SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 1 of 58 Pages
บทที่ 4
การวางแผนและการจัดตารางการผลิต
หลัก
(Production Planning and Master
Scheduling)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 2 of 58 Pages
เนื้อหา
 บทนา
 ลักษณะของการวางแผนการผลิตรวม
 กลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวม
 วิธีการสาหรับการวางแผนการผลิตรวม
 การวางแผนการผลิตรวมด้านงานบริการ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 3 of 58 Pages
การวางแผน (Planning)
การวางแผนการผลิตและการปฏิบัติการแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ
 การวางแผนระยะยาว
 การวางแผนระยะปานกลาง
 การวางแผนระยะสั้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 4 of 58 Pages
ผู้จัดการฝ่ายบริการ
ผู้จัดการ
ผู้บริหาร
ระดับสูง
แผนระยะยาว (มากกว่า 1 ปี)
• แผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
• แผนวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
• แผนการลงทุน
แผนระยะกลาง (3-18 เดือน)
• แผนการขาย
• แผนการปฏิบัติงาน
แผนระยะสั้น (ไม่เกิน 3 เดือน)
• การมอบหมายงาน
• การจัดลาดับงาน
• การทางานล่วงเวลา
การวางแผน (Planning)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 5 of 58 Pages
การวางแผนการผลิตรวม
การวางแผนการผลิตรวม หมายถึง กิจกรรมเพื่อการกาหนด
ปริมาณในการผลิตของบริษัทหรือโรงงานอย่างคร่าวๆ ในช่วงของการ
วางแผน โดยพิจารณาจากความสามารถและปัจจัยการผลิตที่มีอยู่โดยไม่
เจาะจงถึงรายละเอียด และจัดเป็นแผนระยะกลาง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 6 of 58 Pages
วัตถุประสงค์ของการวางแผนการผลิตรวม
เป้ าหมายหลักของการวางแผนการผลิตรวม คือ การวางแผนเพื่อ
ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ทาการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการ
กาหนดกลยุทธ์การผลิตเพื่อให้สามารถสนองต่อความต้องการในลักษณะ
ที่มีต้นทุนการผลิตและการปฏิบัติการต่าที่สุด
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 7 of 58 Pages
การวางแผนการผลิตรวมมีขั้นตอนหลักๆ 3 ขั้นดังนี้
1. การพยากรณ์ความต้องการ เป็นขั้นตอนการคาดหมายถึง
ปริมาณความต้องการของผลิตภัณฑ์ในอนาคต
2. การวางแผนการผลิต คือ เมื่อรู้ความต้องการแล้วต่อไปคือการ
กาหนดกลยุทธ์สาหรับการผลิต ในการผลิต
3. การกาหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่จะผลิต คือ จะทาการ
ผลิตผลิตภัณฑ์ใดปริมาณเท่าใดตามกลยุทธ์ที่ได้วางไว้
ขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 8 of 58 Pages
การวางแผน
ผลิตภัณฑ์
การวางแผน
กระบวนการ
การวางแผน
การผลิตรวม
ตารางการ
ปฏิบัติการ
วางแผนวัสดุ
รายละเอียด
แผนงาน
ความ
ต้องการของ
ตลาด
ฝ่ายวิจัย
เทคโนโลยี
ข้อมูลด้าน
แรงงาน
ข้อมูลพยากรณ์
ความต้องการ
ข้อมูลปริมาณ
วัตถุดิบ
ข้อมูลบริษัท
ภายนอก
ข้อมูลสินค้า
คงคลัง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 9 of 58 Pages
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการวางแผนการผลิตรวม
 ค่าแรงปกติ (Regular time cost)
 ค่าแรงล่วงเวลา (Overtime cost)
 ค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้รับเหมา (Subcontracting cost)
 ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Inventory Holding
cost)
 ค่าใช้จ่ายสินค้าขาดมือ (Stock out cost)
 ค่าใช้จ่ายในการจ้างคนงานเพิ่ม (Hiring cost)
 ค่าใช้จ่ายในการเลิกจ้าง (Firing cost)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 10 of 58 Pages
กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิตรวม
แผนสาหรับกาหนดปริมาณผลผลิตและระยะเวลาการ
ปฏิบัติงานในอนาคตล่วงหน้า โดยเพื่อตอบสนองความต้องการด้วย
กลยุทธ์ต่าง ๆ โดยกลยุทธ์ในการวางแผนการผลิตรวมสามารถแบ่ง
ออกได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่
1. กลยุทธ์เชิงรับ (Passive strategies)
2. กลยุทธ์เชิงรุก (Active strategies)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 11 of 58 Pages
กลยุทธ์เชิงรับ (Passive strategies)
เป็นกลยุทธ์ที่เน้นการปรับกาลังการผลิตขององค์กร ทาได้โดย
1. การเปลี่ยนแปลงระดับสินค้าคงคลัง
2. การเปลี่ยนแปลงจานวนพนักงาน
3. การเปลี่ยนแปลงเวลาการทางาน
4. การจ้างผู้ผลิตรายอื่นแทน
5. การจ้างพนักงานชั่วคราว
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 12 of 58 Pages
กลยุทธ์เชิงรุก (Active strategies)
เป็นกลยุทธ์ที่พยายามสร้างผลกระทบต่อรูปแบบความต้องการของ
ตลาด และปรับความต้องการของลูกค้า
1. การใช้แรงกระตุ้นความต้องการของลูกค้า
2. การค้างส่งสินค้าในช่วงที่มีความต้องการสูง
3. การผลิตสินค้าต่างชนิดในนอกช่วงฤดูกาล
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 13 of 58 Pages
ทางเลือก ข้อดี ข้อเสีย หมายเหตุ
1. การเปลี่ยนระดับ
สินค้าคงคลัง
การเปลี่ยนแปลงด้าน
ทรัพยากรมนุษย์มีน้อย
หรือไม่มี
การเปลี่ยนแปลงด้าน
การผลิตมีน้อย
ค่าเก็บสินค้าคงคลังสูง
ในช่วงความต้องการสูง
อาจจะไม่มีสินค้าขาย
ใช้ได้เฉพาะ
อุตสาหกรรมผลิต
2. ปรับขนาดกาลังคน
ด้วยการจ้างคนเพิ่มขึ้น
หรือจ้างคนลดลง
ไม่มีค่าใช้จ่ายด้านอื่นๆ ค่าใช้จ่ายในการเพิ่มและ
ลดคนอาจสูงมาก
ใช้กับแรงงานที่ไม่มี
ทักษะ ใช้กับงานที่สร้าง
รายได้เสริม
3. ปรับอัตราการผลิต
ด้วยการทาล่วงเวลาหรือ
ยอมให้ว่างงาน
รองรับความต้องการ
ตามฤดูกาลได้โดยไม่มี
ต้นทุนการจ้างและการ
อบรม
ค่าล่วงเวลาสูง ผลิตผล
อาจต่า พนักงานอ่อนล้า
อาจจะผลิตไม่ได้ตาม
เป้าหมาย
ใช้ในแผนการผลิตรวม
4. การจ้างผลิต มีความยืดหยุ่นและ
ผลผลิตขององค์กร
สม่าเสมอ
สินค้าอาจไม่ได้คุณภาพ
กาไรลดลง อาจเสียธุรกิจ
ในอนาคต
ใช้เฉพาะช่วงปรับปรุง
การผลิต
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 14 of 58 Pages
ทางเลือก ข้อดี ข้อเสีย หมายเหตุ
5. ใช้แรงงานชั่วคราว ค่าใช้จ่ายต่ากว่าและ
ยืดหยุ่นกว่าคนงาน
ประจา
คนเข้าออกมากและค่า
ฝึกอบรมสูง คุณภาพ
อาจจะไม่ดี จัดตาราง
การทางานยาก
เหมาะกับงานที่ไม่
ต้องการทักษะ
6. มีอิทธิพลต่อความ
ต้องการของตลาด
พยายามใช้กาลังการผลิต
ส่วนเกิน การลดราคา
และการส่งเสริมการขาย
ทาให้ได้ลูกค้าใหม่
มีความต้องการที่ไม่
แน่นอน ยากที่จะทาให้
อุปสงค์สอดคล้องกับ
อุปทาน
สร้างแนวทางการตลาด
ใหม่ๆ เพื่อให้มีลูกค้า
ตลอดเวลา
7. ยอมให้มียอดค้างส่ง
ในช่วงที่มีความต้องการ
สูง
อาจจะไม่มีการทางาน
ล่วงเวลา ทาให้การผลิต
สม่าเสมอ
อาจเสียลูกค้าหรือเสีย
ความน่าเชื่อถือ
บางบริษัทลูกค้ายินยอม
ที่จะรอ
8. ผลิตสินค้าต่างชนิดใน
นอกช่วงฤดูกาล
ใช้ทรัพยากรอย่างเต็มที่
ระดับของแรงงาน
สม่าเสมอ
อาจต้องหาทักษะหรือ
เครื่องจักรที่องค์กรไม่
ชานาญ
มีความเสี่ยงในการหา
ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบ
ความต้องการตรงข้าม
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 15 of 58 Pages
กลยุทธ์ผสม (Mixing options)
การบริหารงานจริงนั้นอาจมีตัวแปรควบคุมได้หลายตัวแปร ดังนั้นจึงต้อง
นากลยุทธ์หลายรูปแบบมาผสมผสานกัน โดยสามารถแบ่งได้เป็น 2
แนวทาง คือ
1. กลยุทธ์แสวงหา (Chase strategy) เป็นกลยุทธ์ที่พยายามจะทาให้
ปริมาณของผลิตภัณฑ์เท่ากับหรือพอดีกับความต้องการของลูกค้า
โดยการปรับกาลังการผลิต
2. กลยุทธ์การรักษาระดับกาลังการผลิต (Level strategy)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 16 of 58 Pages
วิธีการทาตารางของแผนการผลิตรวม
ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้วางแผนจะต้องนาแนวทางต่าง
ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดวิธีการที่ทาให้ต้นทุนต่าที่สุดและ
เหมาะสมกับองค์กร โดยวิธีที่นิยมมีดังนี้
1. วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ (Graphical and Charting Method)
2. การศึกษาโดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต
(Mathematical Approaches to Planning)
3. แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร (Management Coefficients
Model)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 17 of 58 Pages
วิธีการทาตารางของแผนการผลิตรวม
ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้วางแผนจะต้องนาแนวทางต่าง
ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดวิธีการที่ทาให้ต้นทุนต่าที่สุดและ
เหมาะสมกับองค์กร โดยวิธีที่นิยมมีดังนี้
1. วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ (Graphical and Charting
Method)
2. การศึกษาโดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต
(Mathematical Approaches to Planning)
3. แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร (Management Coefficients
Model)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 18 of 58 Pages
วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ
วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ มีขั้นตอนดังนี้
1) กาหนดปริมาณความต้องการ
2) กาหนดกาลังการผลิตในแต่ละช่วง
3) คานวณต้นทุนค่าจ้างแรงงาน
4) พิจารณานโยบาย
5) สร้างแผนการปฏิบัติการรวม
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 19 of 58 Pages
ตัวอย่าง บริษัทผู้ผลิตหลังคาบ้าน ได้พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าใน
แต่ละเดือนล่วงหน้า ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงมิถุนายน ดังแสดงในตาราง
เดือน ค่าประมาณความต้องการ จานวนวันทางาน ความต้องการต่อวัน
ม.ค. 900 22 (900/22) = 41
ก.พ. 700 18 39
มี.ค. 800 21 38
เม.ย. 1,200 21 57
พ.ค. 1,500 22 68
มิ.ย. 1,100 20 55
6,200 124 50
= = 50 ชิ้นต่อวัน
6,200
124
ความต้องการเฉลี่ย =
ค่าประมาณความต้องการรวม
จานวนวันทางานรวม
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 20 of 58 Pages
30
40
50
60
70
0
/. ./
22
. ./
18
. ./
21
. ./
21
. ./
22
. ./
20
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 21 of 58 Pages
แนวทางการปฏิบัติ
1. กาหนดอัตราการผลิตคงที่ให้เท่ากับค่าความต้องการเฉลี่ยคือ 50 ชิ้น
ต่อวัน ซึ่งสินค้าจะมีเหลือในช่วงเดือนมกราคม–มีนาคม สามารถสารองไว้ขาย
ในช่วงเดือนเมษายน–มิถุนายน
2. กาหนดอัตราการผลิตคงที่ที่อัตราต่ากว่าค่าความต้องการเฉลี่ย เช่น
กาหนดอัตราการผลิตเป็น 30 ชิ้นต่อวัน (หรือขึ้นอยู่กับกาลังความสามารถของ
การผลิต) พร้อมกับจ้างผู้อื่นผลิตแทนในส่วนที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของ
ลูกค้า
3. ทาการผลิตที่อัตราการผลิตคงที่ แต่ต่ากว่าค่าความต้องการเฉลี่ย
เหมือนดังข้อ 2 โดยอาจกาหนดให้มีการทางานล่วงเวลาควบคู่ไปกับการจ้าง
ผู้อื่นผลิต ในช่วงที่ความต้องการของตลาดสูง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 22 of 58 Pages
กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต
จากแนวทางการปฏิบัติข้างต้นสามารถจัดทาแผนการผลิต 3 กล
ยุทธ์ ดังนี้
กลยุทธ์ที่ 1 การรักษาระดับพนักงานให้คงที่ 6 เดือน
กลยุทธ์ที่ 2 การรักษาระดับพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ
ปริมาณความต้องการ สินค้าที่ต่าที่สุดและตอบสนองความต่าง
โดยจ้างบริษัทภายนอกผลิต
กลยุทธ์ที่ 3 การจ้างพนักงานใหม่และปลดพนักงานออกตาม
ช่วงเวลา
ทางเลือกที่ 1 และ 2 มีเป้าหมายเพื่อรักษากาลังการผลิตให้คงที่ตลอด 6 เดือน
ทางเลือกที่ 3 มีการเปลี่ยนแปลงกาลังการผลิต
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 23 of 58 Pages
ข้อมูลต้นทุน
ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลัง $5 ต่อชิ้นต่อเดือน
ค่าจ้างผู้อื่นผลิต (ส่วนเพิ่มจากการผลิตเอง) $10 ต่อชิ้น
อัตราค่าจ้างแรงงาน $5 ต่อชั่วโมง ($40 ต่อวัน)
อัตราค่าล่วงเวลา $7 ต่อชั่วโมง
เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิต 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น
ต้นทุนในการเพิ่มอัตราการผลิต (การจ้างและอบรม) $10 ต่อชิ้น
ต้นทุนในการลดอัตราการผลิต (ค่าจ้างออก) $15 ต่อชิ้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 24 of 58 Pages
กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต
จากแนวทางการปฏิบัติข้างต้นสามารถจัดทาแผนการผลิต 3 กล
ยุทธ์ ดังนี้
กลยุทธ์ที่ 1 การรักษาระดับพนักงานให้คงที่ 6 เดือน
กลยุทธ์ที่ 2 การรักษาระดับพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ
ปริมาณความต้องการ สินค้าที่ต่าที่สุดและตอบสนองความต่าง
โดยจ้างบริษัทภายนอกผลิต
กลยุทธ์ที่ 3 การจ้างพนักงานใหม่และปลดพนักงานออกตาม
ช่วงเวลา
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 25 of 58 Pages
30
40
50
60
70
0
/. ./
22
. ./
18
. ./
21
. ./
21
. ./
22
. ./
20
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 26 of 58 Pages
ข้อมูลต้นทุน
ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลัง $5 ต่อชิ้นต่อเดือน
ค่าจ้างผู้อื่นผลิต (ส่วนเพิ่มจากการผลิตเอง) $10 ต่อชิ้น
อัตราค่าจ้างแรงงาน $5 ต่อชั่วโมง ($40 ต่อวัน)
อัตราค่าล่วงเวลา $7 ต่อชั่วโมง
เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิต 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น
ต้นทุนในการเพิ่มอัตราการผลิต (การจ้างและอบรม) $10 ต่อชิ้น
ต้นทุนในการลดอัตราการผลิต (ค่าจ้างออก) $15 ต่อชิ้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 27 of 58 Pages
การคานวณหาต้นทุนด้านค่าแรงงานจากเงื่อนไขที่กาหนดให้คือ ไม่
มีการจ่ายค่าล่วงเวลา และไม่มีการจ้างผู้อื่นผลิต เนื่องจากในการทาการ
ผลิต 1 ชิ้น พนักงานทางาน 8 ชั่วโมงต่อวัน และมีอัตราการผลิตวันละ 50
ชิ้น ดังนั้นจะได้ว่า
 เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิตจากตารางต้นทุน = 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น
 ดังนั้น คนงาน 1 คน จะผลิตสินค้าได้ 8/1.6 = 5 ชิ้นต่อวัน
 ตามแผนจะต้องผลิตได้ 50 ชิ้นต่อวัน ดังนั้นต้องจ้างพนักงาน 10 คน
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 1
1. ต้นทุนแรงงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 28 of 58 Pages
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 1
2. ต้นทุนคงคลัง
ปริมาณสินค้าคงคลังที่ถูกจัดเก็บในแต่ละเดือนรวมตลอด 6 เดือน เท่ากับ 1,850 หน่วย
เดือน วันทางาน
ผลผลิตที่
50 ชิ้นต่อวัน
ค่าประมาณ
ความต้องการ
การเปลี่ยนแปลง
ของสินค้าคงคลัง
แต่ละเดือน
สินค้าคง
คลังปลาย
งวด
มกราคม 22 1,100 900 200 200
กุมภาพันธ์ 18 900 700 200 400
มีนาคม 21 1,050 800 250 650
เมษายน 21 1,050 1,200 -150 500
พฤษภาคม 22 1,100 1,500 -400 100
มิถุนายน 20 1,000 1,100 -100 -
รวม 124 6,200 1,850
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 29 of 58 Pages
ต้นทุน การคานวณ
ต้นทุนคงคลัง $9,250 (= สินค้าคงคลัง1,850 ชิ้น x $5 ต่อชิ้น)
ต้นทุนค่าจ้างแรงงาน $49,600 (= คนงาน 10 คน x $40 ต่อวัน x 124 วัน)
ต้นทุนรวม $58,850
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 1
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 30 of 58 Pages
กราฟความต้องการสาหรับแผนการผลิตที่ 1
Cumulativedemandunits
7,000 –
6,000 –
5,000 –
4,000 –
3,000 –
2,000 –
1,000 –
0 –
Jan Feb Mar Apr May June
Cumulative forecast
requirements
Cumulative level
productionusing
average monthly
forecast requirements
Reduction
of inventory
Excessinventory
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 31 of 58 Pages
กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต
จากแนวทางการปฏิบัติข้างต้นสามารถจัดทาแผนการผลิต 3 กล
ยุทธ์ ดังนี้
กลยุทธ์ที่ 1 การรักษาระดับพนักงานให้คงที่ 6 เดือน
กลยุทธ์ที่ 2 การรักษาระดับพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ
ปริมาณความต้องการ สินค้าที่ต่าที่สุดและตอบสนองความ
ต่างโดยจ้างบริษัทภายนอกผลิต
กลยุทธ์ที่ 3 การจ้างพนักงานใหม่และปลดพนักงานออกตาม
ช่วงเวลา
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 32 of 58 Pages
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 2
ทางเลือกที่ 2 กาหนดให้พนักงานคงที่ โดยให้มีจานวนพนักงาน
สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าที่ต่าที่สุด นั่นคือเดือนมีนาคมต้อง
ผลิตเฉลี่ย 38 หน่วยต่อวัน ส่วนสินค้าที่เกินกาลังการผลิตต้องจ้างบริษัท
