SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
น.ส.ธมลวรรณ ดารงวุฒิโชติ
ชั้น ม.5/2 เลขที่ 44
ระบบหมายเลขไอพี (IP Address)
เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจะสามารถติดต่อถึงกันได้โดย
เครื่องคอมพิวเตอร์ ต้นทางจะระบุที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ต้องการติดต่อด้วย
ซึ่งที่อยู่ ของเครื่องคอมพิวเตอร์นี้จะถูกกาหนดใช้มาตรฐานที่เรียกว่า หมายเลขไอพี (IP Address)
ซึ่งเป็นข้อมูลตัวเลขขนาด32 บิต อันประกอบด้วยตัวเลขจานวนเต็ม4 กลุ่ม กลุ่มละ 8 บิต โดยใน
แต่ละกลุ่มจะสามารถแทนค่าเป็นจานวนเต็มที่อยู่ในช่วง0-255 (28-1) ได้ และใช้จุดเป็นตัว
แบ่งกลุ่ม เช่น
161.200.93.1
202.44.135.9
หมายเลขไอพีหนึ่ง ๆ จะแสดงถึงข้อมูลด้านเครือข่ายอยู่2 ส่วนด้วยกัน ส่วนแรกเป็นส่วน
แสดงหมายเลข เครือข่าย (Network Address) ส่วนที่สองเป็นส่วนแสดงหมายเลขคอมพิวเตอร์ (Host
Address) ที่อยู่ในเครือข่ายหมายเลขนั้น การจัดแบ่งหมายเลขไอพีสามารถแบ่งออกได้เป็น5 คลาส
(Class) คือ A, B, C, D และ E แต่โดยทั่วไปนั้นจะใช้งานหลักอยู่เพียง3 คลาส ได้แก่ คลาสA, B และ
C
เนื่องจากจานวนคอมพิวเตอร์ทั่วโลกที่ทาการเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์ได้เพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นอีกในไม่ช้านี้ระบบหมายเลขไอพีที่ใช้ในปัจจุบันซึ่งเป็นข้อมูลตัวเลขขนาด32
บิตจะไม่ เพียงพอที่จะกาหนดให้แก่คอมพิวเตอร์ได้ทั่วโลก ดังนั้นจึงได้มีการเตรียมคิดค้นระบบ
หมายเลข ไอพีแบบใหม่โดยขยายขนาดเป็นข้อมูลตัวเลขขนาด128 บิต ซึ่งมีชื่อเรียกว่าInternet
Protocol Version 6 หรือเรียกโดยย่อว่าIPv6
ในการที่คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องถูกกาหนดให้มีหมายเลขไอพีที่ไม่ซ้ากันเลยนั้น จะเห็น
ได้ว่าเป็นวิธีที่สะดวกที่คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ด้วยกันจะสามารถที่จะใช้อ้างอิงเพื่อติดต่อถึง
กันได้ แต่สาหรับผู้ใช้งานเครือข่ายนั้นคงจะเกิดความยุ่งยากและสับสนเป็นอย่างมากในการที่
จะต้องจดจาหมายเลขไอพีของเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ที่ต้องการ ติดต่อด้วยจานวนมาก
ดังนั้นเพื่อเป็นการ อานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานจึงเกิดแนวคิดในการสร้างระบบ "ชื่อ
โดเมน (Domain Name)" เพื่อใช้อ้างอิงในระดับผู้ใช้งานแทนระบบหมายเลขไอพีซึ่งก็จะคงถูกใช้
อ้างอิงในระดับ คอมพิวเตอร์ขึ้นมา

Contenu connexe

Tendances

หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายหน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายsasine
 
โครงสร้างระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบเครือข่ายโครงสร้างระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบเครือข่ายaomathmsu
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพnan1799
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Samakthanyakit Theptas
 

Tendances (9)

2
22
2
 
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สายหน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
หน่วยที่ 5 ส่วนประกอบสำคัญของแลนไร้สาย
 
E mail.pdf
E mail.pdfE mail.pdf
E mail.pdf
 
โครงสร้างระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบเครือข่ายโครงสร้างระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบเครือข่าย
 
E mail
E mailE mail
E mail
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพ
 
