าถึงโดยการสุ่ม
§ Interactive and networked
แบบโต้ตอบ และ เครือข่าย
Faculty: ผู้สอน
§ Single or limited tasks
ทําทีละอย่างหรือทําอย่างจํากัด
§ Text
ข้อความ
§ Linear, logical, sequential
แนวตรง ตรรกะ ตามลําดับ
§ Independent and individual*
อิสระ และ ปัจเจก
Teaching the New Learner การสอนผู้เรียนยุคใหม่
u ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีความสนใจในเนื้อหา และสมาธิของผู้เรียนที่จะเกิดขึ้นกับ Subject
Matter หรือทฤษฏีความรู้นั้นจะเกิดขึ้นเพียงแค่ 20 นาทีโดยเฉลี่ยเท่านั้น
u เกินกว่านั้นผู้เรียนจะหันไปสนใจสิ่งเร้าอย่างอื่นแทน เช่น เครือข่ายสังคมออนไลน์ Social
Network (Facebook, Twitter, YouTube หรือ Line)
Meyers, C., & Jones, T. B. (1993). Promoting Active Learning. Strategies for
the College Classroom.
Today’s Learners… ผู้เรียนทุกวันนี้
การชมวีดิทัศน์ ของคนรุ่นใหม่
ความยาววีดิทัศน์ กับการจดจําของมนุษย์
ความรู้กับการใช้
ความรู้
u จากการสอบถาม
ศิษย์เก่า MIT
พบว่า
u ทักษะและความรู้ที่ใช้ใน
การทํางาน จะใช้
ความรู้ที่เรียนมา
บางส่วน
u ส่วนทักษะที่ใช้ จะเกิด
จากการทํางาน
uสิ่งที่ใช้งานบ่อยที่สุดใน
การทํางานให้ประสบ
ความสําเร็จ
uไม่ใช่ความรู้จากการ
เรียน
uแต่เป็นทักษะยุคใหม่ที่
ต้องสอนให้มี
เทคโนโลยีเปลี่ยน 26 ปีเว็บไซต์
การเชื่อมต่อในยุคหน้า
u ITU กําหนดไว้ อีก 5 ปีข้างหน้า
จะมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากถึง
u3,500 ล้านคน จาก
ประชากร 7,000 ล้าน
คน
2020 World of IoT
Gartner เผย 3 เทรนด์เทคโนโลยี ที่จะส่งผลกระทบต่อทั้งโลกไปอีก 10 ปี
u การวิเคราะห์แนวโน้มครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์ต่อยอดขึ้นมาจาก Hype Cycle for
Emerging Technologies 2017 ที่ได้ทําการวิเคราะห์ถึงเทคโนโลยีที่กําลังเป็นที่สนใจ
ของภาคธุรกิจในปี 2017 นี้ และจัดกลุ่มออกมาด้วยกันได้ 3 กลุ่ม ได้แก่
u 1. AI EverywhereGartner ได้ยกให้ Artificial Intelligence (AI) เป็นเทคโนโลยีที่จะ
เข้ามาเปลี่ยนแปลงภาคธุรกิจมากที่สุด
u 2. Transparently Immersive ExperiencesGartner ชี้ว่าในอนาคตเทคโนโลยีจะถูก
พัฒนาโดยมีมนุษย์เป็นศูนย์กลางมากขึ้น
u 3. Digital PlatformsGartner ทํานายว่าเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่นี้จะต้องการ
เทคโนโลยีพื้นฐานใหม่ๆ ที่ช่วยสร้างหรือรวบรวมข้อมูลตามที่เทคโนโลยีอื่นๆ
ต้องการนําไปใช้,
u เทคโนโลยีที่ Gartner แนะนําให้องค์กรเริ่มศึกษานั้นได้แก่ 5G, Digital Twin, Edge
Computing, Blockchain, IoT Platform, Neuromorphic Hardware, Quantum
Computing, Serverless PaaS และ Software-Defined Security
เทคโนโลยีด้านอุปกรณ์ DLMT
Desktop Laptop Mobile Tablet wc
“
ประเภทของ Application
App in Smart Phone
Device for Interactive
uBYOD ,
uBig data analytics,
uIoT, New & emerging technology,
uSoftware defined network Technology trends
uMachine Learning
Mobile ยุคใหม่
Senser ต่างๆ ของSmart Device
บทความโดย : Thaimobilecenter.com
วันที7 : 30/5/57
ในอนาคต คนที่เราจะสอน อาจจะไม่ใช่คน อีกต่อไป
เครื่องจักรก็เรียนรู้ได้ AI-ML-DL
AI หรือ
Artificial
Intelligenc
e
เป็นเพียงการสร้างโปรแกรม
ที7ตอบสนองอย่างชาญ
ฉลาด
Machine
Learning
ถึงการทําให้คอมพิวเตอร์
สามารถคิดหาเหตุผลได้
เรียนรู้ได้ทํางานได้เสมือน
มนุษย์
Deep