ภายนอกผลิตแทน สาหรับแผนนี้จะไม่มีการเก็บสินค้าคงคลัง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 33 of 58 Pages
นาปริมาณความต้องการที่ต่าที่สุดมาเป็นตัวกาหนดอัตราการผลิตต่อวัน 38 ชิ้นต่อวัน
เดือน ค่าประมาณความต้องการ จานวนวันทางาน ความต้องการต่อวัน
ม.ค. 900 22 (900/22) = 41
ก.พ. 700 18 39
มี.ค. 800 21 38
เม.ย. 1,200 21 57
พ.ค. 1,500 22 68
มิ.ย. 1,100 20 55
6,200 124 50
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 2
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 34 of 58 Pages
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 2
30
40
50
60
70
0
/. ./
22
. ./
18
. ./
21
. ./
21
. ./
22
. ./
20
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 35 of 58 Pages
ผลิตเอง = 38 ชิ้นต่อวัน x 124 วัน
= 4,712 ชิ้น
จ้างผลิต = 6,200 - 4,712
= 1,488 ชิ้น
ข้อมูลต้นทุน
ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลัง $5 ต่อชิ้นต่อเดือน
ค่าจ้างผู้อื่นผลิต (ส่วนเพิ่มจากการผลิตเอง) $10 ต่อชิ้น
อัตราค่าจ้างแรงงาน $5 ต่อชั่วโมง ($40 ต่อวัน)
อัตราค่าล่วงเวลา $7 ต่อชั่วโมง
เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิต 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น
ต้นทุนในการเพิ่มอัตราการผลิต (การจ้างและอบรม) $10 ต่อชิ้น
ต้นทุนในการลดอัตราการผลิต (ค่าจ้างออก) $15 ต่อชิ้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 36 of 58 Pages
ในการผลิตเฉลี่ย 38 หน่วยต่อวัน 1 คนผลิตได้ 5 หน่วยต่อวัน
ดังนั้น 38/5 = 7.6 อาจแบ่งเป็นพนักงานประจา 7 คน พนักงาน
ชั่วคราว 1 คน
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 2
ต้นทุน การคานวณ
ต้นทุนค่าจ้างแรงงาน $37,696 (= คนงาน 7.6 คน x $40 ต่อวัน x 124 วัน)
ต้นทุนการจ้างผลิต $14,880 (= สินค้า 1,488 ชิ้น x $10 ต่อชิ้น)
ต้นทุนรวม $52,576
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 37 of 58 Pages
กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต
จากแนวทางการปฏิบัติข้างต้นสามารถจัดทาแผนการผลิต 3 กล
ยุทธ์ ดังนี้
กลยุทธ์ที่ 1 การรักษาระดับพนักงานให้คงที่ 6 เดือน
กลยุทธ์ที่ 2 การรักษาระดับพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ
ปริมาณความต้องการ สินค้าที่ต่าที่สุดและตอบสนองความต่าง
โดยจ้างบริษัทภายนอกผลิต
กลยุทธ์ที่ 3 การจ้างพนักงานใหม่และปลดพนักงานออก
ตามช่วงเวลา
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 38 of 58 Pages
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 3
แผนการผลิตที่ 3 ใช้การเปลี่ยนแปลงจานวนพนักงาน
30
40
50
60
70
0
/. ./
22
. ./
18
. ./
21
. ./
21
. ./
22
. ./
20
เพิ่ม/ลดพนักงานเพื่อทาการผลิตให้เท่ากับความต้องการ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 39 of 58 Pages
ข้อมูลต้นทุน
ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลัง $5 ต่อชิ้นต่อเดือน
ค่าจ้างผู้อื่นผลิต (ส่วนเพิ่มจากการผลิตเอง) $10 ต่อชิ้น
อัตราค่าจ้างแรงงาน $5 ต่อชั่วโมง ($40 ต่อวัน)
อัตราค่าล่วงเวลา $7 ต่อชั่วโมง
เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิต 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น
ต้นทุนในการเพิ่มอัตราการผลิต (การจ้างและอบรม) $10 ต่อชิ้น
ต้นทุนในการลดอัตราการผลิต (ค่าจ้างออก) $15 ต่อชิ้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 40 of 58 Pages
การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 3
การผลิตปกติ
(ความ
ต้องการ x
1.6 ชม.X
$5 ต่อชม.)
ม.ค. 900 - $7,200 - - $7,200
ก.พ. 700 -200 5,600 - $3,000 (=200x$15) 8,600
มี.ค. 800 +100 6,400 $1,000 (=100x$10) - 7,400
เม.ย. 1,200 +400 9,600 4,000 (=400x$10) - 13,600
พ.ค. 1,500 +300 12,000 3,000 (=300x$10) - 15,000
มิ.ย. 1,100 -400 8,800 - $6,000 (=400x$15) 14,800
$49,600 $8,000 $9,000 $66,600
ต้นทุน
รวม
ต้นทุนส่วนเพิ่ม
(ค่าจ้างเพิ่ม)
การ
เพิ่ม/ลด
ของ
ความ
ต้องการ
ความ
ต้องการ
ของลูกค้า
(ชิ้น)
เดือน
ต้นทุนส่วนเพิ่ม
(ค่าลดคน)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 41 of 58 Pages
เปรียบเทียบต้นทุนของทั้ง 3 กลยุทธ์
ประเภทต้นทุน กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 กลยุทธ์ที่ 3
ค่าเก็บสินค้าคงคลัง $ 9,250 $ - $ -
ค่าจ้างแรงงานปกติ 49,600 37,696 49,600
ค่าจ้างล่วงเวลา - - -
ค่าจ้างพนักงานเพิ่ม - - 8,000
ค่าจ้างพนักงานออก - - 9,000
ค่าจ้างผลิต - 14,880 -
ต้นทุนรวม $58,850 $52,576 $66,600
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 42 of 58 Pages
Q1: บริษัทผู้ผลิตของเล่นเด็กมีการพยากรณ์ความต้องการในแต่ละไตรมาส
ดังนี้
ไตรมาส อุปสงค์(ชิ้น)
1 5,000
2 3,000
3 7,000
4 9,000
รวม 24,000
ค่าแรงปกติ=20 บาทต่อชิ้น
ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง = 5 บาทต่อชิ้นต่อไตรมาส
ค่าใช้จ่ายในการจ้าง = 200 บาทต่อพนักงาน 1 คน
ค่าใช้จ่ายในการเลิกจ้าง = 700 บาทต่อพนักงาน 1 คน
สินค้าที่ผลิตได้ต่อพนักงาน 1 คน = 100 ชิ้นต่อคนต่อไตรมาส
จานวนพนักงานเริ่มต้น 60 คน
จานวนผลิตภัณฑ์ในคลังสินค้าเริ่มต้น 0 ชิ้น
เปรียบเทียบกลยุทธ์การผลิต
- แบบรักษาระดับกาลังการผลิตให้คงที่
- แบบปรับกาลังการผลิตตามอุปสงค์
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 43 of 58 Pages
เปรียบเทียบกลยุทธ์การผลิต
แบบรักษาระดับกาลังการผลิตให้คงที่
ไตรมาส อุปสงค์(ชิ้น) จานวนผลิตในการทางานปกติ (ชิ้น) ระดับสินค้าคงคลัง (ชิ้น)
1 5,000 6,000 1,000
2 3,000 6,000 4,000
3 7,000 6,000 3,000
4 9,000 6,000 0
รวม 24,000 24,000 8,000
ต้นทุนรวม = (24,000x20)+(8,000x5)
= 520,000 บาท
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 44 of 58 Pages
เปรียบเทียบกลยุทธ์การผลิต
แบบปรับกาลังการผลิตตามอุปสงค์
ไตร
มาส
อุปสงค์
(ชิ้น)
จานวนผลิตในการ
ทางานปกติ (ชิ้น)
จานวนคนงานที่
ต้องใช้(คน)
จานวนคนงานที่ต้องจ้าง
เพิ่ม (คน)
จานวนคนงาน
เลิกจ้าง (คน)
1 5,000 6,000 50 - 10
2 3,000 6,000 30 - 20
3 7,000 6,000 70 40 -
4 9,000 6,000 90 20 -
รวม 24,000 24,000 - 60 30
ต้นทุนรวม = (24,000x20)+(60x200)+(30x700)
= 513,000 บาท
ทางเลือกที่ 1 ต้นทุนรวมเท่ากับ 520,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 ต้นทุนรวมเท่ากับ 513,000 บาท
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 45 of 58 Pages
วิธีการทาตารางของแผนการผลิตรวม
ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้วางแผนจะต้องนาแนวทางต่าง
ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดวิธีการที่ทาให้ต้นทุนต่าที่สุดและ
เหมาะสมกับองค์กร โดยวิธีที่นิยมมีดังนี้
1. วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ (Graphical and Charting Method)
2. การศึกษาโดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการ
ผลิต (Mathematical Approaches to Planning)
3. แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร (Management Coefficients
Model)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 46 of 58 Pages
วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต
การใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต
 วิธีการที่ได้รับความนิยม เรียกว่า การใช้โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการ
แบบขนส่ง (Transportation Method of Linear Programming)
 เป็นวิธีที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการกาหนดการผลิต โดยมีวัตถุประสงค์
ให้ต้นทุนการผลิตต่าสุด ซึ่งสามารถนามาใช้ในการกาหนดการผลิตใน
ภาวะเวลาปกติ การทางาน ล่วงเวลาการจ้างผู้ผลิตแทน การเพิ่มกะ
ทางานเป็นพิเศษ และการควบคุมสินค้าคงคลัง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 47 of 58 Pages
โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการแบบขนส่ง
ตัวอย่าง
บริษัทผู้ผลิตยางรถยนต์ ได้รวบรวมข้อมูลด้านการผลิตมาจากโรงงานได้ข้อมูลดังนี้
กาหนดให้ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าเป็น $2 ต่อเส้นต่อเดือน
มี.ค. เม.ย. พ.ค.
