SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  36
ระบบสุริยะ
สอนโดย: ครูวันวิสา แพนพันธุ์อ้วน
และครูสมฤทัย แปลงศรี
การกาเนิดระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ 9
ดวงและดวงจันทร์บริวารของดาวเคราะห์รวมกว่า 90 ดวง ดาว
หางและอุกกาบาต วัตถุทั้งหมดในระบบสุริยะล้วนโคจรรอบดวง
อาทิตย์ไปในทิศทางเดียวกันและมีระนาบทางโคจรเกือบตั้งฉาก
กับแกนหมุนของดวงอาทิตย์ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่ามวลสาร
เหล่านี้เกิดมาพร้อมกับดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุด
จึงเป็นจุดศูนย์กลางของระบบสุริยะ โดยมีแรงโน้มถ่วงยึดให้ดาว
เคราะห์ทั้งหลายโคจรอยู่โดยรอบ
ดวงอาทิตย์ก่อกาเนิดขึ้นจากกลุ่มก๊าซและฝุ่น ที่เรียกว่า โซลาร์
เนบิวลา (Solar Nebula) เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีที่ผ่านมา ตามลาดับ
ขั้นตอนดังนี้
1) ด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของกลุ่มก๊าซและฝุ่นใน
โซลาร์เนบิวลาซึ่งหมุนรอบตัวเองทาให้ยุบตัวลงอย่างช้าๆ
2) ก๊าซและฝุ่นส่วนใหญ่ยุบตัวลงทาให้ใจกลางของโซลาร์
เนบิวลามีความกดดันสูงขึ้น และหมุนรอบตัวเองเร็วขึ้นเรื่อยๆ
เป็นผลให้เศษฝุ่นและก๊าซที่เหลือโคจรรอบแกนหมุน มีรูปร่าง
เหมือนเป็นจานแบน ฝุ่นและก๊าซบางส่วนถูกเร่งออกมาจาก
แกนหมุน
3) เมื่อมีอายุได้ประมาณ 100,000 ปี อุณหภูมิที่ใจกลางสูง
ถึง 15 ล้านเคลวิน จึงเริ่มเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ขึ้นที่
แกนกลาง เกิดเป็นดวงอาทิตย์ที่มีอายุน้อยส่องสว่างแต่ยังถูก
ห้อมล้อมไปด้วยก๊าซและฝุ่นที่เหลือเป็นจานวนมาก
4) เมื่อเวลาผ่านไปหลายสิบล้านปี ก๊าซและฝุ่นที่เหลือชน
กันไปมา ทาให้บางส่วนเกาะติดกันจนมีขนาดใหญ่ขึ้น
โดยเฉพาะบริเวณที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ซึ่งมีอุณหภูมิและแรงโน้ม
ถ่วงที่สูงกว่าบริเวณที่ห่างออกไป
5) ก๊าซและฝุ่นบริเวณขอบนอกอยู่ในบริเวณที่มีอุณหภูมิ
ต่ากว่าและได้รับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงน้อยกว่าบริเวณที่ใกล้
ดวงอาทิตย์ จึงยุบรวมตัวกันอย่างช้าๆ ก่อตัวเป็นดาวเคราะห์
ขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยก๊าซเป็นจานวนมาก
6) ใช้เวลานับร้อยล้านปี ดาวเคราะห์ต่างๆ จึงจะมีรูปร่างที่
เกือบสมบูรณ์ เศษหินและฝุ่นที่เหลือกลายเป็นดาวเคราะห์น้อย
ดวงจันทร์บริวารและวงแหวนของดาวเคราะห์ รวมทั้งวัตถุ
ขนาดเล็กและดาวหาง
เขตของบริวารดวงอาทิตย์
ขนาดเปรียบเทียบของดาวเคราะห์
วงโคจรของดาวเคราะห์
นักดาราศาสตร์แบ่งเขตพื้นที่ของระบบสุริยะออกเป็น
4 เขต โดยใช้ลักษณะการก่อตัวของบริวารของดวงอาทิตย์
เป็นเกณฑ์ คือ
1. ดาวเคราะห์ชั้นใน (inner planets) หรือดาว
เคราะห์หิน (terrestrial planets) เป็นดาวเคราะห์ที่มี
พื้นผิวแข็งหรือเป็นหินเหมือนโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
และดาวอังคาร เชื่อกันว่าดาวเคราะห์ชั้นในเกิดจากมวลสารของ
เนบิวลาที่อยู่ถัดออกมาจากบริเวณใจกลาง ที่ไม่ได้เคลื่อนที่ไป
รวมกับมวลสารที่เกิดดวงอาทิตย์ แต่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์
และมีอุณหภูมิพอเหมาะที่จะเกิดเป็นก้อนหินขนาดต่างๆ กัน
จานวนมาก ก้อนใหญ่จะดึงก้อนเล็กเข้าหาด้วยแรงโน้มถ่วงพอก
พูนกลายเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูง ดาวเคราะห์
ชั้นในจะใช้เวลาในการเกิดประมาณ 100 ล้านปี