E mail-m51no33
E mail-m51no33E mail-m51no33
E mail-m51no33
 
ข้อสอบ o-net ปี 53
ข้อสอบ o-net  ปี 53ข้อสอบ o-net  ปี 53
ข้อสอบ o-net ปี 53
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similaire à ใบงานที่ 4

01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ตSmo Tara
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKruPor Sirirat Namthai
 
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศนใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศนpeter dontoom
 
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1pom_2555
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainMrpopovic Popovic
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นrachavo
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 

Similaire à ใบงานที่ 4 (20)

01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
E book1
E book1E book1
E book1
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศนใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
 
22
2222
22
 
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
 
Week8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internetWeek8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internet
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
Tcp
TcpTcp
Tcp
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
Week 2
Week 2Week 2
Week 2
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 

ใบงานที่ 4

  • 1. น.ส.ธมลวรรณ ดารงวุฒิโชติ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 44 ระบบหมายเลขไอพี (IP Address) เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจะสามารถติดต่อถึงกันได้โดย เครื่องคอมพิวเตอร์ ต้นทางจะระบุที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ต้องการติดต่อด้วย ซึ่งที่อยู่ ของเครื่องคอมพิวเตอร์นี้จะถูกกาหนดใช้มาตรฐานที่เรียกว่า หมายเลขไอพี (IP Address) ซึ่งเป็นข้อมูลตัวเลขขนาด32 บิต อันประกอบด้วยตัวเลขจานวนเต็ม4 กลุ่ม กลุ่มละ 8 บิต โดยใน แต่ละกลุ่มจะสามารถแทนค่าเป็นจานวนเต็มที่อยู่ในช่วง0-255 (28-1) ได้ และใช้จุดเป็นตัว แบ่งกลุ่ม เช่น 161.200.93.1 202.44.135.9 หมายเลขไอพีหนึ่ง ๆ จะแสดงถึงข้อมูลด้านเครือข่ายอยู่2 ส่วนด้วยกัน ส่วนแรกเป็นส่วน แสดงหมายเลข เครือข่าย (Network Address) ส่วนที่สองเป็นส่วนแสดงหมายเลขคอมพิวเตอร์ (Host Address) ที่อยู่ในเครือข่ายหมายเลขนั้น การจัดแบ่งหมายเลขไอพีสามารถแบ่งออกได้เป็น5 คลาส (Class) คือ A, B, C, D และ E แต่โดยทั่วไปนั้นจะใช้งานหลักอยู่เพียง3 คลาส ได้แก่ คลาสA, B และ C เนื่องจากจานวนคอมพิวเตอร์ทั่วโลกที่ทาการเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์ได้เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นอีกในไม่ช้านี้ระบบหมายเลขไอพีที่ใช้ในปัจจุบันซึ่งเป็นข้อมูลตัวเลขขนาด32 บิตจะไม่ เพียงพอที่จะกาหนดให้แก่คอมพิวเตอร์ได้ทั่วโลก ดังนั้นจึงได้มีการเตรียมคิดค้นระบบ หมายเลข ไอพีแบบใหม่โดยขยายขนาดเป็นข้อมูลตัวเลขขนาด128 บิต ซึ่งมีชื่อเรียกว่าInternet Protocol Version 6 หรือเรียกโดยย่อว่าIPv6 ในการที่คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องถูกกาหนดให้มีหมายเลขไอพีที่ไม่ซ้ากันเลยนั้น จะเห็น ได้ว่าเป็นวิธีที่สะดวกที่คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ด้วยกันจะสามารถที่จะใช้อ้างอิงเพื่อติดต่อถึง กันได้ แต่สาหรับผู้ใช้งานเครือข่ายนั้นคงจะเกิดความยุ่งยากและสับสนเป็นอย่างมากในการที่ จะต้องจดจาหมายเลขไอพีของเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ที่ต้องการ ติดต่อด้วยจานวนมาก ดังนั้นเพื่อเป็นการ อานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานจึงเกิดแนวคิดในการสร้างระบบ "ชื่อ
  • 2. โดเมน (Domain Name)" เพื่อใช้อ้างอิงในระดับผู้ใช้งานแทนระบบหมายเลขไอพีซึ่งก็จะคงถูกใช้ อ้างอิงในระดับ คอมพิวเตอร์ขึ้นมา