800 1,000 750
ภาวะปกติ 700 700 700 $ 40 ต่อเส้น
ล่วงเวลา 50 50 50 $ 50 ต่อเส้น
ผู้ผลิตแทน 150 150 130 $ 70 ต่อเส้น
สินค้าคงเหลือต้นปี 100
ความต้องการ
กาลังการผลิต
ช่วงเวลาขาย (เส้น)
ต้นทุน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 48 of 58 Pages
กาลังการผลิต
ความต้องการของลูกค้า
กาลังการผลิตรวม
(Supply)
ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้
(ส่วนเกิน Dummy)
ช่วงเวลาที่ 1
สินค้าคงคลังเริ่มต้น
0 2 4 0
100 100
เวลาทางานปกติ
40 42 44 0
การทางานล่วงเวลา
50 52 54 0
การจ้างผลิตแทน
70 72 74 0
ช่วงเวลาที่ 2
เวลาทางานปกติ
40 42 0
X
การทางานล่วงเวลา
50 52 0
X
การจ้างผลิตแทน
70 72 0
X
ช่วงเวลาที่ 3
เวลาทางานปกติ
40 0
X X
การทางานล่วงเวลา
50 0
X X
การจ้างผลิตแทน
70 0
X X
ความต้องการรวม 800 1000 750
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 49 of 58 Pages
โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการแบบขนส่ง
พิจารณาความต้องการของเดือนมี.ค.
มี.ค. เม.ย. พ.ค.
800 1,000 750
ภาวะปกติ 700 700 700 $ 40 ต่อเส้น
ล่วงเวลา 50 50 50 $ 50 ต่อเส้น
ผู้ผลิตแทน 150 150 130 $ 70 ต่อเส้น
สินค้าคงเหลือต้นปี 100
ความต้องการ
กาลังการผลิต
ช่วงเวลาขาย (เส้น)
ต้นทุน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 50 of 58 Pages
กาลังการผลิต
ความต้องการของลูกค้า
กาลังการผลิตรวม
(Supply)
ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้
(ส่วนเกิน Dummy)
ช่วงเวลาที่ 1
สินค้าคงคลังเริ่มต้น
0 2 4 0
100 100
เวลาทางานปกติ
40 42 44 0
700 700
การทางานล่วงเวลา
50 52 54 0
การจ้างผลิตแทน
70 72 74 0
ช่วงเวลาที่ 2
เวลาทางานปกติ
40 42 0
X
การทางานล่วงเวลา
50 52 0
X
การจ้างผลิตแทน
70 72 0
X
ช่วงเวลาที่ 3
เวลาทางานปกติ
40 0
X X
การทางานล่วงเวลา
50 0
X X
การจ้างผลิตแทน
70 0
X X
ความต้องการรวม 800 1000 750
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 51 of 58 Pages
โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการแบบขนส่ง
พิจารณาความต้องการของเดือนเม.ย.
มี.ค. เม.ย. พ.ค.
800 1,000 750
ภาวะปกติ 700 700 700 $ 40 ต่อเส้น
ล่วงเวลา 50 50 50 $ 50 ต่อเส้น
ผู้ผลิตแทน 150 150 130 $ 70 ต่อเส้น
สินค้าคงเหลือต้นปี 100
ความต้องการ
กาลังการผลิต
ช่วงเวลาขาย (เส้น)
ต้นทุน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 52 of 58 Pages
กาลังการผลิต
ความต้องการของลูกค้า
กาลังการผลิตรวม
(Supply)
ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้
(ส่วนเกิน Dummy)
ช่วงเวลาที่ 1
สินค้าคงคลังเริ่มต้น
0 2 4 0
100 100
เวลาทางานปกติ
40 42 44 0
700 700
การทางานล่วงเวลา
50 52 54 0
50 50
การจ้างผลิตแทน
70 72 74 0
150 150
ช่วงเวลาที่ 2
เวลาทางานปกติ
40 42 0
X 700 700
การทางานล่วงเวลา
50 52 0
X 50 50
การจ้างผลิตแทน
70 72 0
X 50 100 150
ช่วงเวลาที่ 3
เวลาทางานปกติ
40 0
X X
การทางานล่วงเวลา
50 0
X X
การจ้างผลิตแทน
70 0
X X
ความต้องการรวม 800 1000 750
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 53 of 58 Pages
โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการแบบขนส่ง
พิจารณาความต้องการของเดือนเม.ย.
มี.ค. เม.ย. พ.ค.
800 1,000 750
ภาวะปกติ 700 700 700 $ 40 ต่อเส้น
ล่วงเวลา 50 50 50 $ 50 ต่อเส้น
ผู้ผลิตแทน 150 150 130 $ 70 ต่อเส้น
สินค้าคงเหลือต้นปี 100
ความต้องการ
กาลังการผลิต
ช่วงเวลาขาย (เส้น)
ต้นทุน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 54 of 58 Pages
กาลังการผลิต
ความต้องการของลูกค้า
กาลังการผลิตรวม
(Supply)
ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้
(ส่วนเกิน Dummy)
ช่วงเวลาที่ 1
สินค้าคงคลังเริ่มต้น
0 2 4 0
100 100
เวลาทางานปกติ
40 42 44 0
700 700
การทางานล่วงเวลา
50 52 54 0
50 50
การจ้างผลิตแทน
70 72 74 0
150 150
ช่วงเวลาที่ 2
เวลาทางานปกติ
40 42 0
X 700 700
การทางานล่วงเวลา
50 52 0
X 50 50
การจ้างผลิตแทน
70 72 0
X 50 100 150
ช่วงเวลาที่ 3
เวลาทางานปกติ
40 0
X X 700 700
การทางานล่วงเวลา
50 0
X X 50 50
การจ้างผลิตแทน
70 0
X X 130 130
ความต้องการรวม 800 1000 750 230 2,780
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 55 of 58 Pages
กาลังการผลิต
ความต้องการของลูกค้า
กาลังการผลิตรวม
(Supply)
ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้
(ส่วนเกิน Dummy)
ช่วงเวลาที่ 1
สินค้าคงคลังเริ่มต้น
0 2 4 0
100 100
เวลาทางานปกติ
40 42 44 0
700 700
การทางานล่วงเวลา
50 52 54 0
50 50
การจ้างผลิตแทน
70 72 74 0
150 150
ช่วงเวลาที่ 2
เวลาทางานปกติ
40 42 0
X 700 700
การทางานล่วงเวลา
50 52 0
X 50 50
การจ้างผลิตแทน
70 72 0
X 50 100 150
ช่วงเวลาที่ 3
เวลาทางานปกติ
40 0
X X 700 700
การทางานล่วงเวลา
50 0
X X 50 50
การจ้างผลิตแทน
70 0
X X 130 130
ความต้องการรวม 800 1000 750 230 2,780
ต้นทุนรวม 28,000 47,400 30,500 105,900
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 56 of 58 Pages
วิธีการทาตารางของแผนการผลิตรวม
ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้วางแผนจะต้องนาแนวทางต่าง
ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดวิธีการที่ทาให้ต้นทุนต่าที่สุดและ
เหมาะสมกับองค์กร โดยวิธีที่นิยมมีดังนี้
1. วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ (Graphical and Charting Method)
2. การศึกษาโดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต
(Mathematical Approaches to Planning)
3. แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร (Management
Coefficients Model)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 57 of 58 Pages
แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร
วิธีนี้เพื่อช่วยในการตัดสินใจสาหรับฝ่ายบริหาร โดยการนาการ
ตัดสินใจในอดีต ประสบการณ์ และประสิทธิภาพของผู้บริหารมาใช้เป็น
พื้นฐานในการตัดสินใจในอนาคต โดยอยู่บนพื้นฐานของการวิเคราะห์
แบบถดถอย (Regression analysis)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 58 of 58 Pages
การเปรียบเทียบเทคนิคการวางแผนการปฏิบัติการรวม
เทคนิคการวางแผนการปฏิบัติการรวม แนวทางในการค้นหาคาตอบ ลักษณะที่สาคัญ
1. การสร้างตารางและแผนภาพ วิธีการลองผิดลองถูก
(Trial and error)
ง่ายต่อการทาความเข้าใจและ
นาไปใช้งาน อาจได้คาตอบ
มากกว่าหนึ่งคาตอบ และคาตอบ
ที่เลือกอาจไม่ใช่คาตอบที่แสดง
ต้นทุนที่ต่าที่สุด
2. การใช้โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีตัว
แบบขนส่ง
การค้นหาค่าคาตอบที่ดีที่สุดจาก
เงื่อนไขต่าง ๆ
(Optimization)
มีซอฟท์แวร์ช่วยในการวิเคราะห์
แต่บางครั้งความสัมพันธ์ของตัว
แปรไม่สอดคล้องกับสภาพความ
เป็นจริง
3. ตัวแบบสัมประสิทธ์การบริหาร การสุ่มค่าคาตอบเบื้องต้นและ
ค้นหาไปสู่ค่าคาตอบที่ดีที่สุด
(Heuristic method)
ง่ายต่อการนาไปใช้ด้วยการ
จาลองกระบวนการการตัดสินใจ
ของผู้จัดการในอดีตและวิเคราะห์
หาการตัดสินใจในอนาคตโดยใช้
สมการถดถอย

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 

Tendances (20)

บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 

Similaire à การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก

How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)maruay songtanin
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planningKan Yuenyong
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 

Similaire à การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก (20)

Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร3.4.1 ผู้บริหาร
3.4.1 ผู้บริหาร
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
111
111111
111
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Cirriculum executive summary
Cirriculum executive summaryCirriculum executive summary
Cirriculum executive summary
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
แผน Imc
แผน Imcแผน Imc
แผน Imc
 
Pocketbook bean
Pocketbook beanPocketbook bean