2. เขตดาวเคราะห์น้อย (asteroid belt) เป็นมวลสาร
ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี คาดว่ามี การก่อ
ตัวเช่นเดียวกับวัตถุที่ก่อกาเนิดเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน เศษที่เหลือของ
การสร้างดาวเคราะห์หินถูกแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดีที่มีขนาดใหญ่
และเกิดพร้อมดวงอาทิตย์ ทาให้มวลสารในบริเวณแถบดาวเคราะห์น้อย
จับตัวเป็นก้อนขนาดใหญ่ไม่ได้ จึงกลายเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาด
เล็กจานวนมาก
ดาวเคราะห์น้อยแกสปรา
ซึ่งไม่กลม
3. เขตดาวเคราะห์ชั้นนอก (outer planets) หรือ
ดาวเคราะห์ยักษ์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ องค์ประกอบหลัก
เป็นแก๊สไฮโดรเจนและแก๊สฮีเลียม ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาว
ยูเรนัส และดาวเนปจูน เกิดจากมวลสารของเนบิวลาที่อยู่ถัดออกมาจาก
ดาวเคราะห์หิน ดาวเคราะห์ยักษ์เกิดจากการสะสมของแก๊สและสารที่
ระเหยง่าย เช่น น้า เข้าไว้เป็นก้อนใหญ่ แก๊สส่วนใหญ่หลุดจากดวง
อาทิตย์ และบริเวณชั้นในของระบบสุริยะที่ดวงอาทิตย์ส่งแรงดันของการ
แผ่รังสีผลักแก๊สเหล่านี้ออกไปไกล รวมกันเป็นดาวเคราะห์ชั้นนอกซึ่งมี
ความหนาแน่นต่า ดาวเคราะห์ชั้นนอกบางดวงมีความหนาแน่นน้อยมาก
4. เขตของดาวหาง (comet) อยู่บริเวณขอบนอกของระบบ
สุริยะ ดาวหางเกิดจากเศษที่เหลือจากการสร้าง ดาวเคราะห์ยักษ์ ดาว
หางเป็นวัตถุท้องฟ้าที่ประกอบด้วยน้าและแก๊สที่เย็นจัด รวมตัวกันเป็น
ก้อนน้าแข็ง โดยมีฝุ่นและแร่ธาตุต่างๆ มารวมตัวกัน เมื่อดาวหางโคจร
มาใกล้ดวงอาทิตย์ จะดูดพลังงานจากดวงอาทิตย์ในรูปของพลังงาน
ความร้อนและรังสี ทาให้ก้อนน้าแข็งกลายเป็น
ไอกระจายออกไป ประกอบกับลมสุริยะผลักดัน
ให้แก๊สและฝุ่นในส่วนหัวพุ่งไปในทิศทางตรงกัน
ข้ามกับดวงอาทิตย์ ปรากฏเป็นหางยาวและมี
แสงสว่างจ้า ซึ่งเกิดจากการสะท้อนแสงของแก๊ส
ในดาวหาง หางของดาวหางจะยาวขึ้นเมื่อโคจร
ใกล้ดวงอาทิตย์มากขึ้น
ดาวหางเฮล-บอพพ์ หางแก๊สสีน้าเงิน ชี้ตรง
กับหางฝุ่นสีเหลืองเป็นทางโค้ง
ตาแหน่งของดาวเคราะห์เทียบกับดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ (the sun) เป็น
ดาวฤกษ์สีเหลือง ชนิดสปกตรัม G2
อุณหภูมิผิวประมาณ 5,800 เคลวิน ที่
อยู่ใกล้โลกของเรามากที่สุด อยู่ห่าง
ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร ดาวฤกษ์ที่
อยู่ใกล้โลกเป็นอันดับสองคือ ดาวพรอก
ซิมาเซนทอรี ซึ่งอยู่ไกลกว่าดวงอาทิตย์
ถึง 268,000 เท่า
พลังงานความร้อนและแสงสว่าง
จากดวงอาทิตย์เกื้อกูลชีวิตบนโลกช่วย
ให้โลกอบอุ่น จึงกล่าวได้ว่าดวงอาทิตย์
คือผู้ให้พลังชีวิตแก่สรรพชีวิตบนโลก
ดวงอาทิตย์จัดเป็นดาวฤกษ์ขนาด
กลาง เป็นก้อนแก๊สขนาดมหึมา แก๊สใน
ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจนและ
ฮีเลียมเป็นหลัก มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึง
ระดับพื้นผิวที่สามารถเห็นได้ประมาณ
1,390,000 กิโลเมตร
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
ส่วนตัวดวงอาทิตย์/
โครงสร้างภายใน
ส่วนชั้นบรรยากาศ
ที่ห่อหุ้มดวงอาทิตย์
1.แก่น (Core)
2.เขตการแผ่รังสี
(Radiation Zone)
3.เขตการพาความร้อน
(Convention Zone)
1.ชั้นโฟโตสเฟียร์
(Photosphere)
2.ชั้นโครโมสเฟียร์
(Chromosphere)
3.คอโรนา (Corona)
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
โครงสร้างภายในของดวงอาทิตย์ มี 3 ส่วน