Learning
บริการออนไลน์ที7เราใช้ผ่าน
เว็บหรือแอพพลิเคชั7นต่างๆ
การเรียนในยุคดิจิทัล ต้องเปลี่ยนแปลง
uเพราะอะไร
uทําไม ต้องเปลี่ยนไป
5 อันดับแรกของคุณลักษณะของลูกจ้างที่นายจ้างต้องการ
Source: 21 century edtech.
ใช้เทคโนโลยีอย่างไรเพื่อยกระดับการศึกษา
u(How to digitalize Thai’s Styles Education; Transform Student to
Learner, Teacher to Coacher)
uเปลี่ยน “นักเรียน” สู่ “ผู้เรียน”
uเปลี่ยน “คุณครู” สู่ “ผู้นําทาง”
Top 6 Digital Transformation Trends In Education by Forbes
Daniel Newman , JUL 18, 2017
u Augmented Reality / Virtual Reality / Mixed Reality
u Classroom Set of Devices BYOD
u Redesigned Learning Spaces
u Artificial Intelligence
u Personalized Learning
u Gamification
เราควรสอนอะไรในมหาวิทยาลัย
uอาจารย์มหาวิทยาลัยคงสอนทุกอย่างได้ไม่หมด
uแต่ควรสอนให้เด็กคิดเป็น ให้ค้นหาเป็น ให้ใช้เป็น จะยั่งยืนกว่า
uชีวิตจะต้องเรียนรู้ตลอดเวลา
uถ้าเด็กคนนั้นต้องการเรียน ความรู้บางอย่างสอนในเวลาวัยรุ่นเด็กไม่
สนใจหรอก พอถึงเวลาของเขา เขาก็จะขวนขวายหาเรียนเอง
การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
u3Rs + 8Cs + 2Ls
uTeach Less,
uLearn More
Skill of 21st 3 R 4C
¨ Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์,
¨ Communication- การสื@อสาร
¨ Collaboration-การร่วมมือ
¨ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์
u Reading (การอ่าน),
u Writing (การเขียน)
u และ Arithmetic (คณิตศาสตร์)
การศึกษาที่มีคุณภาพ
ศตวรรษที4 ๒๐, ๑๙
ศตวรรษที4 ๒๑
Teach
content
Teacher
Content-
Based
Classroom Teaching Lecture
Teaching –
personal
Sequential
learning
Assessment :
P - F
Learning
Coach,
Facilitator
Inspire Studio
Skills –
Based
PBL PLC
Integrated
learning
Assessment :
Reform 3
การจัดการศึกษา ศตวรรษที@ 19, 20 ศตวรรษที@ 21 ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
มาร่วมตอบปัญหา
https://kahoot.it
ก่อนพักเบรก 15 นาที
แนวทางการสอนในยุค
ดิจิทัล
“
"อาจารย์อย่าสอนหมด
อาจารย์สอนเฉพาะ main concept แล้วให้เด็ก
connect the dots เอง ซึ่งต้องเชื่อใจว่าเด็กทําได้
ใช้สูตร 10-20-70
10 คือสอน 20 คือ ไกด์ 70 คือให้เด็กทําเอง
แล้วเด็กจะเชื่อมต่อจุดด้วยความคิดสร้างสรรค์ของ
เขาเอง และเป็นการเพิ่มทักษะความคิดให้เขาด้วย”
-- รศ.ดร.บัณฑิต ทิพากรณ์ รองเลขาธิการ สกอ.
-รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ ม.เทคโนโลยีพระจอม
เกล้าธนบุรี
ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน
uปัญหา ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายในการเรียน
uปัญหา ผู้เรียนไม่รู้ความหมายของการเรียน
uปัญหา ห้องเรียนขนาดใหญ่
uผู้เรียน ไม่สนใจในการเรียน
ปัญหา ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายเพราะพวกเขาไม่ได้กระตือรือร้นต่อการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
ซึ่งต้องการความสนใจตลอดเวลากว่าห้าสิบนาทีต่อคาบ
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 1 ช่วงเวลาที่ผู้เรียนส่วนมากจะให้ความสนใจกับคลาสเรียนได้ จะอยู่ที่ สิบถึงยี่สิบนาทีเท่านั้น ดังนั้น
แต่ละกิจกรรมในชั้นเรียนใช้เวลาไม่เกิน สิบห้าถึงยี่สิบนาที ด้วยการแบ่งชั่วโมงเลคเชอร์ของคุณให้เป็นกิจกรรมย่อยๆได้