Pocketbook bean
 
หลักสูตรฝึกอบรม ERP
หลักสูตรฝึกอบรม ERPหลักสูตรฝึกอบรม ERP
หลักสูตรฝึกอบรม ERP
 

Plus de Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

Plus de Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก

  • 1. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 1 of 58 Pages บทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิต หลัก (Production Planning and Master Scheduling)
  • 2. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 2 of 58 Pages เนื้อหา  บทนา  ลักษณะของการวางแผนการผลิตรวม  กลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวม  วิธีการสาหรับการวางแผนการผลิตรวม  การวางแผนการผลิตรวมด้านงานบริการ
  • 3. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 3 of 58 Pages การวางแผน (Planning) การวางแผนการผลิตและการปฏิบัติการแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ  การวางแผนระยะยาว  การวางแผนระยะปานกลาง  การวางแผนระยะสั้น
  • 4. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 4 of 58 Pages ผู้จัดการฝ่ายบริการ ผู้จัดการ ผู้บริหาร ระดับสูง แผนระยะยาว (มากกว่า 1 ปี) • แผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ • แผนวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ • แผนการลงทุน แผนระยะกลาง (3-18 เดือน) • แผนการขาย • แผนการปฏิบัติงาน แผนระยะสั้น (ไม่เกิน 3 เดือน) • การมอบหมายงาน • การจัดลาดับงาน • การทางานล่วงเวลา การวางแผน (Planning)
  • 5. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 5 of 58 Pages การวางแผนการผลิตรวม การวางแผนการผลิตรวม หมายถึง กิจกรรมเพื่อการกาหนด ปริมาณในการผลิตของบริษัทหรือโรงงานอย่างคร่าวๆ ในช่วงของการ วางแผน โดยพิจารณาจากความสามารถและปัจจัยการผลิตที่มีอยู่โดยไม่ เจาะจงถึงรายละเอียด และจัดเป็นแผนระยะกลาง
  • 6. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 6 of 58 Pages วัตถุประสงค์ของการวางแผนการผลิตรวม เป้ าหมายหลักของการวางแผนการผลิตรวม คือ การวางแผนเพื่อ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ทาการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการ กาหนดกลยุทธ์การผลิตเพื่อให้สามารถสนองต่อความต้องการในลักษณะ ที่มีต้นทุนการผลิตและการปฏิบัติการต่าที่สุด
  • 7. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 7 of 58 Pages การวางแผนการผลิตรวมมีขั้นตอนหลักๆ 3 ขั้นดังนี้ 1. การพยากรณ์ความต้องการ เป็นขั้นตอนการคาดหมายถึง ปริมาณความต้องการของผลิตภัณฑ์ในอนาคต 2. การวางแผนการผลิต คือ เมื่อรู้ความต้องการแล้วต่อไปคือการ กาหนดกลยุทธ์สาหรับการผลิต ในการผลิต 3. การกาหนดปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่จะผลิต คือ จะทาการ ผลิตผลิตภัณฑ์ใดปริมาณเท่าใดตามกลยุทธ์ที่ได้วางไว้ ขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
  • 8. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 8 of 58 Pages การวางแผน ผลิตภัณฑ์ การวางแผน กระบวนการ การวางแผน การผลิตรวม ตารางการ ปฏิบัติการ วางแผนวัสดุ รายละเอียด แผนงาน ความ ต้องการของ ตลาด ฝ่ายวิจัย เทคโนโลยี ข้อมูลด้าน แรงงาน ข้อมูลพยากรณ์ ความต้องการ ข้อมูลปริมาณ วัตถุดิบ ข้อมูลบริษัท ภายนอก ข้อมูลสินค้า คงคลัง
  • 9. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 9 of 58 Pages ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการวางแผนการผลิตรวม  ค่าแรงปกติ (Regular time cost)  ค่าแรงล่วงเวลา (Overtime cost)  ค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้รับเหมา (Subcontracting cost)  ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Inventory Holding cost)  ค่าใช้จ่ายสินค้าขาดมือ (Stock out cost)  ค่าใช้จ่ายในการจ้างคนงานเพิ่ม (Hiring cost)  ค่าใช้จ่ายในการเลิกจ้าง (Firing cost)
  • 10. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 10 of 58 Pages กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิตรวม แผนสาหรับกาหนดปริมาณผลผลิตและระยะเวลาการ ปฏิบัติงานในอนาคตล่วงหน้า โดยเพื่อตอบสนองความต้องการด้วย กลยุทธ์ต่าง ๆ โดยกลยุทธ์ในการวางแผนการผลิตรวมสามารถแบ่ง ออกได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. กลยุทธ์เชิงรับ (Passive strategies) 2. กลยุทธ์เชิงรุก (Active strategies)
  • 11. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 11 of 58 Pages กลยุทธ์เชิงรับ (Passive strategies) เป็นกลยุทธ์ที่เน้นการปรับกาลังการผลิตขององค์กร ทาได้โดย 1. การเปลี่ยนแปลงระดับสินค้าคงคลัง 2. การเปลี่ยนแปลงจานวนพนักงาน 3. การเปลี่ยนแปลงเวลาการทางาน 4. การจ้างผู้ผลิตรายอื่นแทน 5. การจ้างพนักงานชั่วคราว
  • 12. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 12 of 58 Pages กลยุทธ์เชิงรุก (Active strategies) เป็นกลยุทธ์ที่พยายามสร้างผลกระทบต่อรูปแบบความต้องการของ ตลาด และปรับความต้องการของลูกค้า 1. การใช้แรงกระตุ้นความต้องการของลูกค้า 2. การค้างส่งสินค้าในช่วงที่มีความต้องการสูง 3. การผลิตสินค้าต่างชนิดในนอกช่วงฤดูกาล
  • 13. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 13 of 58 Pages ทางเลือก ข้อดี ข้อเสีย หมายเหตุ 1. การเปลี่ยนระดับ สินค้าคงคลัง การเปลี่ยนแปลงด้าน ทรัพยากรมนุษย์มีน้อย หรือไม่มี การเปลี่ยนแปลงด้าน การผลิตมีน้อย ค่าเก็บสินค้าคงคลังสูง ในช่วงความต้องการสูง อาจจะไม่มีสินค้าขาย ใช้ได้เฉพาะ อุตสาหกรรมผลิต 2. ปรับขนาดกาลังคน ด้วยการจ้างคนเพิ่มขึ้น หรือจ้างคนลดลง ไม่มีค่าใช้จ่ายด้านอื่นๆ ค่าใช้จ่ายในการเพิ่มและ ลดคนอาจสูงมาก ใช้กับแรงงานที่ไม่มี ทักษะ ใช้กับงานที่สร้าง รายได้เสริม 3. ปรับอัตราการผลิต ด้วยการทาล่วงเวลาหรือ ยอมให้ว่างงาน รองรับความต้องการ ตามฤดูกาลได้โดยไม่มี ต้นทุนการจ้างและการ อบรม ค่าล่วงเวลาสูง ผลิตผล อาจต่า พนักงานอ่อนล้า อาจจะผลิตไม่ได้ตาม เป้าหมาย ใช้ในแผนการผลิตรวม 4. การจ้างผลิต มีความยืดหยุ่นและ ผลผลิตขององค์กร สม่าเสมอ สินค้าอาจไม่ได้คุณภาพ กาไรลดลง อาจเสียธุรกิจ ในอนาคต ใช้เฉพาะช่วงปรับปรุง การผลิต
  • 14. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 14 of 58 Pages ทางเลือก ข้อดี ข้อเสีย หมายเหตุ 5. ใช้แรงงานชั่วคราว ค่าใช้จ่ายต่ากว่าและ ยืดหยุ่นกว่าคนงาน ประจา คนเข้าออกมากและค่า ฝึกอบรมสูง คุณภาพ อาจจะไม่ดี จัดตาราง การทางานยาก เหมาะกับงานที่ไม่ ต้องการทักษะ 6. มีอิทธิพลต่อความ ต้องการของตลาด พยายามใช้กาลังการผลิต ส่วนเกิน การลดราคา และการส่งเสริมการขาย ทาให้ได้ลูกค้าใหม่ มีความต้องการที่ไม่ แน่นอน ยากที่จะทาให้ อุปสงค์สอดคล้องกับ อุปทาน สร้างแนวทางการตลาด ใหม่ๆ เพื่อให้มีลูกค้า ตลอดเวลา 7. ยอมให้มียอดค้างส่ง ในช่วงที่มีความต้องการ สูง อาจจะไม่มีการทางาน ล่วงเวลา ทาให้การผลิต สม่าเสมอ อาจเสียลูกค้าหรือเสีย ความน่าเชื่อถือ บางบริษัทลูกค้ายินยอม ที่จะรอ 8. ผลิตสินค้าต่างชนิดใน นอกช่วงฤดูกาล ใช้ทรัพยากรอย่างเต็มที่ ระดับของแรงงาน สม่าเสมอ อาจต้องหาทักษะหรือ เครื่องจักรที่องค์กรไม่ ชานาญ มีความเสี่ยงในการหา ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบ ความต้องการตรงข้าม
  • 15. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 15 of 58 Pages กลยุทธ์ผสม (Mixing options) การบริหารงานจริงนั้นอาจมีตัวแปรควบคุมได้หลายตัวแปร ดังนั้นจึงต้อง นากลยุทธ์หลายรูปแบบมาผสมผสานกัน โดยสามารถแบ่งได้เป็น 2 แนวทาง คือ 1. กลยุทธ์แสวงหา (Chase strategy) เป็นกลยุทธ์ที่พยายามจะทาให้ ปริมาณของผลิตภัณฑ์เท่ากับหรือพอดีกับความต้องการของลูกค้า โดยการปรับกาลังการผลิต 2. กลยุทธ์การรักษาระดับกาลังการผลิต (Level strategy)
  • 16. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 16 of 58 Pages วิธีการทาตารางของแผนการผลิตรวม ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้วางแผนจะต้องนาแนวทางต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดวิธีการที่ทาให้ต้นทุนต่าที่สุดและ เหมาะสมกับองค์กร โดยวิธีที่นิยมมีดังนี้ 1. วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ (Graphical and Charting Method) 2. การศึกษาโดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต (Mathematical Approaches to Planning) 3. แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร (Management Coefficients Model)