1. แก่น (Core)
มีอุณหภูมิประมาณ 15
ล้านเคลวิน ซึ่งสูงเพียง
พอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์
โมนิวเคลียร์ได้ พลังงานที่
ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้
เป็นแหล่งพลังงานทั้งหมด
ของดวงอาทิตย์
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
โครงสร้างภายในของดวงอาทิตย์ มี 3 ส่วน
2. เขตการแผ่รังสี
(Radiation Zone)
อยู่ระหว่างแก่นแบะเจต
การพา การถ่ายโอน
พลังงานในเขตนี้ต้องใช้
เวลานานเป็นล้านปี
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
โครงสร้างภายในของดวงอาทิตย์ มี 3 ส่วน
3. เขตการพาความร้อน
(Convection Zone)
เป็นการพาพลังงานจาก
เขตการแผ่รังสีออกสู่ผิว
ดวงอาทิตย์ และพลังงาน
จากผิวของดวงอาทิตย์ออก
สู่อวกาศโดยการแผ่รังสี
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
โครงสร้างภายในของดวงอาทิตย์ มี 3 ส่วน
การพาความร้อนคือ
กระบวนการทางฟิสิกส์ที่อาจ
เกิดขึ้นในแก๊สที่อยู่ภายใต้แรงโน้ม
ถ่วงโดยแก๊สที่ร้อนกว่าแก๊สที่อยู่
ล้อมรอบจะลอยขึ้นไป จนใกล้ผิว
ดวงอาทิตย์จะระบายความร้อนได้
จากนั้นแก๊สที่ลอยขึ้นมาจะเย็นตัวลงและหนักขึ้น แล้วจะตกกลับลงไปใหม่
การพาจึงมีวัฎจักรที่แก๊สหมุนเวียน โดยผลลัพธ์คือการถ่ายโอนความร้อน
จากระดับล่างสู่ระดับบน
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มดวงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 3 ชั้นคือ
1. ชั้นโฟโตสเฟียร์
(Photosphere)
เป็นชั้นบรรยากาศชั้นใน
สุด เป็นบริเวณที่สว่างที่
สามารถมองเห็นได้ ซึ่งมี
อุณหภูมิประมาณ 5,800
เคลวิน
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มดวงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 3 ชั้นคือ
2. ชั้นโครโมสเฟียร์ (Chromosphere)
เป็นชั้นบรรยากาศบางๆ มีความหนาแน่น
10-4 เท่าของชั้นโฟโตสเฟียร์ เป็นชั้นที่
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 25,000 เคลวิน ขอบเขต
ของชั้นนี้ไม่แน่นอน เนื่องจากบรรยากาศใน
ชั้นนี้ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน มีโครงสร้างที่เป็นลา
แก๊สร้อน เนื่องจากมีความหนาแน่นต่าการ
เปล่งลาแสงจึงขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นและจะ
มีเฉพาะบางความยาวคลื่น
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มดวงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 3 ชั้นคือ
2. ชั้นคอโรนา (Corona)
เป็นชั้นบรรยากาศที่เจอจาง และแผ่
กระจายจากดวงอาทิตย์ได้ไกลมาก เราเห็น
แสงสว่างส่วนนี้ในช่วงที่เกิดสุริยุปราคาเต็ม
ดวง เนื่องจากคาโรนาที่อยู่ใกล้ชั้นโฟโตสเฟียร์
มีความสว่างประมาณ 1 ในล้านส่วนของความ
สว่างของดวงอาทิตย์และความสว่างลดลงตาม
ระยะทาง ความหนาแน่นในส่วนนี้ประมาณ
1011 อนุภาคต่อลูกบาศก์เมตร แต่อุณหภูมิสูง
ถึง 2x106 เคลวิน
ลมสุริยะ
สิ่งที่ออกมาจากดวงอาทิตย์ไม่ใช่เฉพาะแสงเท่านั้น แต่ยังมีแก๊สที่ร้อนจน
อะตอมแตกตัวเป็นอิเล็กตรอนและไอออน ที่ถูกปลดปล่อยจากบรรยากาศ
ชั้นคอโรนาของดวงอาทิตย์ ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและ
อิเล็กตรอนเช่นเดียวกับแก๊สภายในดวงอาทิตย์ เราเรียกแก๊สที่ออกจากดวง
อาทิตย์นี้ว่า ลมสุริยะ (Solar Wind) ความเร็วของลมสุริยะมีค่าตั้งแต่ 200
ถึง 900 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
พายุสุริยะ
ถ้าเกิดปรากฏการณ์ลุก
จ้าบนดวงอาทิตย์ (solar