เช่น การตั้งคําถาม การฉายสไลด์ การสาธิตจริงๆ การจัดกิจกรรมกลุ่ม หรือการเปิดวีดีโอเป็นต้น
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 2 : กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน การเริ่มต้นชั่วโมงเรียนด้วยการตั้งคําถามเพื่อกระตุ้นความอยากรู้
อยากเห็นหรือการให้อะไรเล็กๆน้อยๆที่น่าสนใจกับผู้เรียน จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจและแรงผลักดันในการตั้งใจ
เรียนตลอดทั้งคาบได้
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 3 : เป็นต้นแบบของความกระตือรือร้น
ครูผู้สอนถ่ายทอดความชอบของคุณให้กับนักศึกษาเช่น การเล่าเรื่องจากประสบการณ์จริงของให้ฟัง เพราะเสียงและ
ภาษากายสามารถที่เป็นธรรมชาติสามารถถ่ายทอดความตื่นเต้นในเรื่องต่างๆไปสู่ผู้อื่นได้ ประสบการณ์
สามารถดึง นศ.ให้กลับมาสนใจได้
ปัญหา ผู้เรียนไม่รู้ความหมายของการเรียน
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 1 : ใช้แผนการสอนหรือคาบแรกของหลักสูตรในการสร้างบรรยากาศที่สนับสนุนการเรียน
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 2 : ให้เกียรติผู้เรียนในฐานะบุคคลคนหนึ่ง
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 3 : ตั้งเป้าที่จะสร้างหลักสูตรให้มีเนื้อหาครอบคุลม
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 4 : ทัศคติของคุณอาจเป็นการลดแรงจูงใจของผู้เรียน
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 5 : สร้างกฎพื้นฐานที่ส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 6 : สนับสนุนการสอนสร้างบรรยากาศในห้องเรียน ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี
ปัญหา ห้องเรียนขนาดใหญ่
uแนวทางแก้ปัญหาที่ 1 : ใช้วิธีการสื่อสารกับทุกส่วนในชั้นเรียน
uแนวทางแก้ปัญหาที่ 2 : ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน
uแนวทางแก้ปัญหาที่ 3 : ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย
uแนวทางแก้ปัญหาที่ 4 : ใช้เทคโนโลยีเข้ามาใช้เพื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน Kahoot
ปัญหา ผู้เรียนไม่สนใจในการเรียน
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 1 : ใช้วิธีการกระตุ้นในชั้นเรียน
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 2 : ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 3 : ใช้วิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน ให้ไปเรียนที่บ้าน มาทําการบ้านที่โรงเรียน
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 4 : ใช้เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการวัดประเมินผล
u แนวทางแก้ปัญหาที่ 5 : ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี
การจัดการสอนด้วย ไตรยางค์การศึกษา (OLE)
O
E L
O : Objective ได้แก่
1. วัตถุประสงค์ปลายทาง
2. วัตถุประสงค์เฉพาะ หรือ วัตถุประสงค์นําทาง
L : Learning Experience ได้แก่
1. วิธีการสอน
2. วิธีการคิด
3. การใช้สื่อ/เทคโนโลยี
E : Evaluation ได้แก่
1. การประเมินเพื่อการพัฒนา
2. การประเมินผลรวบยอด
3. การประเมินนวัตกรรม
O : Objective ได้แก่O
1. วัตถุประสงค์ปลายทาง
2. วัตถุประสงค์เฉพาะ
หรือ วัตถุประสงค์นําทาง
วัตถุประสงค์ปลายทาง วัตถุประสงค์เฉพาะ หรือ วัตถุประสงค์นําทาง
Revised Bloom's Taxonomy (RBT)
C-Cognitive (พุทธิพิสัย)
คิดสร้างสรรค์ (Creative)
ประเมินค่า (Evaluation)
วิเคราะห์ (Analyze)