  • 17. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 17 of 58 Pages วิธีการทาตารางของแผนการผลิตรวม ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้วางแผนจะต้องนาแนวทางต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดวิธีการที่ทาให้ต้นทุนต่าที่สุดและ เหมาะสมกับองค์กร โดยวิธีที่นิยมมีดังนี้ 1. วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ (Graphical and Charting Method) 2. การศึกษาโดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต (Mathematical Approaches to Planning) 3. แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร (Management Coefficients Model)
  • 18. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 18 of 58 Pages วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ มีขั้นตอนดังนี้ 1) กาหนดปริมาณความต้องการ 2) กาหนดกาลังการผลิตในแต่ละช่วง 3) คานวณต้นทุนค่าจ้างแรงงาน 4) พิจารณานโยบาย 5) สร้างแผนการปฏิบัติการรวม
  • 19. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 19 of 58 Pages ตัวอย่าง บริษัทผู้ผลิตหลังคาบ้าน ได้พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าใน แต่ละเดือนล่วงหน้า ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงมิถุนายน ดังแสดงในตาราง เดือน ค่าประมาณความต้องการ จานวนวันทางาน ความต้องการต่อวัน ม.ค. 900 22 (900/22) = 41 ก.พ. 700 18 39 มี.ค. 800 21 38 เม.ย. 1,200 21 57 พ.ค. 1,500 22 68 มิ.ย. 1,100 20 55 6,200 124 50 = = 50 ชิ้นต่อวัน 6,200 124 ความต้องการเฉลี่ย = ค่าประมาณความต้องการรวม จานวนวันทางานรวม
  • 20. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 20 of 58 Pages 30 40 50 60 70 0 /. ./ 22 . ./ 18 . ./ 21 . ./ 21 . ./ 22 . ./ 20
  • 21. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 21 of 58 Pages แนวทางการปฏิบัติ 1. กาหนดอัตราการผลิตคงที่ให้เท่ากับค่าความต้องการเฉลี่ยคือ 50 ชิ้น ต่อวัน ซึ่งสินค้าจะมีเหลือในช่วงเดือนมกราคม–มีนาคม สามารถสารองไว้ขาย ในช่วงเดือนเมษายน–มิถุนายน 2. กาหนดอัตราการผลิตคงที่ที่อัตราต่ากว่าค่าความต้องการเฉลี่ย เช่น กาหนดอัตราการผลิตเป็น 30 ชิ้นต่อวัน (หรือขึ้นอยู่กับกาลังความสามารถของ การผลิต) พร้อมกับจ้างผู้อื่นผลิตแทนในส่วนที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของ ลูกค้า 3. ทาการผลิตที่อัตราการผลิตคงที่ แต่ต่ากว่าค่าความต้องการเฉลี่ย เหมือนดังข้อ 2 โดยอาจกาหนดให้มีการทางานล่วงเวลาควบคู่ไปกับการจ้าง ผู้อื่นผลิต ในช่วงที่ความต้องการของตลาดสูง
  • 22. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 22 of 58 Pages กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต จากแนวทางการปฏิบัติข้างต้นสามารถจัดทาแผนการผลิต 3 กล ยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 การรักษาระดับพนักงานให้คงที่ 6 เดือน กลยุทธ์ที่ 2 การรักษาระดับพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ ปริมาณความต้องการ สินค้าที่ต่าที่สุดและตอบสนองความต่าง โดยจ้างบริษัทภายนอกผลิต กลยุทธ์ที่ 3 การจ้างพนักงานใหม่และปลดพนักงานออกตาม ช่วงเวลา ทางเลือกที่ 1 และ 2 มีเป้าหมายเพื่อรักษากาลังการผลิตให้คงที่ตลอด 6 เดือน ทางเลือกที่ 3 มีการเปลี่ยนแปลงกาลังการผลิต
  • 23. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 23 of 58 Pages ข้อมูลต้นทุน ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลัง $5 ต่อชิ้นต่อเดือน ค่าจ้างผู้อื่นผลิต (ส่วนเพิ่มจากการผลิตเอง) $10 ต่อชิ้น อัตราค่าจ้างแรงงาน $5 ต่อชั่วโมง ($40 ต่อวัน) อัตราค่าล่วงเวลา $7 ต่อชั่วโมง เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิต 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น ต้นทุนในการเพิ่มอัตราการผลิต (การจ้างและอบรม) $10 ต่อชิ้น ต้นทุนในการลดอัตราการผลิต (ค่าจ้างออก) $15 ต่อชิ้น
  • 24. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 24 of 58 Pages กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต จากแนวทางการปฏิบัติข้างต้นสามารถจัดทาแผนการผลิต 3 กล ยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 การรักษาระดับพนักงานให้คงที่ 6 เดือน กลยุทธ์ที่ 2 การรักษาระดับพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ ปริมาณความต้องการ สินค้าที่ต่าที่สุดและตอบสนองความต่าง โดยจ้างบริษัทภายนอกผลิต กลยุทธ์ที่ 3 การจ้างพนักงานใหม่และปลดพนักงานออกตาม ช่วงเวลา
  • 25. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 25 of 58 Pages 30 40 50 60 70 0 /. ./ 22 . ./ 18 . ./ 21 . ./ 21 . ./ 22 . ./ 20
  • 26. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 26 of 58 Pages ข้อมูลต้นทุน ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลัง $5 ต่อชิ้นต่อเดือน ค่าจ้างผู้อื่นผลิต (ส่วนเพิ่มจากการผลิตเอง) $10 ต่อชิ้น อัตราค่าจ้างแรงงาน $5 ต่อชั่วโมง ($40 ต่อวัน) อัตราค่าล่วงเวลา $7 ต่อชั่วโมง เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิต 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น ต้นทุนในการเพิ่มอัตราการผลิต (การจ้างและอบรม) $10 ต่อชิ้น ต้นทุนในการลดอัตราการผลิต (ค่าจ้างออก) $15 ต่อชิ้น
  • 27. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 27 of 58 Pages การคานวณหาต้นทุนด้านค่าแรงงานจากเงื่อนไขที่กาหนดให้คือ ไม่ มีการจ่ายค่าล่วงเวลา และไม่มีการจ้างผู้อื่นผลิต เนื่องจากในการทาการ ผลิต 1 ชิ้น พนักงานทางาน 8 ชั่วโมงต่อวัน และมีอัตราการผลิตวันละ 50 ชิ้น ดังนั้นจะได้ว่า  เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิตจากตารางต้นทุน = 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น  ดังนั้น คนงาน 1 คน จะผลิตสินค้าได้ 8/1.6 = 5 ชิ้นต่อวัน  ตามแผนจะต้องผลิตได้ 50 ชิ้นต่อวัน ดังนั้นต้องจ้างพนักงาน 10 คน การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 1 1. ต้นทุนแรงงาน
  • 28. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 28 of 58 Pages การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 1 2. ต้นทุนคงคลัง ปริมาณสินค้าคงคลังที่ถูกจัดเก็บในแต่ละเดือนรวมตลอด 6 เดือน เท่ากับ 1,850 หน่วย เดือน วันทางาน ผลผลิตที่ 50 ชิ้นต่อวัน ค่าประมาณ ความต้องการ การเปลี่ยนแปลง ของสินค้าคงคลัง แต่ละเดือน สินค้าคง คลังปลาย งวด มกราคม 22 1,100 900 200 200 กุมภาพันธ์ 18 900 700 200 400 มีนาคม 21 1,050 800 250 650 เมษายน 21 1,050 1,200 -150 500 พฤษภาคม 22 1,100 1,500 -400 100 มิถุนายน 20 1,000 1,100 -100 - รวม 124 6,200 1,850
  • 29. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 29 of 58 Pages ต้นทุน การคานวณ ต้นทุนคงคลัง $9,250 (= สินค้าคงคลัง1,850 ชิ้น x $5 ต่อชิ้น) ต้นทุนค่าจ้างแรงงาน $49,600 (= คนงาน 10 คน x $40 ต่อวัน x 124 วัน) ต้นทุนรวม $58,850 การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 1
  • 30. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 30 of 58 Pages กราฟความต้องการสาหรับแผนการผลิตที่ 1 Cumulativedemandunits 7,000 – 6,000 – 5,000 – 4,000 – 3,000 – 2,000 – 1,000 – 0 – Jan Feb Mar Apr May June Cumulative forecast requirements Cumulative level productionusing average monthly forecast requirements Reduction of inventory Excessinventory
  • 31. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 31 of 58 Pages กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต จากแนวทางการปฏิบัติข้างต้นสามารถจัดทาแผนการผลิต 3 กล ยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 การรักษาระดับพนักงานให้คงที่ 6 เดือน กลยุทธ์ที่ 2 การรักษาระดับพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ ปริมาณความต้องการ สินค้าที่ต่าที่สุดและตอบสนองความ ต่างโดยจ้างบริษัทภายนอกผลิต กลยุทธ์ที่ 3 การจ้างพนักงานใหม่และปลดพนักงานออกตาม ช่วงเวลา
