SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  49
Télécharger pour lire hors ligne
นวัตกรรมและการวางแผน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาบทนี้แล้วสามารถ
1.1 บอกความสาคัญของนวัตกรรม
1.2 อธิบายท่อลาเลียงแห่งนวัตกรรม
1.3 เข้าใจนวัตกรรมทางธุรกิจ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
หมายถึงการทางานสิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีใหม่ ๆ และยังอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลง
ทางความคิด การผลิต กระบวนการ หรือองค์การ ไม่ว่าการเปลี่ยนนั้นจะเกิดขึ้นจากการ
ปฏิวัติ การเปลี่ยนอย่างถอนรากถอนโคน หรือการพัฒนาต่อยอด ทั้งนี้ มักมีการแยกแยะ
ความแตกต่างอย่างชัดเจน ระหว่างการประดิษฐ์คิดค้น ความคิดริเริ่ม และนวัตกรรม อัน
หมายถึงความคิดริเริ่มที่นามาประยุกต์ใช้อย่างสัมฤทธิ์ผล (Mckeown, 2008) และใน
หลายสาขา เชื่อกันว่าการที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเป็นนวัตกรรมได้นั้น จะต้องมีความแปลกใหม่
อย่างเห็นได้ชัด และไม่เป็นแค่เพียงการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ เป็นต้นว่า ในด้านศิลปะ
เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจ และนโยบายของรัฐ ในเชิงเศรษฐศาสตร์นั้น การเปลี่ยนแปลงนั้น
จะต้องเพิ่มมูลค่า มูลค่าของลูกค้า หรือมูลค่าของผู้ผลิต เป้าหมายของนวัตกรรมคือการ
เปลี่ยนแปลงในเชิงบวก เพื่อทาให้สิ่งต่าง ๆ เกิดเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น นวัตกรรมก่อให้
ได้ผลิตผลเพิ่มขึ้น และเป็นที่มาสาคัญของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
แนวความคิดเรื่องนวัตกรรมมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่ในช่วงทศวรรษที่ 1950
นักวิชาการมองว่า นวัตกรรมเป็นการพัฒนาอย่างหนึ่งที่แยกออกมาจากการค้นคว้าวิจัย แต่
ในปัจจุบันนวัตกรรมไม่ได้ถูกมองว่าเป็นเพียงผลลัพธ์ของการดาเนินงานส่วนบุคคล หากแต่
เป็นผลของกระบวนการไม่ว่าจะเป็น กระบวนการแก้ไขปัญหาที่เกิดในองค์การหรือ
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ ซึ่งเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับผู้มีบทบาทสาคัญอื่นๆ
มีได้ทั้งแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ผ่านเครือข่ายและความร่วมมือในเชิงพาณิชย์
หรือกระบวนการเรียนรู้แบบผันแปรซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากปัจจัยที่แตกต่างกัน เช่น
การเรียนรู้โดยการนาไปใช้ เรียนรู้โดยการลงมือทา เรียนรู้โดยการแลกเปลี่ยน จากความรู้
ภายในองค์การและจากภายนอกองค์การ ซึ่งขึ้นอยู่กับการรับความรู้ขององค์การนั้น
(Alam et al., 2007)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
Roger (2003) ได้สร้างแบบจาลองกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรม ซึ่ง
ประกอบด้วย 5 ระดับ ดังต่อไปนี้
1. ระดับความรู้
2. ระดับเปลี่ยนเจตคติ
3. ระดับการตัดสินใจ
4. ระดับการนาไปใช้
5. ระดับการยืนยัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
เป็นระดับแรกของกระบวนการตัดสินใจในการที่จะประยุกต์ใช้นวัตกรรม บุคคลได้รู้
นวัตกรรมและได้แสวงหาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมนั้น โดยสามารถแบ่งความรู้ใน
ขั้นตอนนี้ได้เป็น 3 ประเภท คือ
1.1 ความรู้ว่ามีนวัตกรรม เป็นการรับรู้ว่ามีนวัตกรรมและรับรู้ถึงความจาเป็นที่จะต้องมี
การเปลี่ยนแปลง
1.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้นวัตกรรม ซึ่งเป็นความรู้ว่าจะใช้นวัตกรรมอย่างไรจึงจะ
เหมาะสมถูกต้อง ต้องรู้วิธีการปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียดพอที่จะดาเนินการได้ ยิ่ง
นวัตกรรมมีความซับซ้อนมากเท่าใด ก็ต้องมีความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมมากขึ้นเท่านั้น
1.3 ความรู้เกี่ยวกับหลักการของนวัตกรรม ที่เป็นความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงหลักการ
หรือทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการปฏิบัติ เช่น ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์ซึ่งอยู่เบื้องหลังการใช้วัคซีน
ทฤษฎีการเพิ่มพลเมืองซึ่งอยู่เบื้องหลังการวางแผนครอบครัว ความรู้ในลักษณะนี้จะช่วยให้บุคคล
เข้าใจนวัตกรรมและวิธีการใช้มากขึ้น ซึ่งจะทาให้เกิดการประยุกต์ใช้นวัตกรรมอย่างมีเหตุผลมาก
ขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
เป็นระดับที่บุคคลจะเริ่มสร้างความรู้สึกชอบ หรือไม่ชอบนวัตกรรม ซึ่งเป็นผล
หลังจากที่เขามีความรู้ในเรื่องนวัตกรรมพอสมควรแล้วจากระดับแรก ต้องการมีความรู้
เกี่ยวกับนวัตกรรมนั้นเพิ่มขึ้น ต้องการรู้รายละเอียดเกี่ยวกับนวัตกรรมในแง่ของ
ผลประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มขึ้น ความเป็นไปได้ในการนาไปปฏิบัติ ความยากง่ายของการนาไป
ทดลองใช้ ตลอดจนความผสมผสานกลมกลืนของนวัตกรรมในสังคม กล่าวคือมีผลต่อการ
เกิดเจตคติที่จะชอบหรือไม่ชอบนวัตกรรมนั้น ซึ่งจะมีผลไปถึงการตัดสินใจที่จะยอมรับ
นวัตกรรมในระดับต่อไป
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
ในการตัดสินใจว่าจะยอมรับนวัตกรรมหรือไม่นั้น ซึ่งในความเป็นจริงมีอยู่ตั้งแต่ใน
ระดับแรกเป็นต้นมา เช่น ในส่วนที่เกี่ยวกับความรู้ บุคคลต้อง ตัดสินใจเลือกรับรู้นวัตกรรม
เพียงบางอย่าง ไม่สามารถรับรู้นวัตกรรมทั้งหมดที่ผ่านมาได้ หรือในส่วนของความรู้สึกใน
ระดับเปลี่ยนเจตคติ บุคคลจะต้องรับรู้บางอย่างที่จาเป็นสาหรับการประเมิน จะตัดทิ้ง
หรือไม่สนใจความรู้อย่างอื่น การตัดสินใจนี้เป็นการตัดสินใจว่าจะลองใชันวัตกรรม หรือไม่
ด้วย ถ้านวัตกรรมนั้นสามารถทดลองได้ บุคคลส่วนมากมักไม่ยอมรับนวัตกรรมก่อนที่จะทา
การทดลองดูเสียก่อน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
เมื่อบุคคลตัดสินใจที่ยอมรับนวัตกรรมนั้นแล้ว บุคคลก็จะนานวัตกรรมไปใช้ ซึ่งใน
บางครั้งการนานวัตกรรมไปใช้จะกินเวลานานมาก ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้ การ
ประยุกต์ใช้ที่จะใช้และการใชันวัตกรรมอย่างสม่าเสมอด้วย ในขั้นนี้จึงมักมี การจัดหาข้อมูล
จานวนมากเพื่อให้บุคคลสามารถปฏิบัติการใชันวัตกรรมนั้นได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
ซึ่งบุคคลจะต้องได้รับการเสริมแรง แรงกระตุ้น เพื่อสร้างความมั่นใจในการ
ตัดสินใจ กล่าวคือ เมื่อบุคคลได้รับข้อมูลเพิ่มเติมอาจเป็นการเน้นให้เขาตัดสินใจ ความไม่
สอดคล้องกันระหว่างข้อมูลเดิมกับสิ่งที่ได้รับรู้ใหม่อาจช่วยกระตุ้นให้มีการประยุกต์ใชันวัต
กรรมอย่างต่อเนื่องถาวร หรืออาจทาให้ลดลงก็เป็นได้เช่นกัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
บุคคลจะยอมรับนวัตกรรมหรือไม่ขึ้นอยู่กับความรู้สึกชอบและการมองเห็น
ประโยชน์ของนวัตกรรมนั้น โดย Roger ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของนวัตกรรม ที่มีผลต่อ
การประยุกต์ใช้ไว้ 5 ประการ ดังนี้
1) ประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มขึ้น
2) ซึ่งความเข้ากันได้นั้นกับสิ่งที่มีอยู่เดิมหรือความสอดคล้อง
3) ความสะดวกในการใช้ หรือความสลับซับช้อน
4) ความสามารถนาไปทดลองใช้ได้
5) ความสามารถที่จะสังเกตเห็นผลได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
หมายถึง การที่ผู้รับนวัตกรรมได้คิดว่า นวัตกรรมที่รับเข้ามานั้นดีกว่า มีประโยชน์
มากกว่าความคิดเดิม อาจดีกว่าในด้านเศรษฐกิจ ความเชื่อถือในสังคม ความสะดวกสบาย
หรือความพึงพอใจ ทั้งนี้ ประโยชน์ที่จับต้องได้ไม่ใช่สิ่งที่สาคัญที่สุด แต่สิ่งที่สาคัญคือ การที่
บุคคลเห็นว่านวัตกรรมนั้นมีประโยชน์ต่อตนเอง และยิ่งมีผู้เห็นคุณค่าของนวัตกรรมนั้น
มากขึ้นเท่าใด การประยุกต์ใช้ก็จะเพิ่มเร็วขึ้นเท่านั้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
หมายถึง เป็นการที่นวัตกรรมนั้นมีลักษณะที่เข้ากันได้กับองค์การ และในด้าน
ค่านิยม ทางด้านการปฏิบัติงาน และความต้องการของผู้ยอมรับนวัตกรรมนั้น ความคิด
ใหม่หรือนวัตกรรมที่ไม่สามารถเข้ากันได้ กับค่านิยมหรือบรรทัดฐานของสังคมนั้น ย่อม
ได้รับการประยุกต์ใช้ช้ากว่านวัตกรรมที่เข้ากันได้กับ ค่านิยมหรือบรรทัดฐานของสังคมนั้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
หมายถึง การที่ผู้ได้รับนวัตกรรมซึ่งเห็นได้ว่านวัตกรรมนั้นจะมีความสะดวกและ
ง่ายในการนาไปใช้ หรือ นวัตกรรมนั้นจะมีความสลับซับช้อนยากแก่การเข้าใจ และล้าหาก
สมาชิกในสังคมสามารถเข้าใจได้ และนานวัตกรรมนั้นไปใช้ได้สะดวก นวัตกรรมนั้นจะต้อง
ได้รับการประยุกต์ใช้อย่างรวดเร็ว
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
หมายถึง เป็นการที่จะนานวัตกรรม ที่มีลักษณะที่สามารถนาไปทดลองใช้ได้ ทั้งนี้
เพราะผู้นาไปใช้ จะรู้สึกเสี่ยงภัยน้อยลง ซึ่งอันจะมีผลทาให้นวัตกรรมนั้น ๆ มีการ
ประยุกต์ใช้ได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น เพราะมีโอกาสและความเป็นไปได้ในการเรียนรู้นั่นเอง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
หมายถึง การที่ผลของนวัตกรรมนั้น ๆ จะสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนมากขึ้น
นั้น ผลของนวัตกรรมบางชนิดจะสามารถเห็นได้ง่าย แต่บางชนิดก็สังเกตเห็นได้ยาก เพราะ
ด้วยเหตุนี้ นวัตกรรมที่จะมีส่วนของรูปร่าง จึงถูกยอมรับได้ง่ายมากกว่าและเร็วกว่า
นวัตกรรมที่มีแต่ส่วนที่เป็นความคิดเพียงอย่างเดียว ซึ่งการมองเห็นผลได้ง่ายก็จะส่งผลให้
นวัตกรรมถูกยอมรับได้ง่ายขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