ประยุกต์ใช้ (Apply)
ความเข้าใจ (Understand)
ความจํา (Remember)
v การคิดขั้นสูง
v การคิดพื้นฐาน
A-Affective (จิตพิสัย)
การสร้างบุคลิกลักษณะ (Characterization)
การจัดระบบค่านิยม (Organization)
การให้คุณค่า หรือ การสร้างค่านิยม (Valuing)
การตอบสนอง (Responding)
การรับ (Receiving)
v บุคลิกภาพ
v คุณธรรมจริยธรรม
v ค่านิยม
v เจตคติ
v ความคิดเห็น
v ความซาบซึ้ง
v ความสนใจ
v ความตระหนัก
P-Psychomotor (ทักษะพิสัย)
การดัดแปลง (Adaptation)
การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex overt response)
กลไก (Mechanism)
การตอบสนองตามแนวทางที่ให้ (Guided response)
การพร้อม (Set)
การรับรู้ (Perception)
การริเริ่ม (Origination)
L : Learning Experience ได้แก่
1. วิธีการสอน (Teaching Methods)
2. วิธีการคิด (Thinking Methods)
3. การใช้สื่อ/เทคโนโลยี (Media And Technology)
L
L1 : วิธีการสอน L2 : วิธีการคิด L3 : การใช้สื่อ/เทคโนโลยี
- แบบครูเป็นศูนย์กลาง
- แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- แบบหลากหลาย
(ตั้งแต่ 2 วิธีการขึ้นไป)
- กลุ่มการคิดพื้นฐาน
- กลุ่มการคิดอย่างมีเหตุผล
- กลุ่มการคิดสร้างสรรค์
- กลุ่มการคิดองค์รวม
- กลุ่มการคิดสู่ความสําเร็จ
- กลุ่มสื่อออฟไลน์
- กลุ่มสื่อออนไลน์
- กลุ่มสื่อชุมชน
การจําแนกสื@อการสอนของ Edgar Dale กับปฎิสัมพันธ์ของการเรียนการสอน
Interactive Student
Interactive
Instructor
ห้องเรียนกลับข้าง Flipped Classroom
73
เรียนเอง ........ที่บ้าน
ทําการบ้าน.....ที่โรงเรียน
LMS -MOOCs
SCORM & xAPI
Adobe Captivate
What Is Augmented Reality?
Augmented reality (AR) enhances what we see via smart glasses or smart
phones which overlay 3D, contextually aware graphics onto our view of the
real-world environment.
Milgram, Takemura, Utsumi, and Kishino’s (1994) reality-virtuality continuum
QR หรือ AR VR หรือ MR(AR+VR) ในอนาคต
• เทคโนโลยี VR
• Virtual reality
เป็นการใช้ Gyroscope เพื่อ
เปลี่ยนภาพที่เห็นให้มีการเคลื่อนที่
ตามพิกัดการเคลื่อนที่
• เทคโนโลยี AR
• Augmented reality
• เป็นการซ้อนภาพด้วย
ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
VR is nice, but augmented reality is the future .Tim Cook
• เทคโนโลยี QR
• Quick Response Code
เป็นการใช้ Image Processing เพื่อ
เปลี่ยนจากภาพเป็นข้อมูลเช่น
การเชื่อมโยง ลิงก์
• การอ่านเป็นตัวอักษร หรือtext
การสอนให้คิด
uการสอนความคิดเชิงวิเคราะห์
uการสอนความคิดสร้างสรรค์
uการสอนความคิด
รูปแบบการสอนต่างๆ ตามแนวคิดของนักการศึกษา
รูปแบบที่เน้นด้านพุทธพิสัย
• Concept Attainment Model
• Gagne’ Model
• Memory Model
รูปแบบที่เน้นด้านจิตพิสัย
• Krathwohl’s Model
• Jurisprudentail Model
• Role Playing Model
รูปแบบที่เน้นด้านทักษะพิสัย
• Sympson’s Model
• Harrow’s Model
• Davie’s Model
รูปแบบที่เน้นทักษะกระบวนการ
• Group Investigation Model
• Inductive Teaching Model
• Creative Thinking Model
• Torrance’s Future Problem-Solving Model
รูปแบบที่เน้นบูรณาการ
• Direct Instruction Model
• Storyline Model
• 4 MAT Model
• Cooperative Learning Model
ปรับให้ง่ายในการคิด TPS
uThink
uPair
uShare
Technology Enhanced Learning (TEL)
for Active Learning
MOOC กับ การเรียนการสอน