  • 32. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 32 of 58 Pages การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 2 ทางเลือกที่ 2 กาหนดให้พนักงานคงที่ โดยให้มีจานวนพนักงาน สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าที่ต่าที่สุด นั่นคือเดือนมีนาคมต้อง ผลิตเฉลี่ย 38 หน่วยต่อวัน ส่วนสินค้าที่เกินกาลังการผลิตต้องจ้างบริษัท ภายนอกผลิตแทน สาหรับแผนนี้จะไม่มีการเก็บสินค้าคงคลัง
  • 33. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 33 of 58 Pages นาปริมาณความต้องการที่ต่าที่สุดมาเป็นตัวกาหนดอัตราการผลิตต่อวัน 38 ชิ้นต่อวัน เดือน ค่าประมาณความต้องการ จานวนวันทางาน ความต้องการต่อวัน ม.ค. 900 22 (900/22) = 41 ก.พ. 700 18 39 มี.ค. 800 21 38 เม.ย. 1,200 21 57 พ.ค. 1,500 22 68 มิ.ย. 1,100 20 55 6,200 124 50 การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 2
  • 34. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 34 of 58 Pages การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 2 30 40 50 60 70 0 /. ./ 22 . ./ 18 . ./ 21 . ./ 21 . ./ 22 . ./ 20
  • 35. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 35 of 58 Pages ผลิตเอง = 38 ชิ้นต่อวัน x 124 วัน = 4,712 ชิ้น จ้างผลิต = 6,200 - 4,712 = 1,488 ชิ้น ข้อมูลต้นทุน ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลัง $5 ต่อชิ้นต่อเดือน ค่าจ้างผู้อื่นผลิต (ส่วนเพิ่มจากการผลิตเอง) $10 ต่อชิ้น อัตราค่าจ้างแรงงาน $5 ต่อชั่วโมง ($40 ต่อวัน) อัตราค่าล่วงเวลา $7 ต่อชั่วโมง เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิต 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น ต้นทุนในการเพิ่มอัตราการผลิต (การจ้างและอบรม) $10 ต่อชิ้น ต้นทุนในการลดอัตราการผลิต (ค่าจ้างออก) $15 ต่อชิ้น
  • 36. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 36 of 58 Pages ในการผลิตเฉลี่ย 38 หน่วยต่อวัน 1 คนผลิตได้ 5 หน่วยต่อวัน ดังนั้น 38/5 = 7.6 อาจแบ่งเป็นพนักงานประจา 7 คน พนักงาน ชั่วคราว 1 คน การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 2 ต้นทุน การคานวณ ต้นทุนค่าจ้างแรงงาน $37,696 (= คนงาน 7.6 คน x $40 ต่อวัน x 124 วัน) ต้นทุนการจ้างผลิต $14,880 (= สินค้า 1,488 ชิ้น x $10 ต่อชิ้น) ต้นทุนรวม $52,576
  • 37. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 37 of 58 Pages กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิต จากแนวทางการปฏิบัติข้างต้นสามารถจัดทาแผนการผลิต 3 กล ยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 การรักษาระดับพนักงานให้คงที่ 6 เดือน กลยุทธ์ที่ 2 การรักษาระดับพนักงานโดยเปรียบเทียบกับ ปริมาณความต้องการ สินค้าที่ต่าที่สุดและตอบสนองความต่าง โดยจ้างบริษัทภายนอกผลิต กลยุทธ์ที่ 3 การจ้างพนักงานใหม่และปลดพนักงานออก ตามช่วงเวลา
  • 38. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 38 of 58 Pages การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 3 แผนการผลิตที่ 3 ใช้การเปลี่ยนแปลงจานวนพนักงาน 30 40 50 60 70 0 /. ./ 22 . ./ 18 . ./ 21 . ./ 21 . ./ 22 . ./ 20 เพิ่ม/ลดพนักงานเพื่อทาการผลิตให้เท่ากับความต้องการ
  • 39. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 39 of 58 Pages ข้อมูลต้นทุน ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลัง $5 ต่อชิ้นต่อเดือน ค่าจ้างผู้อื่นผลิต (ส่วนเพิ่มจากการผลิตเอง) $10 ต่อชิ้น อัตราค่าจ้างแรงงาน $5 ต่อชั่วโมง ($40 ต่อวัน) อัตราค่าล่วงเวลา $7 ต่อชั่วโมง เวลาที่แรงงานใช้ในการผลิต 1.6 ชั่วโมงต่อชิ้น ต้นทุนในการเพิ่มอัตราการผลิต (การจ้างและอบรม) $10 ต่อชิ้น ต้นทุนในการลดอัตราการผลิต (ค่าจ้างออก) $15 ต่อชิ้น
  • 40. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 40 of 58 Pages การคานวณต้นทุนรวมสาหรับแผนการผลิตที่ 3 การผลิตปกติ (ความ ต้องการ x 1.6 ชม.X $5 ต่อชม.) ม.ค. 900 - $7,200 - - $7,200 ก.พ. 700 -200 5,600 - $3,000 (=200x$15) 8,600 มี.ค. 800 +100 6,400 $1,000 (=100x$10) - 7,400 เม.ย. 1,200 +400 9,600 4,000 (=400x$10) - 13,600 พ.ค. 1,500 +300 12,000 3,000 (=300x$10) - 15,000 มิ.ย. 1,100 -400 8,800 - $6,000 (=400x$15) 14,800 $49,600 $8,000 $9,000 $66,600 ต้นทุน รวม ต้นทุนส่วนเพิ่ม (ค่าจ้างเพิ่ม) การ เพิ่ม/ลด ของ ความ ต้องการ ความ ต้องการ ของลูกค้า (ชิ้น) เดือน ต้นทุนส่วนเพิ่ม (ค่าลดคน)
  • 41. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 41 of 58 Pages เปรียบเทียบต้นทุนของทั้ง 3 กลยุทธ์ ประเภทต้นทุน กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 กลยุทธ์ที่ 3 ค่าเก็บสินค้าคงคลัง $ 9,250 $ - $ - ค่าจ้างแรงงานปกติ 49,600 37,696 49,600 ค่าจ้างล่วงเวลา - - - ค่าจ้างพนักงานเพิ่ม - - 8,000 ค่าจ้างพนักงานออก - - 9,000 ค่าจ้างผลิต - 14,880 - ต้นทุนรวม $58,850 $52,576 $66,600
  • 42. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 42 of 58 Pages Q1: บริษัทผู้ผลิตของเล่นเด็กมีการพยากรณ์ความต้องการในแต่ละไตรมาส ดังนี้ ไตรมาส อุปสงค์(ชิ้น) 1 5,000 2 3,000 3 7,000 4 9,000 รวม 24,000 ค่าแรงปกติ=20 บาทต่อชิ้น ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง = 5 บาทต่อชิ้นต่อไตรมาส ค่าใช้จ่ายในการจ้าง = 200 บาทต่อพนักงาน 1 คน ค่าใช้จ่ายในการเลิกจ้าง = 700 บาทต่อพนักงาน 1 คน สินค้าที่ผลิตได้ต่อพนักงาน 1 คน = 100 ชิ้นต่อคนต่อไตรมาส จานวนพนักงานเริ่มต้น 60 คน จานวนผลิตภัณฑ์ในคลังสินค้าเริ่มต้น 0 ชิ้น เปรียบเทียบกลยุทธ์การผลิต - แบบรักษาระดับกาลังการผลิตให้คงที่ - แบบปรับกาลังการผลิตตามอุปสงค์
  • 43. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 43 of 58 Pages เปรียบเทียบกลยุทธ์การผลิต แบบรักษาระดับกาลังการผลิตให้คงที่ ไตรมาส อุปสงค์(ชิ้น) จานวนผลิตในการทางานปกติ (ชิ้น) ระดับสินค้าคงคลัง (ชิ้น) 1 5,000 6,000 1,000 2 3,000 6,000 4,000 3 7,000 6,000 3,000 4 9,000 6,000 0 รวม 24,000 24,000 8,000 ต้นทุนรวม = (24,000x20)+(8,000x5) = 520,000 บาท
  • 44. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 44 of 58 Pages เปรียบเทียบกลยุทธ์การผลิต แบบปรับกาลังการผลิตตามอุปสงค์ ไตร มาส อุปสงค์ (ชิ้น) จานวนผลิตในการ ทางานปกติ (ชิ้น) จานวนคนงานที่ ต้องใช้(คน) จานวนคนงานที่ต้องจ้าง เพิ่ม (คน) จานวนคนงาน เลิกจ้าง (คน) 1 5,000 6,000 50 - 10 2 3,000 6,000 30 - 20 3 7,000 6,000 70 40 - 4 9,000 6,000 90 20 - รวม 24,000 24,000 - 60 30 ต้นทุนรวม = (24,000x20)+(60x200)+(30x700) = 513,000 บาท ทางเลือกที่ 1 ต้นทุนรวมเท่ากับ 520,000 บาท ทางเลือกที่ 2 ต้นทุนรวมเท่ากับ 513,000 บาท
  • 45. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 45 of 58 Pages วิธีการทาตารางของแผนการผลิตรวม ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้วางแผนจะต้องนาแนวทางต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดวิธีการที่ทาให้ต้นทุนต่าที่สุดและ เหมาะสมกับองค์กร โดยวิธีที่นิยมมีดังนี้ 1. วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ (Graphical and Charting Method) 2. การศึกษาโดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการ ผลิต (Mathematical Approaches to Planning) 3. แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร (Management Coefficients Model)
  • 46. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 46 of 58 Pages วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต การใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต  วิธีการที่ได้รับความนิยม เรียกว่า การใช้โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการ แบบขนส่ง (Transportation Method of Linear Programming)  เป็นวิธีที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการกาหนดการผลิต โดยมีวัตถุประสงค์ ให้ต้นทุนการผลิตต่าสุด ซึ่งสามารถนามาใช้ในการกาหนดการผลิตใน ภาวะเวลาปกติ การทางาน ล่วงเวลาการจ้างผู้ผลิตแทน การเพิ่มกะ ทางานเป็นพิเศษ และการควบคุมสินค้าคงคลัง
  • 47. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 47 of 58 Pages โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการแบบขนส่ง ตัวอย่าง บริษัทผู้ผลิตยางรถยนต์ ได้รวบรวมข้อมูลด้านการผลิตมาจากโรงงานได้ข้อมูลดังนี้ กาหนดให้ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าเป็น $2 ต่อเส้นต่อเดือน มี.ค. เม.ย. พ.ค. 800 1,000 750 ภาวะปกติ 700 700 700 $ 40 ต่อเส้น ล่วงเวลา 50 50 50 $ 50 ต่อเส้น ผู้ผลิตแทน 150 150 130 $ 70 ต่อเส้น สินค้าคงเหลือต้นปี 100 ความต้องการ กาลังการผลิต ช่วงเวลาขาย (เส้น) ต้นทุน
  • 48. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 48 of 58 Pages กาลังการผลิต ความต้องการของลูกค้า กาลังการผลิตรวม (Supply) ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้ (ส่วนเกิน Dummy) ช่วงเวลาที่ 1 สินค้าคงคลังเริ่มต้น 0 2 4 0 100 100 เวลาทางานปกติ 40 42 44 0 การทางานล่วงเวลา 50 52 54 0 การจ้างผลิตแทน 70 72 74 0 ช่วงเวลาที่ 2 เวลาทางานปกติ 40 42 0 X การทางานล่วงเวลา 50 52 0 X การจ้างผลิตแทน 70 72 0 X ช่วงเวลาที่ 3 เวลาทางานปกติ 40 0 X X การทางานล่วงเวลา 50 0 X X การจ้างผลิตแทน 70 0 X X ความต้องการรวม 800 1000 750
  • 49. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 49 of 58 Pages โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการแบบขนส่ง พิจารณาความต้องการของเดือนมี.ค. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 800 1,000 750 ภาวะปกติ 700 700 700 $ 40 ต่อเส้น ล่วงเวลา 50 50 50 $ 50 ต่อเส้น ผู้ผลิตแทน 150 150 130 $ 70 ต่อเส้น สินค้าคงเหลือต้นปี 100 ความต้องการ กาลังการผลิต ช่วงเวลาขาย (เส้น) ต้นทุน
  • 50. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 50 of 58 Pages กาลังการผลิต ความต้องการของลูกค้า กาลังการผลิตรวม (Supply) ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้ (ส่วนเกิน Dummy) ช่วงเวลาที่ 1 สินค้าคงคลังเริ่มต้น 0 2 4 0 100 100 เวลาทางานปกติ 40 42 44 0 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 52 54 0 การจ้างผลิตแทน 70 72 74 0 ช่วงเวลาที่ 2 เวลาทางานปกติ 40 42 0 X การทางานล่วงเวลา 50 52 0 X การจ้างผลิตแทน 70 72 0 X ช่วงเวลาที่ 3 เวลาทางานปกติ 40 0 X X การทางานล่วงเวลา 50 0 X X การจ้างผลิตแทน 70 0 X X ความต้องการรวม 800 1000 750
  • 51. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 51 of 58 Pages โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการแบบขนส่ง พิจารณาความต้องการของเดือนเม.ย. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 800 1,000 750 ภาวะปกติ 700 700 700 $ 40 ต่อเส้น ล่วงเวลา 50 50 50 $ 50 ต่อเส้น ผู้ผลิตแทน 150 150 130 $ 70 ต่อเส้น สินค้าคงเหลือต้นปี 100 ความต้องการ กาลังการผลิต ช่วงเวลาขาย (เส้น) ต้นทุน
  • 52. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 52 of 58 Pages กาลังการผลิต ความต้องการของลูกค้า กาลังการผลิตรวม (Supply) ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้ (ส่วนเกิน Dummy) ช่วงเวลาที่ 1 สินค้าคงคลังเริ่มต้น 0 2 4 0 100 100 เวลาทางานปกติ 40 42 44 0 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 52 54 0 50 50 การจ้างผลิตแทน 70 72 74 0 150 150 ช่วงเวลาที่ 2 เวลาทางานปกติ 40 42 0 X 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 52 0 X 50 50 การจ้างผลิตแทน 70 72 0 X 50 100 150 ช่วงเวลาที่ 3 เวลาทางานปกติ 40 0 X X การทางานล่วงเวลา 50 0 X X การจ้างผลิตแทน 70 0 X X ความต้องการรวม 800 1000 750
  • 53. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 53 of 58 Pages โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีการแบบขนส่ง พิจารณาความต้องการของเดือนเม.ย. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 800 1,000 750 ภาวะปกติ 700 700 700 $ 40 ต่อเส้น ล่วงเวลา 50 50 50 $ 50 ต่อเส้น ผู้ผลิตแทน 150 150 130 $ 70 ต่อเส้น สินค้าคงเหลือต้นปี 100 ความต้องการ กาลังการผลิต ช่วงเวลาขาย (เส้น) ต้นทุน
  • 54. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 54 of 58 Pages กาลังการผลิต ความต้องการของลูกค้า กาลังการผลิตรวม (Supply) ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้ (ส่วนเกิน Dummy) ช่วงเวลาที่ 1 สินค้าคงคลังเริ่มต้น 0 2 4 0 100 100 เวลาทางานปกติ 40 42 44 0 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 52 54 0 50 50 การจ้างผลิตแทน 70 72 74 0 150 150 ช่วงเวลาที่ 2 เวลาทางานปกติ 40 42 0 X 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 52 0 X 50 50 การจ้างผลิตแทน 70 72 0 X 50 100 150 ช่วงเวลาที่ 3 เวลาทางานปกติ 40 0 X X 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 0 X X 50 50 การจ้างผลิตแทน 70 0 X X 130 130 ความต้องการรวม 800 1000 750 230 2,780
  • 55. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 55 of 58 Pages กาลังการผลิต ความต้องการของลูกค้า กาลังการผลิตรวม (Supply) ช่วงเวลาที่ 1 (มี.ค.) ช่วงเวลาที่ 2 (เม.ย.) ช่วงเวลาที่ 3 (พ.ค.) กาลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้ (ส่วนเกิน Dummy) ช่วงเวลาที่ 1 สินค้าคงคลังเริ่มต้น 0 2 4 0 100 100 เวลาทางานปกติ 40 42 44 0 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 52 54 0 50 50 การจ้างผลิตแทน 70 72 74 0 150 150 ช่วงเวลาที่ 2 เวลาทางานปกติ 40 42 0 X 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 52 0 X 50 50 การจ้างผลิตแทน 70 72 0 X 50 100 150 ช่วงเวลาที่ 3 เวลาทางานปกติ 40 0 X X 700 700 การทางานล่วงเวลา 50 0 X X 50 50 การจ้างผลิตแทน 70 0 X X 130 130 ความต้องการรวม 800 1000 750 230 2,780 ต้นทุนรวม 28,000 47,400 30,500 105,900
  • 56. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 56 of 58 Pages วิธีการทาตารางของแผนการผลิตรวม ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้วางแผนจะต้องนาแนวทางต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดวิธีการที่ทาให้ต้นทุนต่าที่สุดและ เหมาะสมกับองค์กร โดยวิธีที่นิยมมีดังนี้ 1. วิธีการใช้แผนภูมิและกราฟ (Graphical and Charting Method) 2. การศึกษาโดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เพื่อการวางแผนการผลิต (Mathematical Approaches to Planning) 3. แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร (Management Coefficients Model)
  • 57. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 57 of 58 Pages แบบจาลองสัมประสิทธ์การบริหาร วิธีนี้เพื่อช่วยในการตัดสินใจสาหรับฝ่ายบริหาร โดยการนาการ ตัดสินใจในอดีต ประสบการณ์ และประสิทธิภาพของผู้บริหารมาใช้เป็น พื้นฐานในการตัดสินใจในอนาคต โดยอยู่บนพื้นฐานของการวิเคราะห์ แบบถดถอย (Regression analysis)
  • 58. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 58 of 58 Pages การเปรียบเทียบเทคนิคการวางแผนการปฏิบัติการรวม เทคนิคการวางแผนการปฏิบัติการรวม แนวทางในการค้นหาคาตอบ ลักษณะที่สาคัญ 1. การสร้างตารางและแผนภาพ วิธีการลองผิดลองถูก (Trial and error) ง่ายต่อการทาความเข้าใจและ นาไปใช้งาน อาจได้คาตอบ มากกว่าหนึ่งคาตอบ และคาตอบ ที่เลือกอาจไม่ใช่คาตอบที่แสดง ต้นทุนที่ต่าที่สุด 2. การใช้โปรแกรมเชิงเส้นด้วยวิธีตัว แบบขนส่ง การค้นหาค่าคาตอบที่ดีที่สุดจาก เงื่อนไขต่าง ๆ (Optimization) มีซอฟท์แวร์ช่วยในการวิเคราะห์ แต่บางครั้งความสัมพันธ์ของตัว แปรไม่สอดคล้องกับสภาพความ เป็นจริง 3. ตัวแบบสัมประสิทธ์การบริหาร การสุ่มค่าคาตอบเบื้องต้นและ ค้นหาไปสู่ค่าคาตอบที่ดีที่สุด (Heuristic method) ง่ายต่อการนาไปใช้ด้วยการ จาลองกระบวนการการตัดสินใจ ของผู้จัดการในอดีตและวิเคราะห์ หาการตัดสินใจในอนาคตโดยใช้ สมการถดถอย