นวัตกรรมที่องค์การได้นามาประยุกต์ใช้ คือ Product innovation และ
Paradigm innovation เทศบาลได้นาการทาบัตรประชาชนเป็นแบบ Smartcard และ
สามารถทา online ได้ทั่วประเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนา
ดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง
กว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานและสะดวกรวดเร็วในการทา สามารถทาได้
ทุกอาเภอ ในประเทศไทย บัตรประชาชนแบบ Smartcard ใบเดียวสะดวกในการใช้
บริการด้านต่าง ๆ จะบันทึกข้อมูลของแต่ละคนไว้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
นวัตกรรมมีความสาคัญต่อการพัฒนาองค์การ ท้องถิ่นและประเทศ คือ
ความสาเร็จขององค์การ ท้องถิ่น และประเทศนั้นจะต้องเกิดขึ้นจาก นวัตกรรมไม่ทางใด
ก็ทางหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมทางด้านสินค้า ด้านกระบวนการทางาน ด้านการ
ให้บริการ ด้านการจัดการ หรือด้านการตลาด และการที่องค์การจะสามารถประสบ
ความสาเร็จได้อย่างต่อเนื่องจะต้องเกิดขึ้นจากนวัตกรรม องค์การสามารถนานวัตกรรม
ทางด้านการจัดการใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้ในองค์การได้ ย่อมทาให้องค์การมีความพร้อม
และสามารถที่จะแข่งขันกับองค์การอื่น ๆ ได้ ได้แก่ การนาหลักการแนวคิดและวิธีการใหม่
ทางด้านการจัดการเข้ามาใช้ในการบริหารองค์การ ถ้าองค์การที่ไม่สามารถก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง และพัฒนาตัวเองจากสิ่งใหม่ ๆ ได้แล้วยากที่องค์การนั้น จะครองความเป็น
หนึ่งได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
"นวัตกรรม" มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อประเทศไทย ในการจะยืนอยู่บนเวทีโลก
อย่างเข้มแข็ง ทั้งในมิติ ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน การปรับเทคโนโลยี
ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมสู่การทา นวัตกรรม เป็นเรื่องที่จาเป็น โดยเมื่อ
เปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือประเทศที่พัฒนาแล้วพบว่า ขณะนี้ การใช้
เทคโนโลยีที่คิดค้นเองในประเทศเพิ่งเริ่มต้น จึงต้องมีการเร่งกระบวนการถ่ายทอด
เทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการจัดการ
ทรัพย์สินทางปัญญา และการบริหารจัดการภายใต้แนวคิดและรูปแบบใหม่ ทั้งใน
ภาคอุตสาหกรรมและระดับท้องถิ่น โดยสร้างให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่าง
ประชาชนกับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดนวัตกรรมจานวนมากพอที่จะสร้าง
มูลค่าเพิ่มให้กับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศได้อย่างรวดเร็ว
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
วงจรการปฏิบัติงาน (Operation) การปรับปรุงแก้ไขงาน (Improvement)
และนวัตกรรม มีความเกี่ยวข้องกัน คือ นวัตกรรมเกิดจากการปฏิบัติงานที่มีการวาง
แผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบรวมถึงการกาหนดสิ่งที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการ
พัฒนาสิ่งใหม่ ๆ และนาสิ่งที่ดาเนินการมาวิเคราะห์ ทบทวนและปรับปรุงผลงานหรือ
สิ่งประดิษฐ์จนกลายมาเป็นนวัตกรรมในที่สุด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
สุมิตา บุญวาส (2546) ได้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีไว้ดังนี้ นวัตกรรม เป็นการวิจัยหาวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการใหม่ๆหรือปรับปรุง
ของเก่าให้ได้สิ่งที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม เทคโนโลยี เป็นการนาเอาวิทยาศาสตร์มาใช้
ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินงานต่าง ๆ อย่างมีระบบ
อานวย เดชชัยศรี (2544) ได้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีไว้ดังนี้ นวัตกรรม เกิดจากแนวคิดและความรู้ใหม่ๆที่เกิดจากการคิดสร้างสรรค์
เทคโนโลยี เกิดจากการนานวัตกรรมมาพิสูจน์ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ ผลผลิตจาก
การพิสูจน์ได้ถูกนามาใช้อย่างมีระบบเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
นวัตกรรม เป็นการทาสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นมา โดยใช้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ รวมถึง
ความคิดสร้างสรรค์มาใช้พัฒนา เริ่มจากการคิดค้น การพัฒนา การทดลองปฏิบัติ และการ
นาไปปฏิบัติจริง โดยได้สิ่งที่มีคุณค่า ทันสมัย ช่วยให้การทางานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลมากกว่าเดิม
เทคโนโลยี การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบ
วิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้
ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางานให้ดียิ่ง ขึ้นและเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
นวัตกรรม สามารถแบ่งได้ 5 ยุค สรุปได้ คือ (Ferrman & Soete, 1997 อ้างถึง
ใน กีรติ ยศยิ่งยง, 2552, หน้า 2-3)
1. ยุคเริ่มแรก (ระหว่างปี พ.ศ. 2313-2383)
ประเทศอังกฤษเป็นประเทศแรกและเป็นผู้นาของโลกทางนวัตกรรม
และเทคโนโลยี ในยุคนี้ เนื่องจากได้พัฒนาระบบกลไกทางกลศาสตร์ ในอุตสาหกรรมทอ
ผ้า ทาให้ทุกงานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น ส่งผลให้ประเทศอังกฤษสามารถ
สร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน
2. ยุคที่สอง (ระหว่างปี พ.ศ. 2383-2433)
ประเทศอังกฤษยังคงครองความเป็นผู้นาทางด้านนวัตกรรมในการ
คิดค้นเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เช่น พลังไอน้า ฯลฯ จนกระทั้งในปี พ.ศ. 2511 อังกฤษก็ได้
พัฒนารถจักรพลังไอนี้าขึ้น และ ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
3. ยุคที่สาม (ระหว่างปี พ.ศ. 2433-2473)
สหรัฐอเมริกาและเยอรมัน ได้เร่งส่งเสริมมีการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ
จนสามารถก้าวขึ้น เป็นผู้นาทางเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมไฟฟ้า เคมี การถลุงเหล็ก การต่อ
เรือ และอุตสาหกรรมหนัก อื่น ๆ ได้ในระยะเวลาต่อมา
4. ยุคที่สี่ (ระหว่างปี พ.ศ. 2473-2513)
ประเทศญี่ปุ่น เร่งส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรมกระบวนการผลิต
ขนาดใหญ่ เช่น เทคโนโลยีการผลิตรถยนต์ ฯลฯ จนสามารถก้าวขึ้นมาเทียบเคียงอังกฤษ
สหรัฐอเมริกาและเยอรมันได้
5. ยุคที่ห้า (ระหว่างปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน)
สหรัฐอเมริกา จัดให้มีการส่งเสริมสร้างนวัตกรรม รวมไปถึงการออก
กฎหมาย เพื่อส่งเสริมให้เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางด้านการสื่อสาร คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีดิจิตอล จนสามารถกลับมาเป็นผู้นาทางด้านนวัตกรรมในสาขานี้ได้อีกครั้งหนึ่ง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
ระยะที่ 1 เป็นช่วงที่มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่ง
ของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย
ระยะที่ 2 ช่วงแห่งการพัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลอง
หรือห้องปฏิบัติการจัดทาให้อยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนาเอาไปทดสอบหรือปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็น
นวัตกรรมขั้นสมบูรณ์
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
1. เป็นสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการใหม่
 คิดหรือทาขึ้นใหม่
 เก่าจากที่อื่นพึ่งนาเข้า
 ดัดแปลงปรับปรุงของเดิม
 เดิมไม่เหมาะสมแต่ปัจจุบันใช้ได้ดี
 สถานการณ์เอื้ออานวยทาให้เกิดสิ่งใหม่
2. เป็นสิ่งได้รับการตรวจสอบหรือทดลองและพัฒนา
3. นามาใช้หรือปฏิบัติได้ดี
4. มีการแพร่กระจายออกสู่ชุมชน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
เกณฑ์การพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมมี 4 ประการ คือ
1. นวัตกรรมจะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมด หรือบางส่วนอาจเป็นของเก่าใช้ไม่ได้ผลใน
อดีต แต่นามาปรับปรุงใหม่ หรือเป็นของปัจจุบันที่เรานามาปรับปรุงให้ดีขึ้น
2. มีการนาวิธีการจัดระบบมาใช้ โดยพิจารณาองค์ประกอบทั้งส่วนข้อมูลที่นาเข้า
ไปในกระบวนการและผลลัพธ์ โดยกาหนดขั้นตอนการดาเนินการให้เหมาะสมก่อนที่จะทา
การเปลี่ยนแปลง
3. มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยู่ระหว่างการวิจัยว่า “สิ่งใหม่” นั้น จะช่วย
แก้ปัญหาและการดาเนินงานบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าเดิม
4. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบันหาก “สิ่งใหม่” นั้น ได้รับการ
เผยแพร่และยอมรับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบงานที่ดาเนินอยู่ในขณะนั้น ไม่ถือว่าสิ่ง
ใหม่นั้นเป็นนวัตกรรมแต่จะเปลี่ยนสภาพเป็นเทคโนโลยีอย่างเต็มที่
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
1. Product Innovation: การเปลี่ยนแปลงใน “ผลิตภัณฑ์หรือบริการ” ของ
องค์การ เช่น การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่ดูทีวีได้ หรือ Chat กับเพื่อนได้
ตลอดเวลา
2. Process Innovation: การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต หรือกระบวนการ
นาเสนอผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการนานวัตกรรมสู่ตลาด เช่น Nokia ย้ายฐานการผลิตไป
ที่จีน หรือการเพิ่มนวัตกรรม PDAสามารถโทรศัพท์ได้
3. Position Innovation: การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสินค้าหรือบริการ หรือ
เปลี่ยนตาแหน่งนวัตกรรมสินค้าหรือบริการที่เคยออกสู่ตลาดมาแล้วให้รับรู้ใหม่ เช่น
Orange เคยถูกมองในตาแหน่ง Global Brand เป็นPremium Service แต่ถูกเปลี่ยนมา
เป็น ทรูมูฟ ซึ่งถูก Repositioning ให้ไปอยู่ตาแหน่ง Lifestyles ครองใจคนเมืองรุ่นใหม่
อย่างประสบความสาเร็จ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
4. Paradigm Innovation : การมุ่งให้เกิดนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงกรอบ
ความคิด (Change in Mental Model) เช่น เดิมเชื่อว่าการผลิตรถยนต์ด้วยมือจะมีความ
ประณีต ทั้งยังมีราคาแพง ผู้มีฐานะร่ารวยเท่านั้นที่สามารถมีไว้ครอบครองได้ แต่ต่อมาการ
ผลิตจานวนมากแบบ mass production ที่มีราคาที่เหมาะสม สามารถควบคุมคุณภาพ
รถยนต์ให้มีสมรรถนะคงที่เท่ากันได้ดีกว่า หรือแม้กระทั่งเราเชื่อว่าการเก็บเงินค่า AC กับ
ประชาชนแบบกินเปล่า เป็นเรื่องที่ดีกับองค์การแต่เมื่อมีการให้เก็บแบบ IC ตามการใช้งาน
จริง ทั้งยุติธรรมกับประชาชนแล้วยังทาให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้นด้วยอีก เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมมีหลายระดับ แบ่งตามระดับความยาก-
ง่ายในการคิดค้นนวัตกรรมนั้น ๆ โดยจะมีตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเรียกว่า
Incremental innovation ที่มีการพัฒนาหรือปรับปรุงสินค้าหรือบริการที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น
หรือการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรมอย่างสิ้นเชิงจะเรียกว่าเป็น Radical innovation
Incremental Technology คือ นวัตกรรมส่วนเพิ่ม คือ ไม่ได้พัฒนาเทคโนโลยีนั้น ๆ
มากมาย เช่นจาก วินโดว์ 98 ไปเป็น วินโดว์ 2000 หรือ เทคโนโลยี GPRS 144 kbps ไป
เป็น EDGE 384 kbps เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
คุณค่าทั้งหมดของนวัตกรรมถูกวัดโดยผลกระทบด้านบวก และด้านลบของสิ่งที่
ได้รับออกมาหรือผลลัพธ์ที่ให้เชิงพาณิชย์ และสังคมสาหรับผู้บริโภค ดังนั้น ผลกระทบที่ได้
ออกมามีช่วงตั้งแต่เชิงบวก ถึงเชิงลบซึ่งผลกระทบเชิงบวกจะช่วยประชาชนและปรับปรุง
สังคม ในทางตรงกันข้างผลกระทบเชิงลบหรือนวัตกรรมที่ให้โทษจะสร้างปัญหาและค่าใช่
จ่ายต่อประชาชนและองค์การ การพิจารณาผลกระทบขึ้นอยู่กับสถานการณ์และผู้ซึ่งทา
การพิจารณา โดยปกติแต่ละเฉพาะบุคคลในแต่ละพื้นที่จะทาการตัดสินใจบนคุณค่าของ
พวกเขาเอง แต่คุณค่าโดยรวมคือผลรวมของคุณค่าสาหรับทุกคนที่กระถูกกระทบทุก ๆ
สถานที่ ดังนั้นคุณค่านวัตกรรมสามารถวัดในด้านการเงิน (กาไร/ขาดทุน) จานวนเป้าหมาย
(สร้าง/ทาลาย) ความสุขหรือความทุกข์ของบุคคลที่ได้รับผลกระทบ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
นวัตกรรมทางธุรกิจคืออะไร“นวัตกรรมทางธุรกิจ” หมายถึง การทาสิ่งต่าง ๆ
ด้วยวิธีใหม่ ๆ การสร้างสรรค์ การพัฒนา ต่อยอด การเปลี่ยนแปลงทางความคิด การ
จัดการ การผลิต กระบวนการ ระบบ โครงสร้างองค์การ รูปแบบธุรกิจ เพื่อที่จะสร้างมูลค่า
ใหม่ ๆ สาหรับลูกค้า และผลตอบแทนทางการเงินให้กับธุรกิจ โดยเป็นที่ยอมรับต่อสังคม
และสิ่งแวดล้อม ไม่ขัดต่อหลักศีลธรรม จรรยาบรรณ ขนบธรรมเนียม ประเพณีต่าง ๆ ทั้งนี้
มักมีการแยกแยะความแตกต่างอย่างชัดเจน ระหว่างการประดิษฐ์คิดค้น ความคิดริเริ่ม
และนวัตกรรม อันหมายถึงความคิดริเริ่มที่นามาประยุกต์ใช้อย่างสัมฤทธิ์ผลและในหลาย
สาขา ซึ่งการที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเป็นนวัตกรรมได้นั้นจะต้องมีความแปลกใหม่อย่างเห็นได้
ชัดและไม่เป็นแค่เพียงการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ เป็นต้นว่า ในด้านศิลปะเศรษฐศาสตร์
เศรษฐกิจ และนโยบายของรัฐในเชิงเศรษฐศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงนั้นจะต้องเพิ่มมูลค่า
มูลค่าของลูกค้า หรือมูลค่าของผู้ผลิต
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
1. ศิลป์ (Artistic) เช่น การวาดภาพ การเต้นรา การแสดง
2. ธุรกิจ (Business) เช่น เงิน หุ้น สินค้า แลกเปลี่ยนสินค้า การเจรจา องค์การ
3. สังคม (Social) เช่น รัฐบาลแบบระบอบประชาธิปไตย ทรัพย์สินส่วนตัว
ศาสนา การศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
Joseph Schumpeter หรือชื่อเต็มว่า Joseph Alois Schumpeter นัก
เศรษฐศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อนักเศรษฐศาสตร์และนักบริหารสมัยใหม่ มีบทความมากมายที่
โด่งดังในโลกวิชาการด้านบริหารธุรกิจนวัตกรรมเช่น The history of economic
analysis, Schumpeter and Keynesianism, Schumpeter and capitalism's
demise, Schumpeter and democratic theory, Schumpeter and
entrepreneurship
นอกจากนั้นยังเคยดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศ
ออสเตรียและเป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองที่สาคัญของยุโรป ก่อนหนีภัยสงครามไปใช้
ชีวิตเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดสหรัฐอเมริกา ตลอดชีวิตมีทฤษฎีด้าน
เศรษฐศาสตร์ คณิตศาสตร์ บริหารธุรกิจนวัตกรรมมากมายมหาศาลให้คนรุ่นหลังนามา
พัฒนาต่อยอด การนาเทคโนโลยีมาดาเนินธุรกิจและนาความเจริญมาสู่มนุษยชาติมากมาย
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
https://www.youtube.com/watch?v=UCpIWdarLwA
การพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมทางธุรกิจ จะมุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบธุรกิจ การ
สร้างภาพลักษณ์และตราสินค้า เป็นการสร้างสรรค์ธุรกิจนาพาชุมชนไทยสู่สากล โดยเริ่ม
จากพัฒนาผู้ประกอบการให้มีความคิดสร้างสรรค์มีทักษะในการบริหารจัดการและดาเนิน
กิจกรรมทางการตลาด การพัฒนารูปแบบธุรกิจ (Business Model) ด้านการบริหาร
จัดการ และการตลาด รวมถึงสร้างโอกาสทางการตลาดสาหรับสินค้าของธุรกิจและการ
บริหารจัดการภายในองค์การให้มีต้นทุนที่เหมาะสม ด้านการจัดวางระบบควบคุมคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์ ด้านแนวคิดการสร้างตราสินค้า เครื่องหมายการค้า และการพัฒนาผลิตภัณฑ์
มูลค่าสูง ด้านแนวทางการสร้างจุดเด่นผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากเดิม และการรวมกลุ่มธุรกิจ
เพื่อเสริมศักยภาพในการแข่งขัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
การคิดค้นนวัตกรรม/เทคโนโลยีใหม่ ๆ หากต้องการให้อุปทานเป็นตัวขับเคลื่อน
อุปสงค์ จึงมีความจาเป็นที่จะต้องเน้นไปที่การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์
โดยเฉพาะปัจจุบันประเทศไทย มีความก้าวหน้าในการพัฒนาเทคโนโลยี ด้านนาโน
เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย
เทคโนโลยีดังกล่าวมีลักษณะหลอมรวม (Convergence) กันอยู่ในผลิตภัณฑ์ เพื่อสนอง
ความต้องการของมนุษย์ให้มีความสะดวกสบาย ปลอดภัย สุขภาพดีมีอายุยืนยาว ผ่านการ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อายตนะภายใน กับ อายตนะภายนอก
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
ความคิด (Thinking) หมายถึง การใช้ความรู้สึกในใจถึงการรับรู้ในรูปแบบที่ถูกบันทึกใน
สมองเพื่อการเรียกใช้ เช่น การยืนบนหน้าผาเป็นสิ่งอันตราย
ขั้นตอนหรือกระบวนการ (Procedural) หมายถึง การติดตามกระบวนการหรือสูตร
เช่น ถ้ายืนอยู่ที่หน้าผา เมื่อนั้นถอยหลังโดยอัตโนมัติ
สร้างสรรค์(Creative) หมายถึง การสร้างสรรค์บางอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน
การสืบค้น สารวจ (Discovery) หมายถึง การค้นพบแหล่งธรรมชาติ ปรากฏการณ์
ธรรมชาติ หรือนวัตกรรมอื่น ๆ ที่ค้นพบในครั้งแรก สิ่งเดียวกันอาจถูกค้นพบโดยหลายคนหรือ
มากกว่าหนึ่งครั้ง เช่น ดาวเสาร์ทองคา กาแฟสตาร์บัค ฟันหลุด เป็นต้น
สิ่งเกิดขึ้นใหม่ (Novelty) หมายถึง การสร้างสิ่งใหม่ ๆ หรือวิธีในการทาบางสิ่ง เช่น การ
สร้างสรรค์เครื่องมือใหม่
การกระทา (Action) หมายถึง การกระทาที่นาให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ จากสิ่งที่มีอยู่เดิม เช่น
การสร้างเสียงดนตรีโดยการขับร้องเพลง เมื่อนั้นคือกระบวนการกระทา ไม่ใช่การสร้างขึ้นมาใหม่
หรือการกระทาด้วยวิธีเดิมแล้วพบสิ่งใหม่ ๆ จากการกระทา
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 37
ท่ามกลางสภาวะการแข่งขันที่รุนแรงและเข้มข้นของโลกไร้พรมแดนกดดันให้
องค์การต้องค้นคิดเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นั่นคือสรรหานวัตกรรมใหม่ ๆ
ในทางธุรกิจเพื่อสร้างให้ลูกค้าเกิดพฤติกรรมหันมาใช้สินค้า/บริการ นวัตกรรมกลายเป็น
เครื่องมือใหม่ทางยุทธศาสตร์ของการแข่งขันทางธุรกิจในยุคดิจิตัลหลังจากยุทธศาสตร์เดิม
เริ่มเสื่อม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องหลักการตลาด การสร้างความแตกต่าง กฎระเบียบ ข้อกีดกัน
ทางการค้า เช่น ISO นวัตกรรมได้เปลี่ยนแปลงมาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น องค์การแห่งการ
เรียนรู้ การบริหารองค์ความรู้ การพัฒนาวิจัยทางเทคโนโลยี การออกแบบ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 38
นวัตกรรมไม่ใช่ของใหม่เอี่ยมเสมอไป เช่น การนาเอาคุณสมบัติของหญ้าเจ้าชู้มา
ทาเป็นที่เปิด-ปิดกระเป๋า (Velcro) นวัตกรรมแบ่งเป็น 2 ด้านใหญ่ ๆ คือ นวัตกรรมด้าน
เทคโนโลยี เช่น ยาไวอะกร้าโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น กับนวัตกรรมทางธุรกิจ เช่น
hotmail amazon dell เป็นต้น
ทุกคนมีศักยภาพในการทานวัตกรรมทางธุรกิจ และนวัตกรรมทางธุรกิจสร้าง
ผลตอบแทนเร็วกว่า จึงแบ่งหัวข้อออกได้ดังนี้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 39
กลยุทธ์โลกอนาคต ซึ่งกล่าวสรุปวิวัฒนาการอันนามาสู่การแข่งขันทางธุรกิจ 5 ยุค
คือ
ยุคที่ 1 ยุคของการทางานหนัก
ยุคที่ 2 การใช้ความได้เปรียบด้วยทุนที่มากกว่า
ยุคที่ 3 การได้มาซึ่งสัมปทานทาให้ได้เปรียบกว่าคนอื่น
ยุคที่ 4 การใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจที่เหนือกว่า
ยุคที่ 5 ยุคปัจจุบันเป็นการรวมมิตรทั้งหมด ทั้งการทางานหนัก ทุน สัมปทาน กล
ยุทธ์ทางธุรกิจ แต่ด้วยส่วนผสมที่แตกต่างกันตามแต่ละชนิดของธุรกิจ และการสร้างสรรค์
นวัตกรรมทางธุรกิจ แถมท้ายด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางธุรกิจ การสร้างองค์การ
แบบที่เรียกว่า self inc. และสุดท้ายคือ การสร้างธุรกิจที่เรียกว่า Creative Industry
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 40
นวัตกรรมเป็นเรื่องของการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมาย นวัตกรรมที่สัมฤทธิ์ผลจึงเป็นเรื่อง
ของกระบวนการสื่อสารกับตลาด เป้าหมาย และหากกลุ่มเป้าหมายมีขนาดใหญ่พอที่จะเป็นตลาด
ทางธุรกิจ ค้นพบโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ นอกจากนี้นวัตกรรมเป็นการหาวิธีใหม่ ๆ ในการตีความ
แก้ปัญหาเดิม แล้วสื่อสารกับลุ่มเป้าหมาย นวัตกรรมเป็นคนละเรื่องกับการค้นพบเพราะการ
ค้นพบอะไรใหม่ ๆ เป็นการค้นพบความจริงที่มีอยู่แล้ว แต่นวัตกรรมคือการตอบสนองความ
ต้องการของตลาดที่เปลี่ยนไป หรือนวัตกรรมเป็นกระบวนการปรับปรุงปรับแต่งสิ่งที่มีอยู่ให้
เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในขณะนั้น ทาให้เข้าใจได้มากขึ้นว่าทาไมญี่ปุ่นจึงเป็น
มหาอานาจทางเศรษฐกิจ ทั้งที่มีการค้นพบทางวิทยาศาสตร์น้อยกว่าประเทศอื่น ในขณะที่จีนเป็น
ต้นคิดของสิ่งประดิษฐ์หลายอย่าง เช่น เข็มทิศ ดินระเบิด การพิมพ์ธนบัตร แต่กลับขาดการสาน
ต่อให้กลายเป็นนวัตกรรม ปล่อยให้ประเทศทางตะวันตกนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมจน
สร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 41
บริษัทที่มีนวัตกรรมทางธุรกิจ ซึ่งถูกขนานนามว่า Company Factor เช่น MTV
Factor ซึ่งประยุกต์ให้สินค้า/บริการตอบสนองต่อวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มเฉพาะบุคคลอย่างวัยรุ่นที่
ชอบทาอะไรเซอร์ ๆ ดูไม่ค่อยรู้เรื่อง Wall Mart Factor นวัตกรรมค้าปลีก : การเพิ่ม
ประสิทธิภาพอย่างไม่หยุดยั้งอันนาไปสู่ราคาที่ต่ากว่า Walt Disney นวัตกรรมบันเทิง : การทาให้
ของเล่นและความบันเทิงกลายเป็นการให้รางวัลกับชีวิตไม่จากัดเฉพาะกับเด็ก ๆ Dell นวัตกรรม
แห่งช่องทางจาหน่ายสินค้า ที่ทาให้คนเชื่อว่าไม่มีสินค้าอะไรที่จะซื้อขายทางอินเตอร์เน็ตไม่ได้
และเป็นต้นแบบของการทาธุรกิจที่ไม่ต้องมีสินค้าหมุนเวียน Microsoft นวัตกรรมแห่งการเพิ่ม
ประสิทธิภาพให้ลูกค้าและการตลาดระดับโลก Starbucks นวัตกรรมแห่งช่องทางนัดพบของคน
เดินถนน-ร้านกาแฟ Hotmail นวัตกรรมการสื่อสารเสรี McDonald นวัตกรรมเอกลักษณ์และ
การสร้างตราสินค้าMP3/Napster นวัตกรรมช่องทางการกระจายสินค้าเสียงดนตรี Air Asia
นวัตกรรมการเดินทางยุคใหม่ (สายการบินต้นทุนต่า)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 42
นวัตกรรมในแง่ของธุรกิจ คือสินค้าตัวใหม่ที่ทุกองค์การแสวงหา เพราะเป็น
หลักประกันความอยู่รอดในโลกธุรกิจที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรงไม่เรื่องใดเรื่องหนึ่งใน
สามอย่างคือ ต้นทุนการผลิต ความเหนือกว่าทางเทคโนโลยี และกลยุทธ์ทางการตลาดที่
ผ่านทั้งกระบวนการสร้างและความภักดีต่อตราสินค้า แต่เมื่อผู้ซื้อฉลาดขึ้นจะเป็นเหยื่อของ
การสร้างภาพน้อยลง (ประเทศที่มีการพัฒนาจะยึดติดกับตราสินค้าน้อยกว่า)
นวัตกรรมมีอยู่สองชนิดหลัก ๆ คือ นวัตกรรมด้านเทคนิค (สินค้าที่มีความแปลก
ใหม่) ซึ่งต้องใช้ทั้งทุนและเวลาในการยอมรับของตลาด และนวัตกรรมในการทาธุรกิจ ซึ่ง
มักทาเงินได้มากกว่าในระยะเวลาที่สั้นกว่า
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 43
สัจธรรมของมนุษย์คือ ต้องการมีอานาจเพราะเอื้อให้ได้มาในสิ่งที่ต้องการ
นวัตกรรมจึงเป็นเรื่องของการให้ผลประโยชน์แก่ผู้รับ ให้เขาได้มากกว่าประโยชน์ใน
ปัจจุบัน ดังนั้นคนชอบไปเทสโก้เพราะได้ของถูก ที่จอดรถและแอร์เย็น หรือไปโออิชิเพราะ
ตักไม่อั้น (ซึ่งในความเป็นจริงเราไม่ได้กินมากกว่าเมื่อก่อน) สตาร์บัคส์เพราะแต่งร้านสวย
มีรสนิยม เดลล์คอมพิวเตอร์เพราะเลือกสเป็คได้เอง โลกของนวัตกรรมเป็นเรื่องของการ
ขายความเชื่อถือ การสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งคุณค่านี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะคงอยู่ได้นานเพราะเกิด
จากความสามารถภายในของเราเอง และด้วยเหตุนี้สินค้าอย่างหลุยส์วิตองจึงแพงกว่า
กระเป๋าธรรมดาทั้ง ๆ ที่บรรจุได้น้อยกว่าและไม่ได้ทนทานกว่า
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 44
นวัตกรรมต้องอาศัยความหลากหลายและแตกต่างของแนวคิดหรือสหศาสตร์
แหล่งของนวัตกรรมคือการมองหาความแตกต่าง ซึ่งสามารถสร้างความมั่งคั่งได้จากความ
ไม่สมดุลที่เกิดขึ้นจาก 3 แหล่ง คือ ความไม่สมดุลทางสังคม เช่น คนยอมจ่ายเงินแพงเพื่อ
แลกเข้าไปศึกษาสถาบันดัง ๆ เพราะเป็นช่องทางหนึ่งในการแสวงหาสถานะทางสังคม
ความไม่สมดุลทางเทคโนโลยี เช่น เพื่อแสดงให้เห็นว่าไม่ได้ด้อยกว่าคู่แข่งจึงบีบบังคับให้
ธุรกิจต้องแสวงหาเทคโนโลยีระดับเดียวกันมาประดับ ตัวอย่าง ร้านโชว์ห่วย ต้องซื้อเครื่อง
คิดเงินมาตั้งไว้เหมือนร้านสะดวกซื้อถึงแม้จะใช้เครื่องคิดเลขก็พอแล้ว ความไม่สมดุลใน
ด้านการพัฒนา ซึ่งทาให้บริษัทที่ปรึกษาทาเงินได้มากมายจาก ISO KPI นวัตกรรมต้องมี
คุณลักษณะอย่างน้อย คือ ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ(Efficiency) เพิ่มพูนประสิทธิผล
(Effectiveness) และต้องถูกตาต้องใจตลาด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 45
เราสามารถแสวงหานวัตกรรมในการดาเนินธุรกิจได้หลากหลาย ได้แก่
นวัตกรรมโครงสร้างทางธุรกิจ ได้แก่การหาพันธมิตร (ด้านที่เราไม่ชานาญ)
รูปแบบการระดมทุนนวัตกรรมการจัดการ:ระบบการลื่นไหลของข้อมูล (เพื่อช่วยในการ
คาดการณ์และการวางแผนการผลิต) การติดตั้งระบบอัตโนมัติ (เช่น ตู้เอทีเอ็ม บาร์โคดส์ ที่
ช่วยลดต้นทุนด้านคนและเพิ่มประสิทธิภาพ) การตัดสินใจกระบวนการไหนควรเป็น
Outsource / In source (เพื่อจะได้ทุ่มเททรัพยากรในกิจกรรมหลัก มุ่งเน้นด้านการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาด)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 46
นวัตกรรมการจัดการองค์การ: ลักษณะการจัดการองค์การ (ใช้เทคโนโลยี
เชื่อมโยงให้มีกิจกรรมร่วมกัน:Tele Worker Virtual Office) การจัดการอุปกรณ์สานักงาน
การจัดการด้านไอที (ให้ระบบไอทีทางานด้านธุรกรรมแทนพนักงานเพื่อให้พนักงานทางาน
ด้านการสร้างสัมพันธภาพกับลูกค้ามากขึ้น) การจัดการเกี่ยวกับประสบการณ์ของลูกจ้าง
การจัดการส่วนผสมระหว่างลูกจ้างและผู้รับงานภายนอก ขั้นตอนการตัดสินใจ การเพิ่ม
ประสิทธิภาพของกระบวนการ ประสิทธิภาพการใช้อุปกรณ์สานักงาน
นวัตกรรมด้านประสบการณ์ลูกค้า:ขั้นตอนการสื่อสารกับลูกค้า ลูกค้าสัมพันธ์
ตราสินค้า/ภาพพจน์องค์การ การโฆษณา การวัดผลตอบกลับ
นวัตกรรมการให้บริการแก่ลูกค้า: กระบวนการให้บริการ การสื่อสารนวัตกรรมที่
เกี่ยวกับสินค้า : การนาเสนอสินค้า ความหลากหลายของสินค้า เทคโนโลยีแฝงในสินค้า
เทคโนโลยีเปิดเผยในสินค้า การผลิต การวิจัยพัฒนา การหีบห่อ ส่วนเชื่อมโยงกับผู้ใช้
คุณประโยชน์หลักของสินค้า โมเดลในการขาย ความต่อเนื่องธุรกิจ การบริการหลังการ
ขาย การกระจายสินค้า
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 47
นวัตกรรมด้านตลาด/ช่องทางการจัดจาหน่าย: เข้าตลาดใหม่ ช่องทางใหม่
รูปแบบธุรกิจแบบใหม่
นวัตกรรมด้านการเรียนรู้: การสร้างกับดักประสบการณ์ การสร้างมูลค่าเพิ่ม
ประสบการณ์จะเห็นว่าการพัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ จะอยู่ในด้านของการตอบสนองต่อ
ตลาดเป็นหลัก (Demand Chain Management)
นอกจากนี้ ยังมีหัวข้ออื่น ๆ อีก ได้แก่ โครงสร้างธุรกิจรูปแบบใหม่ เคล็ดลับ
จัดการข้อมูลเพื่อตัดสินใจ โครงสร้างยุคใหม่ ความท้าทายขององค์การ กลยุทธ์เข้าถึงลูกค้า
ชิงความเหนือชั้น นวัตกรรมการบริการ ความเป็นเลิศเหนือคู่แข่ง ห่วงโซ่การจัดการ หัวใจ
ของความสาเร็จ กลเม็ดครองใจลูกค้า นวัตกรรมสินค้าสร้างสรรค์ ยุทธวิธีการรุกตลาด
ขยายธุรกิจแนวใหม่ นวัตกรรมองค์ความรู้ ขุมทรัพย์ทรงคุณค่า ไอทีประยุกต์ เทคนิคสร้าง
เสริมศักยภาพ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 48
1. จงอธิบายความสาคัญของนวัตกรรม พร้อมยกตัวอย่าง
2. จงอธิบายกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้นวัตกรรม
3. จงยกตัวอย่างการนานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในองค์การ
4. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างนวัตกรรมและเทคโนโลยี
5. นวัตกรรม แบ่งได้กี่ระยะ
6. จงอธิบายเกณฑ์การพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรม
7. ประเภทของนวัตกรรม แบ่งออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
8. จงอธิบายการเปลี่ยนแปลงจาก Incremental innovation สู่ Radical innovation
9. คุณค่าของนวัตกรรมคืออะไร
10. จงอธิบายนวัตกรรมทางธุรกิจ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 49

Contenu connexe

Tendances

วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์Chittraporn Phalao
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการkrupeem
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยPannatut Pakphichai
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศKatewaree Yosyingyong
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 

Tendances (20)

หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 

Similaire à Chapter 1 innovation and planning

การยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมBenz_benz2534
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ Innovator’s way
ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ Innovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ Innovator’s way
ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ Innovator’s way maruay songtanin
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อWang Bin Bin
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหาfreelance
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยีสาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยีJintana Thipun
 
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker maruay songtanin
 

Similaire à Chapter 1 innovation and planning (20)

การยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรม
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
Ch1 innovation
Ch1 innovationCh1 innovation
Ch1 innovation
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ Innovator’s way
ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ Innovator’s way ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ Innovator’s way
ทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จ Innovator’s way
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยีสาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
 
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
 

Plus de Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 

Plus de Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 
System management
System managementSystem management
System management
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 

Chapter 1 innovation and planning

  • 3. ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3 หมายถึงการทางานสิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีใหม่ ๆ และยังอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลง ทางความคิด การผลิต กระบวนการ หรือองค์การ ไม่ว่าการเปลี่ยนนั้นจะเกิดขึ้นจากการ ปฏิวัติ การเปลี่ยนอย่างถอนรากถอนโคน หรือการพัฒนาต่อยอด ทั้งนี้ มักมีการแยกแยะ ความแตกต่างอย่างชัดเจน ระหว่างการประดิษฐ์คิดค้น ความคิดริเริ่ม และนวัตกรรม อัน หมายถึงความคิดริเริ่มที่นามาประยุกต์ใช้อย่างสัมฤทธิ์ผล (Mckeown, 2008) และใน หลายสาขา เชื่อกันว่าการที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเป็นนวัตกรรมได้นั้น จะต้องมีความแปลกใหม่ อย่างเห็นได้ชัด และไม่เป็นแค่เพียงการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ เป็นต้นว่า ในด้านศิลปะ เศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจ และนโยบายของรัฐ ในเชิงเศรษฐศาสตร์นั้น การเปลี่ยนแปลงนั้น จะต้องเพิ่มมูลค่า มูลค่าของลูกค้า หรือมูลค่าของผู้ผลิต เป้าหมายของนวัตกรรมคือการ เปลี่ยนแปลงในเชิงบวก เพื่อทาให้สิ่งต่าง ๆ เกิดเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น นวัตกรรมก่อให้ ได้ผลิตผลเพิ่มขึ้น และเป็นที่มาสาคัญของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
  • 4. แนวความคิดเรื่องนวัตกรรมมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่ในช่วงทศวรรษที่ 1950 นักวิชาการมองว่า นวัตกรรมเป็นการพัฒนาอย่างหนึ่งที่แยกออกมาจากการค้นคว้าวิจัย แต่ ในปัจจุบันนวัตกรรมไม่ได้ถูกมองว่าเป็นเพียงผลลัพธ์ของการดาเนินงานส่วนบุคคล หากแต่ เป็นผลของกระบวนการไม่ว่าจะเป็น กระบวนการแก้ไขปัญหาที่เกิดในองค์การหรือ กระบวนการปฏิสัมพันธ์ ซึ่งเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับผู้มีบทบาทสาคัญอื่นๆ มีได้ทั้งแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ผ่านเครือข่ายและความร่วมมือในเชิงพาณิชย์ หรือกระบวนการเรียนรู้แบบผันแปรซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากปัจจัยที่แตกต่างกัน เช่น การเรียนรู้โดยการนาไปใช้ เรียนรู้โดยการลงมือทา เรียนรู้โดยการแลกเปลี่ยน จากความรู้ ภายในองค์การและจากภายนอกองค์การ ซึ่งขึ้นอยู่กับการรับความรู้ขององค์การนั้น (Alam et al., 2007) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
  • 5. Roger (2003) ได้สร้างแบบจาลองกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรม ซึ่ง ประกอบด้วย 5 ระดับ ดังต่อไปนี้ 1. ระดับความรู้ 2. ระดับเปลี่ยนเจตคติ 3. ระดับการตัดสินใจ 4. ระดับการนาไปใช้ 5. ระดับการยืนยัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 6. เป็นระดับแรกของกระบวนการตัดสินใจในการที่จะประยุกต์ใช้นวัตกรรม บุคคลได้รู้ นวัตกรรมและได้แสวงหาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมนั้น โดยสามารถแบ่งความรู้ใน ขั้นตอนนี้ได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.1 ความรู้ว่ามีนวัตกรรม เป็นการรับรู้ว่ามีนวัตกรรมและรับรู้ถึงความจาเป็นที่จะต้องมี การเปลี่ยนแปลง 1.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้นวัตกรรม ซึ่งเป็นความรู้ว่าจะใช้นวัตกรรมอย่างไรจึงจะ เหมาะสมถูกต้อง ต้องรู้วิธีการปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียดพอที่จะดาเนินการได้ ยิ่ง นวัตกรรมมีความซับซ้อนมากเท่าใด ก็ต้องมีความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมมากขึ้นเท่านั้น 1.3 ความรู้เกี่ยวกับหลักการของนวัตกรรม ที่เป็นความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงหลักการ หรือทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการปฏิบัติ เช่น ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์ซึ่งอยู่เบื้องหลังการใช้วัคซีน ทฤษฎีการเพิ่มพลเมืองซึ่งอยู่เบื้องหลังการวางแผนครอบครัว ความรู้ในลักษณะนี้จะช่วยให้บุคคล เข้าใจนวัตกรรมและวิธีการใช้มากขึ้น ซึ่งจะทาให้เกิดการประยุกต์ใช้นวัตกรรมอย่างมีเหตุผลมาก ขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
  • 7. เป็นระดับที่บุคคลจะเริ่มสร้างความรู้สึกชอบ หรือไม่ชอบนวัตกรรม ซึ่งเป็นผล หลังจากที่เขามีความรู้ในเรื่องนวัตกรรมพอสมควรแล้วจากระดับแรก ต้องการมีความรู้ เกี่ยวกับนวัตกรรมนั้นเพิ่มขึ้น ต้องการรู้รายละเอียดเกี่ยวกับนวัตกรรมในแง่ของ ผลประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มขึ้น ความเป็นไปได้ในการนาไปปฏิบัติ ความยากง่ายของการนาไป ทดลองใช้ ตลอดจนความผสมผสานกลมกลืนของนวัตกรรมในสังคม กล่าวคือมีผลต่อการ เกิดเจตคติที่จะชอบหรือไม่ชอบนวัตกรรมนั้น ซึ่งจะมีผลไปถึงการตัดสินใจที่จะยอมรับ นวัตกรรมในระดับต่อไป ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 8. ในการตัดสินใจว่าจะยอมรับนวัตกรรมหรือไม่นั้น ซึ่งในความเป็นจริงมีอยู่ตั้งแต่ใน ระดับแรกเป็นต้นมา เช่น ในส่วนที่เกี่ยวกับความรู้ บุคคลต้อง ตัดสินใจเลือกรับรู้นวัตกรรม เพียงบางอย่าง ไม่สามารถรับรู้นวัตกรรมทั้งหมดที่ผ่านมาได้ หรือในส่วนของความรู้สึกใน ระดับเปลี่ยนเจตคติ บุคคลจะต้องรับรู้บางอย่างที่จาเป็นสาหรับการประเมิน จะตัดทิ้ง หรือไม่สนใจความรู้อย่างอื่น การตัดสินใจนี้เป็นการตัดสินใจว่าจะลองใชันวัตกรรม หรือไม่ ด้วย ถ้านวัตกรรมนั้นสามารถทดลองได้ บุคคลส่วนมากมักไม่ยอมรับนวัตกรรมก่อนที่จะทา การทดลองดูเสียก่อน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
  • 9. เมื่อบุคคลตัดสินใจที่ยอมรับนวัตกรรมนั้นแล้ว บุคคลก็จะนานวัตกรรมไปใช้ ซึ่งใน บางครั้งการนานวัตกรรมไปใช้จะกินเวลานานมาก ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้ การ ประยุกต์ใช้ที่จะใช้และการใชันวัตกรรมอย่างสม่าเสมอด้วย ในขั้นนี้จึงมักมี การจัดหาข้อมูล จานวนมากเพื่อให้บุคคลสามารถปฏิบัติการใชันวัตกรรมนั้นได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
  • 10. ซึ่งบุคคลจะต้องได้รับการเสริมแรง แรงกระตุ้น เพื่อสร้างความมั่นใจในการ ตัดสินใจ กล่าวคือ เมื่อบุคคลได้รับข้อมูลเพิ่มเติมอาจเป็นการเน้นให้เขาตัดสินใจ ความไม่ สอดคล้องกันระหว่างข้อมูลเดิมกับสิ่งที่ได้รับรู้ใหม่อาจช่วยกระตุ้นให้มีการประยุกต์ใชันวัต กรรมอย่างต่อเนื่องถาวร หรืออาจทาให้ลดลงก็เป็นได้เช่นกัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
  • 11. บุคคลจะยอมรับนวัตกรรมหรือไม่ขึ้นอยู่กับความรู้สึกชอบและการมองเห็น ประโยชน์ของนวัตกรรมนั้น โดย Roger ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของนวัตกรรม ที่มีผลต่อ การประยุกต์ใช้ไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1) ประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มขึ้น 2) ซึ่งความเข้ากันได้นั้นกับสิ่งที่มีอยู่เดิมหรือความสอดคล้อง 3) ความสะดวกในการใช้ หรือความสลับซับช้อน 4) ความสามารถนาไปทดลองใช้ได้ 5) ความสามารถที่จะสังเกตเห็นผลได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
  • 12. หมายถึง การที่ผู้รับนวัตกรรมได้คิดว่า นวัตกรรมที่รับเข้ามานั้นดีกว่า มีประโยชน์ มากกว่าความคิดเดิม อาจดีกว่าในด้านเศรษฐกิจ ความเชื่อถือในสังคม ความสะดวกสบาย หรือความพึงพอใจ ทั้งนี้ ประโยชน์ที่จับต้องได้ไม่ใช่สิ่งที่สาคัญที่สุด แต่สิ่งที่สาคัญคือ การที่ บุคคลเห็นว่านวัตกรรมนั้นมีประโยชน์ต่อตนเอง และยิ่งมีผู้เห็นคุณค่าของนวัตกรรมนั้น มากขึ้นเท่าใด การประยุกต์ใช้ก็จะเพิ่มเร็วขึ้นเท่านั้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
  • 13. หมายถึง เป็นการที่นวัตกรรมนั้นมีลักษณะที่เข้ากันได้กับองค์การ และในด้าน ค่านิยม ทางด้านการปฏิบัติงาน และความต้องการของผู้ยอมรับนวัตกรรมนั้น ความคิด ใหม่หรือนวัตกรรมที่ไม่สามารถเข้ากันได้ กับค่านิยมหรือบรรทัดฐานของสังคมนั้น ย่อม ได้รับการประยุกต์ใช้ช้ากว่านวัตกรรมที่เข้ากันได้กับ ค่านิยมหรือบรรทัดฐานของสังคมนั้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. หมายถึง การที่ผู้ได้รับนวัตกรรมซึ่งเห็นได้ว่านวัตกรรมนั้นจะมีความสะดวกและ ง่ายในการนาไปใช้ หรือ นวัตกรรมนั้นจะมีความสลับซับช้อนยากแก่การเข้าใจ และล้าหาก สมาชิกในสังคมสามารถเข้าใจได้ และนานวัตกรรมนั้นไปใช้ได้สะดวก นวัตกรรมนั้นจะต้อง ได้รับการประยุกต์ใช้อย่างรวดเร็ว ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15. หมายถึง เป็นการที่จะนานวัตกรรม ที่มีลักษณะที่สามารถนาไปทดลองใช้ได้ ทั้งนี้ เพราะผู้นาไปใช้ จะรู้สึกเสี่ยงภัยน้อยลง ซึ่งอันจะมีผลทาให้นวัตกรรมนั้น ๆ มีการ ประยุกต์ใช้ได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น เพราะมีโอกาสและความเป็นไปได้ในการเรียนรู้นั่นเอง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16. หมายถึง การที่ผลของนวัตกรรมนั้น ๆ จะสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนมากขึ้น นั้น ผลของนวัตกรรมบางชนิดจะสามารถเห็นได้ง่าย แต่บางชนิดก็สังเกตเห็นได้ยาก เพราะ ด้วยเหตุนี้ นวัตกรรมที่จะมีส่วนของรูปร่าง จึงถูกยอมรับได้ง่ายมากกว่าและเร็วกว่า นวัตกรรมที่มีแต่ส่วนที่เป็นความคิดเพียงอย่างเดียว ซึ่งการมองเห็นผลได้ง่ายก็จะส่งผลให้ นวัตกรรมถูกยอมรับได้ง่ายขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
  • 17. นวัตกรรมที่องค์การได้นามาประยุกต์ใช้ คือ Product innovation และ Paradigm innovation เทศบาลได้นาการทาบัตรประชาชนเป็นแบบ Smartcard และ สามารถทา online ได้ทั่วประเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนา ดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง กว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานและสะดวกรวดเร็วในการทา สามารถทาได้ ทุกอาเภอ ในประเทศไทย บัตรประชาชนแบบ Smartcard ใบเดียวสะดวกในการใช้ บริการด้านต่าง ๆ จะบันทึกข้อมูลของแต่ละคนไว้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
  • 18. นวัตกรรมมีความสาคัญต่อการพัฒนาองค์การ ท้องถิ่นและประเทศ คือ ความสาเร็จขององค์การ ท้องถิ่น และประเทศนั้นจะต้องเกิดขึ้นจาก นวัตกรรมไม่ทางใด ก็ทางหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมทางด้านสินค้า ด้านกระบวนการทางาน ด้านการ ให้บริการ ด้านการจัดการ หรือด้านการตลาด และการที่องค์การจะสามารถประสบ ความสาเร็จได้อย่างต่อเนื่องจะต้องเกิดขึ้นจากนวัตกรรม องค์การสามารถนานวัตกรรม ทางด้านการจัดการใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้ในองค์การได้ ย่อมทาให้องค์การมีความพร้อม และสามารถที่จะแข่งขันกับองค์การอื่น ๆ ได้ ได้แก่ การนาหลักการแนวคิดและวิธีการใหม่ ทางด้านการจัดการเข้ามาใช้ในการบริหารองค์การ ถ้าองค์การที่ไม่สามารถก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง และพัฒนาตัวเองจากสิ่งใหม่ ๆ ได้แล้วยากที่องค์การนั้น จะครองความเป็น หนึ่งได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
  • 19. "นวัตกรรม" มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อประเทศไทย ในการจะยืนอยู่บนเวทีโลก อย่างเข้มแข็ง ทั้งในมิติ ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน การปรับเทคโนโลยี ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมสู่การทา นวัตกรรม เป็นเรื่องที่จาเป็น โดยเมื่อ เปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือประเทศที่พัฒนาแล้วพบว่า ขณะนี้ การใช้ เทคโนโลยีที่คิดค้นเองในประเทศเพิ่งเริ่มต้น จึงต้องมีการเร่งกระบวนการถ่ายทอด เทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการจัดการ ทรัพย์สินทางปัญญา และการบริหารจัดการภายใต้แนวคิดและรูปแบบใหม่ ทั้งใน ภาคอุตสาหกรรมและระดับท้องถิ่น โดยสร้างให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่าง ประชาชนกับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดนวัตกรรมจานวนมากพอที่จะสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศได้อย่างรวดเร็ว ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 20. วงจรการปฏิบัติงาน (Operation) การปรับปรุงแก้ไขงาน (Improvement) และนวัตกรรม มีความเกี่ยวข้องกัน คือ นวัตกรรมเกิดจากการปฏิบัติงานที่มีการวาง แผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบรวมถึงการกาหนดสิ่งที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการ พัฒนาสิ่งใหม่ ๆ และนาสิ่งที่ดาเนินการมาวิเคราะห์ ทบทวนและปรับปรุงผลงานหรือ สิ่งประดิษฐ์จนกลายมาเป็นนวัตกรรมในที่สุด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
  • 21. สุมิตา บุญวาส (2546) ได้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างนวัตกรรมและ เทคโนโลยีไว้ดังนี้ นวัตกรรม เป็นการวิจัยหาวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการใหม่ๆหรือปรับปรุง ของเก่าให้ได้สิ่งที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม เทคโนโลยี เป็นการนาเอาวิทยาศาสตร์มาใช้ ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินงานต่าง ๆ อย่างมีระบบ อานวย เดชชัยศรี (2544) ได้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างนวัตกรรมและ เทคโนโลยีไว้ดังนี้ นวัตกรรม เกิดจากแนวคิดและความรู้ใหม่ๆที่เกิดจากการคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี เกิดจากการนานวัตกรรมมาพิสูจน์ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ ผลผลิตจาก การพิสูจน์ได้ถูกนามาใช้อย่างมีระบบเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
  • 22. นวัตกรรม เป็นการทาสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นมา โดยใช้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ รวมถึง ความคิดสร้างสรรค์มาใช้พัฒนา เริ่มจากการคิดค้น การพัฒนา การทดลองปฏิบัติ และการ นาไปปฏิบัติจริง โดยได้สิ่งที่มีคุณค่า ทันสมัย ช่วยให้การทางานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากกว่าเดิม เทคโนโลยี การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบ วิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางานให้ดียิ่ง ขึ้นและเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. นวัตกรรม สามารถแบ่งได้ 5 ยุค สรุปได้ คือ (Ferrman & Soete, 1997 อ้างถึง ใน กีรติ ยศยิ่งยง, 2552, หน้า 2-3) 1. ยุคเริ่มแรก (ระหว่างปี พ.ศ. 2313-2383) ประเทศอังกฤษเป็นประเทศแรกและเป็นผู้นาของโลกทางนวัตกรรม และเทคโนโลยี ในยุคนี้ เนื่องจากได้พัฒนาระบบกลไกทางกลศาสตร์ ในอุตสาหกรรมทอ ผ้า ทาให้ทุกงานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น ส่งผลให้ประเทศอังกฤษสามารถ สร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน 2. ยุคที่สอง (ระหว่างปี พ.ศ. 2383-2433) ประเทศอังกฤษยังคงครองความเป็นผู้นาทางด้านนวัตกรรมในการ คิดค้นเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เช่น พลังไอน้า ฯลฯ จนกระทั้งในปี พ.ศ. 2511 อังกฤษก็ได้ พัฒนารถจักรพลังไอนี้าขึ้น และ ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
  • 24. 3. ยุคที่สาม (ระหว่างปี พ.ศ. 2433-2473) สหรัฐอเมริกาและเยอรมัน ได้เร่งส่งเสริมมีการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ จนสามารถก้าวขึ้น เป็นผู้นาทางเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมไฟฟ้า เคมี การถลุงเหล็ก การต่อ เรือ และอุตสาหกรรมหนัก อื่น ๆ ได้ในระยะเวลาต่อมา 4. ยุคที่สี่ (ระหว่างปี พ.ศ. 2473-2513) ประเทศญี่ปุ่น เร่งส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรมกระบวนการผลิต ขนาดใหญ่ เช่น เทคโนโลยีการผลิตรถยนต์ ฯลฯ จนสามารถก้าวขึ้นมาเทียบเคียงอังกฤษ สหรัฐอเมริกาและเยอรมันได้ 5. ยุคที่ห้า (ระหว่างปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน) สหรัฐอเมริกา จัดให้มีการส่งเสริมสร้างนวัตกรรม รวมไปถึงการออก กฎหมาย เพื่อส่งเสริมให้เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางด้านการสื่อสาร คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีดิจิตอล จนสามารถกลับมาเป็นผู้นาทางด้านนวัตกรรมในสาขานี้ได้อีกครั้งหนึ่ง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
  • 25. ระยะที่ 1 เป็นช่วงที่มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่ง ของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย ระยะที่ 2 ช่วงแห่งการพัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลอง หรือห้องปฏิบัติการจัดทาให้อยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) ระยะที่ 3 การนาเอาไปทดสอบหรือปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็น นวัตกรรมขั้นสมบูรณ์ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
  • 26. 1. เป็นสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการใหม่  คิดหรือทาขึ้นใหม่  เก่าจากที่อื่นพึ่งนาเข้า  ดัดแปลงปรับปรุงของเดิม  เดิมไม่เหมาะสมแต่ปัจจุบันใช้ได้ดี  สถานการณ์เอื้ออานวยทาให้เกิดสิ่งใหม่ 2. เป็นสิ่งได้รับการตรวจสอบหรือทดลองและพัฒนา 3. นามาใช้หรือปฏิบัติได้ดี 4. มีการแพร่กระจายออกสู่ชุมชน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
  • 27. เกณฑ์การพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมมี 4 ประการ คือ 1. นวัตกรรมจะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมด หรือบางส่วนอาจเป็นของเก่าใช้ไม่ได้ผลใน อดีต แต่นามาปรับปรุงใหม่ หรือเป็นของปัจจุบันที่เรานามาปรับปรุงให้ดีขึ้น 2. มีการนาวิธีการจัดระบบมาใช้ โดยพิจารณาองค์ประกอบทั้งส่วนข้อมูลที่นาเข้า ไปในกระบวนการและผลลัพธ์ โดยกาหนดขั้นตอนการดาเนินการให้เหมาะสมก่อนที่จะทา การเปลี่ยนแปลง 3. มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยู่ระหว่างการวิจัยว่า “สิ่งใหม่” นั้น จะช่วย แก้ปัญหาและการดาเนินงานบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าเดิม 4. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบันหาก “สิ่งใหม่” นั้น ได้รับการ เผยแพร่และยอมรับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบงานที่ดาเนินอยู่ในขณะนั้น ไม่ถือว่าสิ่ง ใหม่นั้นเป็นนวัตกรรมแต่จะเปลี่ยนสภาพเป็นเทคโนโลยีอย่างเต็มที่ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
  • 28. 1. Product Innovation: การเปลี่ยนแปลงใน “ผลิตภัณฑ์หรือบริการ” ของ องค์การ เช่น การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่ดูทีวีได้ หรือ Chat กับเพื่อนได้ ตลอดเวลา 2. Process Innovation: การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต หรือกระบวนการ นาเสนอผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการนานวัตกรรมสู่ตลาด เช่น Nokia ย้ายฐานการผลิตไป ที่จีน หรือการเพิ่มนวัตกรรม PDAสามารถโทรศัพท์ได้ 3. Position Innovation: การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสินค้าหรือบริการ หรือ เปลี่ยนตาแหน่งนวัตกรรมสินค้าหรือบริการที่เคยออกสู่ตลาดมาแล้วให้รับรู้ใหม่ เช่น Orange เคยถูกมองในตาแหน่ง Global Brand เป็นPremium Service แต่ถูกเปลี่ยนมา เป็น ทรูมูฟ ซึ่งถูก Repositioning ให้ไปอยู่ตาแหน่ง Lifestyles ครองใจคนเมืองรุ่นใหม่ อย่างประสบความสาเร็จ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
  • 29. 4. Paradigm Innovation : การมุ่งให้เกิดนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงกรอบ ความคิด (Change in Mental Model) เช่น เดิมเชื่อว่าการผลิตรถยนต์ด้วยมือจะมีความ ประณีต ทั้งยังมีราคาแพง ผู้มีฐานะร่ารวยเท่านั้นที่สามารถมีไว้ครอบครองได้ แต่ต่อมาการ ผลิตจานวนมากแบบ mass production ที่มีราคาที่เหมาะสม สามารถควบคุมคุณภาพ รถยนต์ให้มีสมรรถนะคงที่เท่ากันได้ดีกว่า หรือแม้กระทั่งเราเชื่อว่าการเก็บเงินค่า AC กับ ประชาชนแบบกินเปล่า เป็นเรื่องที่ดีกับองค์การแต่เมื่อมีการให้เก็บแบบ IC ตามการใช้งาน จริง ทั้งยุติธรรมกับประชาชนแล้วยังทาให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้นด้วยอีก เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
  • 30. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมมีหลายระดับ แบ่งตามระดับความยาก- ง่ายในการคิดค้นนวัตกรรมนั้น ๆ โดยจะมีตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเรียกว่า Incremental innovation ที่มีการพัฒนาหรือปรับปรุงสินค้าหรือบริการที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น หรือการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรมอย่างสิ้นเชิงจะเรียกว่าเป็น Radical innovation Incremental Technology คือ นวัตกรรมส่วนเพิ่ม คือ ไม่ได้พัฒนาเทคโนโลยีนั้น ๆ มากมาย เช่นจาก วินโดว์ 98 ไปเป็น วินโดว์ 2000 หรือ เทคโนโลยี GPRS 144 kbps ไป เป็น EDGE 384 kbps เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
  • 31. คุณค่าทั้งหมดของนวัตกรรมถูกวัดโดยผลกระทบด้านบวก และด้านลบของสิ่งที่ ได้รับออกมาหรือผลลัพธ์ที่ให้เชิงพาณิชย์ และสังคมสาหรับผู้บริโภค ดังนั้น ผลกระทบที่ได้ ออกมามีช่วงตั้งแต่เชิงบวก ถึงเชิงลบซึ่งผลกระทบเชิงบวกจะช่วยประชาชนและปรับปรุง สังคม ในทางตรงกันข้างผลกระทบเชิงลบหรือนวัตกรรมที่ให้โทษจะสร้างปัญหาและค่าใช่ จ่ายต่อประชาชนและองค์การ การพิจารณาผลกระทบขึ้นอยู่กับสถานการณ์และผู้ซึ่งทา การพิจารณา โดยปกติแต่ละเฉพาะบุคคลในแต่ละพื้นที่จะทาการตัดสินใจบนคุณค่าของ พวกเขาเอง แต่คุณค่าโดยรวมคือผลรวมของคุณค่าสาหรับทุกคนที่กระถูกกระทบทุก ๆ สถานที่ ดังนั้นคุณค่านวัตกรรมสามารถวัดในด้านการเงิน (กาไร/ขาดทุน) จานวนเป้าหมาย (สร้าง/ทาลาย) ความสุขหรือความทุกข์ของบุคคลที่ได้รับผลกระทบ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
  • 32. นวัตกรรมทางธุรกิจคืออะไร“นวัตกรรมทางธุรกิจ” หมายถึง การทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีใหม่ ๆ การสร้างสรรค์ การพัฒนา ต่อยอด การเปลี่ยนแปลงทางความคิด การ จัดการ การผลิต กระบวนการ ระบบ โครงสร้างองค์การ รูปแบบธุรกิจ เพื่อที่จะสร้างมูลค่า ใหม่ ๆ สาหรับลูกค้า และผลตอบแทนทางการเงินให้กับธุรกิจ โดยเป็นที่ยอมรับต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ไม่ขัดต่อหลักศีลธรรม จรรยาบรรณ ขนบธรรมเนียม ประเพณีต่าง ๆ ทั้งนี้ มักมีการแยกแยะความแตกต่างอย่างชัดเจน ระหว่างการประดิษฐ์คิดค้น ความคิดริเริ่ม และนวัตกรรม อันหมายถึงความคิดริเริ่มที่นามาประยุกต์ใช้อย่างสัมฤทธิ์ผลและในหลาย สาขา ซึ่งการที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเป็นนวัตกรรมได้นั้นจะต้องมีความแปลกใหม่อย่างเห็นได้ ชัดและไม่เป็นแค่เพียงการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ เป็นต้นว่า ในด้านศิลปะเศรษฐศาสตร์ เศรษฐกิจ และนโยบายของรัฐในเชิงเศรษฐศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงนั้นจะต้องเพิ่มมูลค่า มูลค่าของลูกค้า หรือมูลค่าของผู้ผลิต ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
  • 33. 1. ศิลป์ (Artistic) เช่น การวาดภาพ การเต้นรา การแสดง 2. ธุรกิจ (Business) เช่น เงิน หุ้น สินค้า แลกเปลี่ยนสินค้า การเจรจา องค์การ 3. สังคม (Social) เช่น รัฐบาลแบบระบอบประชาธิปไตย ทรัพย์สินส่วนตัว ศาสนา การศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
  • 34. Joseph Schumpeter หรือชื่อเต็มว่า Joseph Alois Schumpeter นัก เศรษฐศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อนักเศรษฐศาสตร์และนักบริหารสมัยใหม่ มีบทความมากมายที่ โด่งดังในโลกวิชาการด้านบริหารธุรกิจนวัตกรรมเช่น The history of economic analysis, Schumpeter and Keynesianism, Schumpeter and capitalism's demise, Schumpeter and democratic theory, Schumpeter and entrepreneurship นอกจากนั้นยังเคยดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศ ออสเตรียและเป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองที่สาคัญของยุโรป ก่อนหนีภัยสงครามไปใช้ ชีวิตเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดสหรัฐอเมริกา ตลอดชีวิตมีทฤษฎีด้าน เศรษฐศาสตร์ คณิตศาสตร์ บริหารธุรกิจนวัตกรรมมากมายมหาศาลให้คนรุ่นหลังนามา พัฒนาต่อยอด การนาเทคโนโลยีมาดาเนินธุรกิจและนาความเจริญมาสู่มนุษยชาติมากมาย ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34 https://www.youtube.com/watch?v=UCpIWdarLwA
  • 35. การพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมทางธุรกิจ จะมุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบธุรกิจ การ สร้างภาพลักษณ์และตราสินค้า เป็นการสร้างสรรค์ธุรกิจนาพาชุมชนไทยสู่สากล โดยเริ่ม จากพัฒนาผู้ประกอบการให้มีความคิดสร้างสรรค์มีทักษะในการบริหารจัดการและดาเนิน กิจกรรมทางการตลาด การพัฒนารูปแบบธุรกิจ (Business Model) ด้านการบริหาร จัดการ และการตลาด รวมถึงสร้างโอกาสทางการตลาดสาหรับสินค้าของธุรกิจและการ บริหารจัดการภายในองค์การให้มีต้นทุนที่เหมาะสม ด้านการจัดวางระบบควบคุมคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ ด้านแนวคิดการสร้างตราสินค้า เครื่องหมายการค้า และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ มูลค่าสูง ด้านแนวทางการสร้างจุดเด่นผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากเดิม และการรวมกลุ่มธุรกิจ เพื่อเสริมศักยภาพในการแข่งขัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
  • 36. การคิดค้นนวัตกรรม/เทคโนโลยีใหม่ ๆ หากต้องการให้อุปทานเป็นตัวขับเคลื่อน อุปสงค์ จึงมีความจาเป็นที่จะต้องเน้นไปที่การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะปัจจุบันประเทศไทย มีความก้าวหน้าในการพัฒนาเทคโนโลยี ด้านนาโน เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย เทคโนโลยีดังกล่าวมีลักษณะหลอมรวม (Convergence) กันอยู่ในผลิตภัณฑ์ เพื่อสนอง ความต้องการของมนุษย์ให้มีความสะดวกสบาย ปลอดภัย สุขภาพดีมีอายุยืนยาว ผ่านการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อายตนะภายใน กับ อายตนะภายนอก ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
  • 37. ความคิด (Thinking) หมายถึง การใช้ความรู้สึกในใจถึงการรับรู้ในรูปแบบที่ถูกบันทึกใน สมองเพื่อการเรียกใช้ เช่น การยืนบนหน้าผาเป็นสิ่งอันตราย ขั้นตอนหรือกระบวนการ (Procedural) หมายถึง การติดตามกระบวนการหรือสูตร เช่น ถ้ายืนอยู่ที่หน้าผา เมื่อนั้นถอยหลังโดยอัตโนมัติ สร้างสรรค์(Creative) หมายถึง การสร้างสรรค์บางอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน การสืบค้น สารวจ (Discovery) หมายถึง การค้นพบแหล่งธรรมชาติ ปรากฏการณ์ ธรรมชาติ หรือนวัตกรรมอื่น ๆ ที่ค้นพบในครั้งแรก สิ่งเดียวกันอาจถูกค้นพบโดยหลายคนหรือ มากกว่าหนึ่งครั้ง เช่น ดาวเสาร์ทองคา กาแฟสตาร์บัค ฟันหลุด เป็นต้น สิ่งเกิดขึ้นใหม่ (Novelty) หมายถึง การสร้างสิ่งใหม่ ๆ หรือวิธีในการทาบางสิ่ง เช่น การ สร้างสรรค์เครื่องมือใหม่ การกระทา (Action) หมายถึง การกระทาที่นาให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ จากสิ่งที่มีอยู่เดิม เช่น การสร้างเสียงดนตรีโดยการขับร้องเพลง เมื่อนั้นคือกระบวนการกระทา ไม่ใช่การสร้างขึ้นมาใหม่ หรือการกระทาด้วยวิธีเดิมแล้วพบสิ่งใหม่ ๆ จากการกระทา ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 37
  • 38. ท่ามกลางสภาวะการแข่งขันที่รุนแรงและเข้มข้นของโลกไร้พรมแดนกดดันให้ องค์การต้องค้นคิดเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นั่นคือสรรหานวัตกรรมใหม่ ๆ ในทางธุรกิจเพื่อสร้างให้ลูกค้าเกิดพฤติกรรมหันมาใช้สินค้า/บริการ นวัตกรรมกลายเป็น เครื่องมือใหม่ทางยุทธศาสตร์ของการแข่งขันทางธุรกิจในยุคดิจิตัลหลังจากยุทธศาสตร์เดิม เริ่มเสื่อม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องหลักการตลาด การสร้างความแตกต่าง กฎระเบียบ ข้อกีดกัน ทางการค้า เช่น ISO นวัตกรรมได้เปลี่ยนแปลงมาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น องค์การแห่งการ เรียนรู้ การบริหารองค์ความรู้ การพัฒนาวิจัยทางเทคโนโลยี การออกแบบ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 38
  • 39. นวัตกรรมไม่ใช่ของใหม่เอี่ยมเสมอไป เช่น การนาเอาคุณสมบัติของหญ้าเจ้าชู้มา ทาเป็นที่เปิด-ปิดกระเป๋า (Velcro) นวัตกรรมแบ่งเป็น 2 ด้านใหญ่ ๆ คือ นวัตกรรมด้าน เทคโนโลยี เช่น ยาไวอะกร้าโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น กับนวัตกรรมทางธุรกิจ เช่น hotmail amazon dell เป็นต้น ทุกคนมีศักยภาพในการทานวัตกรรมทางธุรกิจ และนวัตกรรมทางธุรกิจสร้าง ผลตอบแทนเร็วกว่า จึงแบ่งหัวข้อออกได้ดังนี้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 39
  • 40. กลยุทธ์โลกอนาคต ซึ่งกล่าวสรุปวิวัฒนาการอันนามาสู่การแข่งขันทางธุรกิจ 5 ยุค คือ ยุคที่ 1 ยุคของการทางานหนัก ยุคที่ 2 การใช้ความได้เปรียบด้วยทุนที่มากกว่า ยุคที่ 3 การได้มาซึ่งสัมปทานทาให้ได้เปรียบกว่าคนอื่น ยุคที่ 4 การใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจที่เหนือกว่า ยุคที่ 5 ยุคปัจจุบันเป็นการรวมมิตรทั้งหมด ทั้งการทางานหนัก ทุน สัมปทาน กล ยุทธ์ทางธุรกิจ แต่ด้วยส่วนผสมที่แตกต่างกันตามแต่ละชนิดของธุรกิจ และการสร้างสรรค์ นวัตกรรมทางธุรกิจ แถมท้ายด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางธุรกิจ การสร้างองค์การ แบบที่เรียกว่า self inc. และสุดท้ายคือ การสร้างธุรกิจที่เรียกว่า Creative Industry ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 40
  • 41. นวัตกรรมเป็นเรื่องของการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมาย นวัตกรรมที่สัมฤทธิ์ผลจึงเป็นเรื่อง ของกระบวนการสื่อสารกับตลาด เป้าหมาย และหากกลุ่มเป้าหมายมีขนาดใหญ่พอที่จะเป็นตลาด ทางธุรกิจ ค้นพบโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ นอกจากนี้นวัตกรรมเป็นการหาวิธีใหม่ ๆ ในการตีความ แก้ปัญหาเดิม แล้วสื่อสารกับลุ่มเป้าหมาย นวัตกรรมเป็นคนละเรื่องกับการค้นพบเพราะการ ค้นพบอะไรใหม่ ๆ เป็นการค้นพบความจริงที่มีอยู่แล้ว แต่นวัตกรรมคือการตอบสนองความ ต้องการของตลาดที่เปลี่ยนไป หรือนวัตกรรมเป็นกระบวนการปรับปรุงปรับแต่งสิ่งที่มีอยู่ให้ เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในขณะนั้น ทาให้เข้าใจได้มากขึ้นว่าทาไมญี่ปุ่นจึงเป็น มหาอานาจทางเศรษฐกิจ ทั้งที่มีการค้นพบทางวิทยาศาสตร์น้อยกว่าประเทศอื่น ในขณะที่จีนเป็น ต้นคิดของสิ่งประดิษฐ์หลายอย่าง เช่น เข็มทิศ ดินระเบิด การพิมพ์ธนบัตร แต่กลับขาดการสาน ต่อให้กลายเป็นนวัตกรรม ปล่อยให้ประเทศทางตะวันตกนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมจน สร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 41
  • 42. บริษัทที่มีนวัตกรรมทางธุรกิจ ซึ่งถูกขนานนามว่า Company Factor เช่น MTV Factor ซึ่งประยุกต์ให้สินค้า/บริการตอบสนองต่อวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มเฉพาะบุคคลอย่างวัยรุ่นที่ ชอบทาอะไรเซอร์ ๆ ดูไม่ค่อยรู้เรื่อง Wall Mart Factor นวัตกรรมค้าปลีก : การเพิ่ม ประสิทธิภาพอย่างไม่หยุดยั้งอันนาไปสู่ราคาที่ต่ากว่า Walt Disney นวัตกรรมบันเทิง : การทาให้ ของเล่นและความบันเทิงกลายเป็นการให้รางวัลกับชีวิตไม่จากัดเฉพาะกับเด็ก ๆ Dell นวัตกรรม แห่งช่องทางจาหน่ายสินค้า ที่ทาให้คนเชื่อว่าไม่มีสินค้าอะไรที่จะซื้อขายทางอินเตอร์เน็ตไม่ได้ และเป็นต้นแบบของการทาธุรกิจที่ไม่ต้องมีสินค้าหมุนเวียน Microsoft นวัตกรรมแห่งการเพิ่ม ประสิทธิภาพให้ลูกค้าและการตลาดระดับโลก Starbucks นวัตกรรมแห่งช่องทางนัดพบของคน เดินถนน-ร้านกาแฟ Hotmail นวัตกรรมการสื่อสารเสรี McDonald นวัตกรรมเอกลักษณ์และ การสร้างตราสินค้าMP3/Napster นวัตกรรมช่องทางการกระจายสินค้าเสียงดนตรี Air Asia นวัตกรรมการเดินทางยุคใหม่ (สายการบินต้นทุนต่า) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 42
  • 43. นวัตกรรมในแง่ของธุรกิจ คือสินค้าตัวใหม่ที่ทุกองค์การแสวงหา เพราะเป็น หลักประกันความอยู่รอดในโลกธุรกิจที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรงไม่เรื่องใดเรื่องหนึ่งใน สามอย่างคือ ต้นทุนการผลิต ความเหนือกว่าทางเทคโนโลยี และกลยุทธ์ทางการตลาดที่ ผ่านทั้งกระบวนการสร้างและความภักดีต่อตราสินค้า แต่เมื่อผู้ซื้อฉลาดขึ้นจะเป็นเหยื่อของ การสร้างภาพน้อยลง (ประเทศที่มีการพัฒนาจะยึดติดกับตราสินค้าน้อยกว่า) นวัตกรรมมีอยู่สองชนิดหลัก ๆ คือ นวัตกรรมด้านเทคนิค (สินค้าที่มีความแปลก ใหม่) ซึ่งต้องใช้ทั้งทุนและเวลาในการยอมรับของตลาด และนวัตกรรมในการทาธุรกิจ ซึ่ง มักทาเงินได้มากกว่าในระยะเวลาที่สั้นกว่า ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 43
  • 44. สัจธรรมของมนุษย์คือ ต้องการมีอานาจเพราะเอื้อให้ได้มาในสิ่งที่ต้องการ นวัตกรรมจึงเป็นเรื่องของการให้ผลประโยชน์แก่ผู้รับ ให้เขาได้มากกว่าประโยชน์ใน ปัจจุบัน ดังนั้นคนชอบไปเทสโก้เพราะได้ของถูก ที่จอดรถและแอร์เย็น หรือไปโออิชิเพราะ ตักไม่อั้น (ซึ่งในความเป็นจริงเราไม่ได้กินมากกว่าเมื่อก่อน) สตาร์บัคส์เพราะแต่งร้านสวย มีรสนิยม เดลล์คอมพิวเตอร์เพราะเลือกสเป็คได้เอง โลกของนวัตกรรมเป็นเรื่องของการ ขายความเชื่อถือ การสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งคุณค่านี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะคงอยู่ได้นานเพราะเกิด จากความสามารถภายในของเราเอง และด้วยเหตุนี้สินค้าอย่างหลุยส์วิตองจึงแพงกว่า กระเป๋าธรรมดาทั้ง ๆ ที่บรรจุได้น้อยกว่าและไม่ได้ทนทานกว่า ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 44
  • 45. นวัตกรรมต้องอาศัยความหลากหลายและแตกต่างของแนวคิดหรือสหศาสตร์ แหล่งของนวัตกรรมคือการมองหาความแตกต่าง ซึ่งสามารถสร้างความมั่งคั่งได้จากความ ไม่สมดุลที่เกิดขึ้นจาก 3 แหล่ง คือ ความไม่สมดุลทางสังคม เช่น คนยอมจ่ายเงินแพงเพื่อ แลกเข้าไปศึกษาสถาบันดัง ๆ เพราะเป็นช่องทางหนึ่งในการแสวงหาสถานะทางสังคม ความไม่สมดุลทางเทคโนโลยี เช่น เพื่อแสดงให้เห็นว่าไม่ได้ด้อยกว่าคู่แข่งจึงบีบบังคับให้ ธุรกิจต้องแสวงหาเทคโนโลยีระดับเดียวกันมาประดับ ตัวอย่าง ร้านโชว์ห่วย ต้องซื้อเครื่อง คิดเงินมาตั้งไว้เหมือนร้านสะดวกซื้อถึงแม้จะใช้เครื่องคิดเลขก็พอแล้ว ความไม่สมดุลใน ด้านการพัฒนา ซึ่งทาให้บริษัทที่ปรึกษาทาเงินได้มากมายจาก ISO KPI นวัตกรรมต้องมี คุณลักษณะอย่างน้อย คือ ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ(Efficiency) เพิ่มพูนประสิทธิผล (Effectiveness) และต้องถูกตาต้องใจตลาด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 45
  • 46. เราสามารถแสวงหานวัตกรรมในการดาเนินธุรกิจได้หลากหลาย ได้แก่ นวัตกรรมโครงสร้างทางธุรกิจ ได้แก่การหาพันธมิตร (ด้านที่เราไม่ชานาญ) รูปแบบการระดมทุนนวัตกรรมการจัดการ:ระบบการลื่นไหลของข้อมูล (เพื่อช่วยในการ คาดการณ์และการวางแผนการผลิต) การติดตั้งระบบอัตโนมัติ (เช่น ตู้เอทีเอ็ม บาร์โคดส์ ที่ ช่วยลดต้นทุนด้านคนและเพิ่มประสิทธิภาพ) การตัดสินใจกระบวนการไหนควรเป็น Outsource / In source (เพื่อจะได้ทุ่มเททรัพยากรในกิจกรรมหลัก มุ่งเน้นด้านการ พัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาด) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 46
  • 47. นวัตกรรมการจัดการองค์การ: ลักษณะการจัดการองค์การ (ใช้เทคโนโลยี เชื่อมโยงให้มีกิจกรรมร่วมกัน:Tele Worker Virtual Office) การจัดการอุปกรณ์สานักงาน การจัดการด้านไอที (ให้ระบบไอทีทางานด้านธุรกรรมแทนพนักงานเพื่อให้พนักงานทางาน ด้านการสร้างสัมพันธภาพกับลูกค้ามากขึ้น) การจัดการเกี่ยวกับประสบการณ์ของลูกจ้าง การจัดการส่วนผสมระหว่างลูกจ้างและผู้รับงานภายนอก ขั้นตอนการตัดสินใจ การเพิ่ม ประสิทธิภาพของกระบวนการ ประสิทธิภาพการใช้อุปกรณ์สานักงาน นวัตกรรมด้านประสบการณ์ลูกค้า:ขั้นตอนการสื่อสารกับลูกค้า ลูกค้าสัมพันธ์ ตราสินค้า/ภาพพจน์องค์การ การโฆษณา การวัดผลตอบกลับ นวัตกรรมการให้บริการแก่ลูกค้า: กระบวนการให้บริการ การสื่อสารนวัตกรรมที่ เกี่ยวกับสินค้า : การนาเสนอสินค้า ความหลากหลายของสินค้า เทคโนโลยีแฝงในสินค้า เทคโนโลยีเปิดเผยในสินค้า การผลิต การวิจัยพัฒนา การหีบห่อ ส่วนเชื่อมโยงกับผู้ใช้ คุณประโยชน์หลักของสินค้า โมเดลในการขาย ความต่อเนื่องธุรกิจ การบริการหลังการ ขาย การกระจายสินค้า ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 47
  • 48. นวัตกรรมด้านตลาด/ช่องทางการจัดจาหน่าย: เข้าตลาดใหม่ ช่องทางใหม่ รูปแบบธุรกิจแบบใหม่ นวัตกรรมด้านการเรียนรู้: การสร้างกับดักประสบการณ์ การสร้างมูลค่าเพิ่ม ประสบการณ์จะเห็นว่าการพัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ จะอยู่ในด้านของการตอบสนองต่อ ตลาดเป็นหลัก (Demand Chain Management) นอกจากนี้ ยังมีหัวข้ออื่น ๆ อีก ได้แก่ โครงสร้างธุรกิจรูปแบบใหม่ เคล็ดลับ จัดการข้อมูลเพื่อตัดสินใจ โครงสร้างยุคใหม่ ความท้าทายขององค์การ กลยุทธ์เข้าถึงลูกค้า ชิงความเหนือชั้น นวัตกรรมการบริการ ความเป็นเลิศเหนือคู่แข่ง ห่วงโซ่การจัดการ หัวใจ ของความสาเร็จ กลเม็ดครองใจลูกค้า นวัตกรรมสินค้าสร้างสรรค์ ยุทธวิธีการรุกตลาด ขยายธุรกิจแนวใหม่ นวัตกรรมองค์ความรู้ ขุมทรัพย์ทรงคุณค่า ไอทีประยุกต์ เทคนิคสร้าง เสริมศักยภาพ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 48
  • 49. 1. จงอธิบายความสาคัญของนวัตกรรม พร้อมยกตัวอย่าง 2. จงอธิบายกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้นวัตกรรม 3. จงยกตัวอย่างการนานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในองค์การ 4. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างนวัตกรรมและเทคโนโลยี 5. นวัตกรรม แบ่งได้กี่ระยะ 6. จงอธิบายเกณฑ์การพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรม 7. ประเภทของนวัตกรรม แบ่งออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง 8. จงอธิบายการเปลี่ยนแปลงจาก Incremental innovation สู่ Radical innovation 9. คุณค่าของนวัตกรรมคืออะไร 10. จงอธิบายนวัตกรรมทางธุรกิจ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 49