MOOC = Mux ของ ม.มหิดล + TCU
วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบกับการเรียนการสอน
หรือภาพยนตร์ที่ผู้ชมกําหนดเรื่องได้
วีดิทัศน์ในโลกเสมือน VR-Video
uVideo 360
เทคโนโลยีผสานความจริง Augmented Reality
uเทคโนโลยี Augmented Reality หรือ AR คือ เทคโนโลยี
ที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริงเข้ากับโลกเสมือน
86
ลักษณะของการใช้ ผสมผสานกับความจริง
AR+ Hololend
AR+VR
You tube + Ed Puzzle
Printed e-Book
Game & Simulate
Application + Html5
Technology Enhanced Learning
for Active Learning
1. ONLINE CONTENT CREATOR
1.1 Video Creation and Editing Tools
Viewedit.com
1.2 Interactive Video Creation Tools
https://edpuzzle.com
วรสรวง ดวงจินดา (2560) Classroom Design for 21st Century: Technology Enhance Learning
Technology Enhanced Learning
for Active Learning
2. DIGITAL LEARNING MATERIALS (DLM)
2.1 PDF Based Material Tools Kami
2.2 Graphic Based Material Tools (InfoGraphic)
https://piktochart.com https://www.canva.com
2.3 AR Aurasama
Technology Enhanced Learning
for Active Learning
3. ASSESSMENT TOOLS / BRAINSTORMING ACTIVITIES | BETWEEN HOME AND
CLASS
Padlet Lino
Mind Mapping ClassDojo
Zipgrade
4. CLASSROOM CONTEXTS
Kahoot (https://kahoot.com)
Plickers (plickers.com
วรสรวง ดวงจินดา (2560) Classroom Design for 21st Century: Technology Enhance Learning
http://en.linoit.com
https://coggle.it
https://aurasma.com
ตัวอย่าง เอกสารมอดูล
หน้า 1
คําชีแจง
เอกสารประกอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เรื่อง
การวัดและประเมินผลทางการศึกษา
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เรียนทราบความหมายของการประเมินผล
2.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอภิบายการประเมินผล
3.เพื่อให้ผู้เรียนเลือกเครื่องมือในการประเมินผลได้
หน้า 2
สารบัญ หน้าที่
1.วัตถุประสงค์ 3
2.การวัดความรู้พื้นฐาน 6
3.เนื้อหาสื่อวีดิทัศน์ Youtube เรื่อง.. 7
4.กิจกรรมสรุปความรู้
5.เอกสารประกอบการสอน 8
6.ข้อสอบ
7.ใบงาน 14
8.สรุปและอ้างอิง 15
หน้า 6
การวัดในรูปแบบต่างๆ
กิจกรรม ก่อนเรียน
ให้ นศ.ช่วยกันเขียนวิธีการวัดและเครื่องมือที่ใช้ในการวัด
ว่ามีอะไรบ้าง
ตัวอย่าง
การวัด เครื่องมือ การตรวจ
ความสูง ไม้บรรทัด ตลับเมตร
ความยาว
ความลึก
ความเอียง
ความรู้สึก
ตัวอย่าง เอกสารมอดูล
หน้า 7
การวัดหมายถึง....................................
เนื้อหาวิดิทัศน์เรื่องการวัดผล
ศึกษาได้จาก การใช้ QR-Code
ในโทรศัพท์มือถือ เพื่อเชื่อมไปยังสื่อ
การเรียนรู้ หรือสามารถเข้าถึงได้จาก
หน้า 8
อภิปราย
จากวีดิทัศน์ที่ได้ศึกษาไปให้ นศ.เขียนสรุปเนื้อหาจากวีดิทัศน์
เป็นแผนผังความคิด Mindmap
หน้า 9
เครื่องมือในการวัดผลทางการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
มีหลายชนิด
แต่ละชนิดเหมาะสมกับการวัดพฤติกรรมทางการศึกษาที่
แตกต่างกัน ดังนี้
การทดสอบ(Testing)หมายถึง
กระบวนการในการนําชุดของสิ่งเร้าไปกระตุ้นให้นักเรียน
แสดงพฤติกรรมที่ต้องการวัดออกมาให้ครูสังเกตได้และ
วัดได้ โดยทั่วไปครูใช้การทดสอบเพื่อวัดพฤติกรรม
พุทธิพิสัย ของนักเรียน อันประกอบไปด้วยความรู้
ความจํา ความเข้าใจ การนําไปใช้ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ และการประเมินค่า โดยมีแบบทดสอบ(test)