flare) จะมีการเร่งอนุภาค
พลังงานสูงจากดวงอาทิตย์
(solar energetic particles)
และในบางครั้งอาจมีการ
ปล่อยก้อนมวลจากคอโรนา
(coronal mass ejection;
CME) ด้วย อนุภาคที่เกิด
จากการลุกจ้าและการปล่อยก้อนมวลจากคอโรนาเรียกโดยรวมว่า พายุ
สุริยะ (solar storms) ซึ่งจะมาถึงโลกภายในเวลา 20-40 ชั่วโมง ในขณะ
ที่แสงใช้เวลาเพียง 8.3 นาที ดังนั้นเมื่อสังเกตเห็นการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์
จึงมีการเตรียมตัวป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากพายุสุริยะได้
พายุสุริยะ
พายุสุริยะ (solar storms) มักเกิด
ถ้าเกิด ณ บริเวณ กัมมันต์ (active
region) หรือบริเวณจุดมืดมนดวง
อาทิตย์ (sunspot) โดยดวงอาทิตย์มีวัฏ
จักรจุดมืด (sunspot cycle) ประมาณ
ทุกๆ 11 ปี ช่วงที่มีจุดมืดบนดวง
อาทิตย์มากจะมีพายุสุริยะบ่อยครั้งด้วย
พายุสุริยะวันที่24 กันยายน 2011
แสดงการปล่อยก้อนมวลจากคอโรนา
ภายนี้ถ่ายจากเครื่องวัดในอวกาศ
ผลกระทบทางสภาพอากาศในอวกาศ (space weather effects)
พายุสุริยะ
1. การเกิดแสงเหนือใต้ (aurora)
2. การเกิดไฟฟ้าแรงสูงดับในประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลก
3. การติดขัดทางการสื่อสารโดยวิทยุคลื่นสั้นทั่วโลก
4. วงจรอิเล็กทรอนิกส์ในดาวเทียมถูกทาลาย เนื่องจากอนุภาค
รบกวนกระแสไฟฟ้า หรือให้ไฟฟ้าลัดวงจน หรือเปลี่ยนข้อมูล
5. การเปลี่ยนแปลงระดับดีเอ็นเอ ทาให้ข้อมูลทางพันธุกรรมผิด
เพื้ยนไปของนักบินอวกาศ เนื่อจากได้รับปริมาณรังสีมากเกินไป
6. การแปรปรวนของกระแสไฟฟ้าภายในชั้นไอโอโนสเฟียร์ ซึ่งจะ
เหนี่ยวนาให้เกิดสนามไฟฟ้าภาคพื้นธรณี และความต่างศักย์ไฟฟ้า
เคลื่อนที่จากศูกย์สูงไปศักย์ต่าในระดับพื้นผิวโลก
รอบการเปลี่ยนแปลงของจุดบนดวงอาทิตย์
(Sunspots cycle)
นักดาราศาสตร์สังเกตพบว่าจุดบนดวงอาทิตย์เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ทั้งตาแหน่งที่ปรากฏและจานวนจุด โดยมีคาบการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 11 ปี

Contenu connexe

Tendances

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 

Tendances (20)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 

En vedette

สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพsarawut chaiyong
 
7 ระบบสุริยะ
7 ระบบสุริยะ7 ระบบสุริยะ
7 ระบบสุริยะKhaidaw Pha
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติTa Lattapol
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 

En vedette (8)

สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
7 ระบบสุริยะ
7 ระบบสุริยะ7 ระบบสุริยะ
7 ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 

Similaire à บทที่ 7 ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 

Similaire à บทที่ 7 ระบบสุริยะ (20)

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาลดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาล
ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาล
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 

Plus de Ta Lattapol

หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาTa Lattapol
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 

Plus de Ta Lattapol (7)

หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 7 ระบบสุริยะ