เป็นเครื่องมือสําคัญในการกระตุ้นให้นักเรียนแสดง
พฤติกรรมดังกล่าวออกมา
ตัวอย่าง เอกสารมอดูล
หน้า 13 หน้า 14 หน้า 15
สรุปความรู้
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
มีหลายชนิด แต่ละชนิด
เหมาะสมกับการวัดพฤติกรรมทางการศึกษาที่แตกต่างกัน
ดังนี้
การทดสอบ(Testing)หมายถึง กระบวนการในการนําชุด
ของสิ่งเร้าไปกระตุ้นให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ต้องการวัด
ออกมาให้ครูสังเกตได้และวัดได้ โดยทั่วไปครูใช้การทดสอบเพื่อ
วัดพฤติกรรมพุทธิพิสัย ของนักเรียน อันประกอบไปด้วย
ความรู้ความจํา ความเข้าใจ การนําไปใช้ การวิเคราะห์ การ
เฉลยข้อสอบ
1.ก. 2.ข 3.ค n.n
เอกสารอ้างอิง
.................................................................................
หน้า 14
ใบงาน
หากนศ.ได้รับมอบหมายให้ประเมินรสชาติของ
อาหารที่่มีความหลากหลาย ทั้งประเภทรสชาดและอื่น
นศ.จะมีเครื่องมือในการวัดได้อย่างไร และมีกระบวนการ
สร้างเครื่องมืออย่างไร จงอภิปราย
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
หน้า 13
ข้อสอบหลังเรียน
1.การทดสอบ(Testing)หมายถึง
ก.การวัด ข.การเรียน
ค.การสอบ ง.การประเมินผล
2...........................
ก........ ข.........
ค.......... ง...........
3. ...........................
ก........ ข.........
ค.......... ง...........
n...........................
ก........ ข.........
ค.......... ง...........
** ผู้เรียนสามารถ สแกน QR-Code เพื่อลิงก์
ไปยังแบบประเมินซึ่งจะเป็นการส่งงานและทราบผล
การทําแบบประเมินทันที
E : Evaluation ได้แก่
1. การประเมินเพื่อการพัฒนา (Formative Evaluation)
2. การประเมินผลรวบยอด (Summative Evaluation)
3. การประเมินนวัตกรรม (Innovation Evaluation)
E1 : ประเมินเพื่อการพัฒนา E2 : ประเมินผลรวบยอด E3 : ประเมินนวัตกรรม
- การทดสอบหลังเรียนประจําหน่วย
(Unit Test)
- การสังเกตอย่างมีแบบแผน
(Formal Observation)
- แฟ้มสะสมงาน (Portfolio)
- ข้อสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง
(Teacher Made Test)
- ข้อสอบมาตรฐาน
(Standardized Test)
- แบบประเมินผลงาน
(Performance)
- แฟ้มสะสมงาน (Portfolio)
- การทดสอบประสิทธิภาพสื่อ
(Developmental Testing of
Media)
- การคํานวณค่าดัชนีประสิทธิผล
(Effectiveness index)
- การใช้กระบวนทัศน์ใหม่ของการ
ประเมินนวัตกรรม
E
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
1. การสังเกต (แบบวัดการสังเกต แบบตรวจสอบรายการ และแบบประเมินค่า)
2. การสัมภาษณ์ (แบบสัมภาษณ์, แบบมีโครงสร้าง)
3. การสอบถาม (แบบสอบถาม แบบสอบถามความคิดเห็น)
4. การทดสอบ (แบบทดสอบที่สร้างขึ้น ปรนัย อัตนัย
หรือแบบปลายเปิด การทดสอบภาคปฏิบัติ)
แล้ว เราจะไปถึงจุดนั้นได้อย่างไร
เทคโนโลยี
ความคิด
นวัตกรรม
พัฒนาจากส่ิงที่มี ที่เป็น
คิดนอกกรอบ
ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
มีทัศนคติที่ดี
มีความคิดสร้างสรรค์
สรุป คําถาม อภิปราย https://padlet.com
uสรุป
uคําถาม
uอภิปราย
https://padlet.com/krugong/ram_digi
ขอขอบคุณทุกท่านที่เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกัน
uท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารนี้ได้ที่
uSlideshare.net/surapon boonlue
u https://drive.google.com/drive/folders/0Bwnt
3SUPaFz8enBNV2hrNkF3V28?usp=sharing

Contenu connexe

Tendances

การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...natthasarttier
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนsupphawan
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Janchai Pokmoonphon
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
sudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfsudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfssuser60528a2
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์Nutthawit Srisuriyachai
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนeafbie
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรJiraprapa Suwannajak
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556sawed kodnara
 

Tendances (20)

การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
บทที่ 1 - 5
บทที่ 1 - 5 บทที่ 1 - 5
บทที่ 1 - 5
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
Steam 11oct
Steam 11octSteam 11oct
Steam 11oct
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
sudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfsudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdf
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไร
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
 

Similaire à การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล

การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional designKruBeeKa
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and LearningPtato Ok
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Surapon Boonlue
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictsarayuttong
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictnamyensudarat
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n Ptato Ok
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jenjira Pansrisakul
 
ปาฐกถาพิเศษ “การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21”
ปาฐกถาพิเศษ “การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21”ปาฐกถาพิเศษ “การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21”
ปาฐกถาพิเศษ “การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21”Teacher Sophonnawit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kawinna2538
 
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือนSurapon Boonlue
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค ItPrachyanun Nilsook
 

Similaire à การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล (20)

การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปาฐกถาพิเศษ “การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21”
ปาฐกถาพิเศษ “การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21”ปาฐกถาพิเศษ “การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21”
ปาฐกถาพิเศษ “การจัดการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21”
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค It
 

Plus de Surapon Boonlue

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021Surapon Boonlue
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Surapon Boonlue
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย ClassdojoSurapon Boonlue
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานSurapon Boonlue
 
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” Surapon Boonlue
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาSurapon Boonlue
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production Surapon Boonlue
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Surapon Boonlue
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponSurapon Boonlue
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning Surapon Boonlue
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันSurapon Boonlue
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school suraponSurapon Boonlue
 

Plus de Surapon Boonlue (20)

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
Ar in active learning
Ar in active learning Ar in active learning
Ar in active learning
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
 
Fischertechnik training
Fischertechnik trainingFischertechnik training
Fischertechnik training
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 
New media for teaching
New media for teachingNew media for teaching
New media for teaching
 
Hdtv surapon
Hdtv suraponHdtv surapon
Hdtv surapon
 

การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล